สถานการณ์ของโรคไข้หวัดใหญ่ในปี ๒๕๕๘

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Influenza A (H1N1) 2009 in Thailand
Advertisements

Measles Elimination, Thailand
ซักซ้อม SRRT แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนเตรียมพร้อมรับมือการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ สำนักระบาดวิทยา.
โครงการกำจัด โรคหัด Started. DMSc: เริ่มศึกษาปี 2536 สายพันธุ์ไวรัสหัดที่พบแพร่กระจายใน ประเทศไทย ( พ. ศ *) D5 G2.
Jinnpipat Choopanya, M.D.,M.P.H.M. Mukdahan Provincial Chief Medical Officer.
Cholera Situation Thailand, 2007 Bureau of Epidemiology Department of Disease Control Ministry of Public Health.
Pandemic vaccine AEFI in Thailand
การศึกษาทางระบาดวิทยา ของโรคติดเชื้อไวรัสเดงกีในเด็ก ในจังหวัดราชบุรี
Cardiac Center Maharatnakhonratchasima