อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
Advertisements

โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย นาย ปรัชญา สิทธิชัยวงค์ ชั้น 4/6 เลขที่ 23 น. ส. สัตตบงกช ศรีวิชัย ชั้น 4/6 เลขที่ 22 จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
จัดทำโดย ด. ญ. ศศิปภา มณีขัติย์ ชั้น 2/6 เลขที่ 4.
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ด. ญ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายแลน จัดทำโดย ด. ช. สิทธิชัย นินประพันธ์ เลขที่ 17 ชันมัธยมศึกษาปีที่ 2/6 ครูผู้สอน อ. สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทรจังหวัด ลำพูน.
การสื่อสารข้อมูล.
ครูสุนทร ยี่สุ้น จบการศึกษา : วิศวคอมพิวเตอร์ Website : 1.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part3) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 3 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
IP-Addressing and Subneting
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
IP-Addressing and Subneting
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LANs) Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
ประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part2.
เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารข้อมูล I
1.เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater)
ความหมายสัญลักษณ์ของ BPMN 2.0
ความหมายสัญลักษณ์ของ BPMN 2.0
ระบบโครงข่ายโทรศัพท์
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 10 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 11 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
.:ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
การใช้สื่อ ICT เพื่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ สำหรับครูผู้สอนภาษาอังกฤษ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part2.
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
SMS News Distribute Service
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ ปฏิบัติการที่ 1 : การสร้างการเชื่อมต่อบนอุปกรณ์แอคเซสพอยต์ไร้สาย สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ ปฏิบัติการที่ 3 : การตั้งค่าอุปกรณ์แอคเซสพอยต์ไร้สาย วค101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร Part2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com

อุปกรณ์สำหรับเชื่อมต่อเครือข่าย (Connecting Devices) Repeater/Hub Bridge Router Switch Gateway

อุปกรณ์สำหรับเชื่อมต่อเครือข่าย (Connecting Devices) Networking Devices Repeater/Hub Bridge/Switching Internetworking Devices Router Gateway

อุปกรณ์สำหรับเชื่อมต่อเครือข่าย (Connecting Devices)

อุปกรณ์สำหรับเชื่อมต่อเครือข่าย : Repeater/Hub เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่บนชั้นสื่อสารฟิสิคัล รีพีตเตอร์มักจะมีพอร์ตมาให้เพียง 2 พอร์ตเท่านั้น เพื่อนำมาใช้เชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายท้องถิ่นเข้า ด้วยกัน โดยอาจเชื่อมต่อด้วยสายชนิดเดียวกันหรือ ต่างชนิดก็ได้ ทำหน้าที่ทวนสัญญาณ ฮับ ก็คือรีพีตเตอร์ที่มีหลายพอร์ตนั่นเอง ทำ หน้าที่เป็นศูนย์กลางรับส่งข้อมูลและทวนสัญญาณ

อุปกรณ์สำหรับเชื่อมต่อเครือข่าย : Repeater/Hub [2] A repeater connects segments of a LAN.

อุปกรณ์สำหรับเชื่อมต่อเครือข่าย : Repeater/Hub [3]

อุปกรณ์สำหรับเชื่อมต่อเครือข่าย : Repeater/Hub [4] Active Hubs มีการทวนสัญญาณด้วยการ Regenerate จากสัญญาณที่เข้ามา ให้เหมือนกับ สัญญาณต้นฉบับ แล้วส่งสัญญาณกระจายออกไป ยังพอร์ตทุกพอร์ตที่เชื่อมต่อ เป็นฮับที่ใช้กันอย่าง แพร่หลาย Passive Hubs จะไม่มีการปรับแต่งสัญญาณใดๆ ทั้งสิ้น การใช้งานไม่จำเป็นต้องใช้กำลังไฟฟ้า ถูกใช้งานเป็นเพียงจุดเชื่อมต่อเท่านั้น Active Hub Passive Hub

อุปกรณ์สำหรับเชื่อมต่อเครือข่าย : Repeater/Hub [5] A repeater is a regenerator, not an amplifier.

อุปกรณ์สำหรับเชื่อมต่อเครือข่าย : Repeater/Hub [6] ควรใช้ฮับเป็นรีพีตเตอร์เมื่อ ไม่ควรใช้ฮับเป็นรีพีตเตอร์เมื่อ เพื่อเชื่อมต่อระหว่างเซกเมนต์ การจราจรบนเครือข่ายมีความคับคั่งมาก เพื่อส่งข้อมูลในระยะทางที่ไกลขึ้น เครือข่ายแต่ละเซกเมนต์มีวิธีการเข้าถึงที่แตกต่างกัน ต้องยอมรับการใช้จราจรบนเครือข่ายร่วมกันทั้งหมด (Collision Domain) ต้องการกลั่นกรอง (Filter) ข้อมูลบนเครือข่าย ต้องการเชื่อมต่อระหว่างเซกเมนต์ด้วยต้นทุนต่ำ หรือมีงบประมาณจำกัด A repeater forwards every frame; it has no filtering capability.

อุปกรณ์สำหรับเชื่อมต่อเครือข่าย : Bridge เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานบนชั้นสื่อสารฟิสิคัลและดาต้า ลิงก์ หากมีหลายพอร์ต จะเรียกว่า สวิตช์เลเยอร์ 2 ทำหน้าที่เหมือนสะพานเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย ท้องถิ่นอย่างน้อย 2 เครือข่ายเข้าด้วยกัน โดยมี ความสามารถมากกว่ารีพีตเตอร์/ฮับ ตรงที่บริดจ์ สามารถแบ่งเครือข่ายขนาดใหญ่ออกเป็นเซกเมนต์ ย่อยๆได้ บริดจ์จะมีการตรวจสอบแอดเดรสปลายทาง บริดจ์ จึงสามารถลดความคับคั่งของข้อมูลลงได้ ต่างจาก ฮับที่ส่งข้อมูลออกไปทุกๆพอร์ตที่เชื่อมต่อ

การใช้บริดจ์เชื่อมต่อวงแลน 2 วง A bridge has a table used in filtering decisions.

กระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างตารางของบริดจ์

อุปกรณ์สำหรับเชื่อมต่อเครือข่าย : Router เป็นอุปกรณ์ที่นำมาใช้สำหรับการเชื่อมโยงเครือข่าย หลายๆกลุ่มเข้าด้วยกัน (LAN, MAN, WAN) โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทำงานอยู่ใน 3 ชั้นสื่อสารแรกบนแบบจำลอง OSI ที่ประกอบไปด้วยชั้นสื่อสาร ฟิสิคัล, ดาต้า ลิงก์ และเน็ตเวิร์ก ฟังก์ชันการทำงานที่สำคัญคือการเลือกเส้นทางเพื่อ ส่งแพ็คเก็ตไปยังปลายทางได้อย่างถูกต้องและ เหมาะสม และความสามารถในการปรับเปลี่ยน เส้นทางในกรณีที่เส้นทางเดิมขัดข้อง

การทำงานของเราเตอร์บนแบบจำลอง OSI

การเชื่อมต่อกลุ่มเครือข่ายต่างๆด้วยเราเตอร์

อุปกรณ์สำหรับเชื่อมต่อเครือข่าย : Switch เป็นอุปกรณ์ที่มีหลักการทำงานเช่นเดียวกับบริดจ์ แต่ต่างกันตรงที่สวิตช์มีหลายพอร์ต สวิตช์ที่ทำงานเช่นเดียวกับบริดจ์จะเรียกว่า สวิตช์เลเยอร์ 2 สวิตช์ที่ทำงานเทียบชั้นเราเตอร์จะเรียกว่า สวิตช์เล เยอร์ 3

สวิตช์เลเยอร์ 2

สวิตช์เลเยอร์ 3

อุปกรณ์สำหรับเชื่อมต่อเครือข่าย : Gateway เป็นอุปกรณ์ที่สามารถปฏิบัติงานได้ทุกชั้นสื่อสารบน แบบจำลอง OSI เกตเวย์จะอนุญาตให้คอมพิวเตอร์บนเครือข่ายต่าง แพล็ตฟอร์มที่เชื่อมต่อกัน ที่ใช้ โปรโตคอลต่างกัน สถาปัตยกรรมต่างกัน ให้ สามารถสื่อสารกันได้

ตัวอย่างการเชื่อมต่อเกตเวย์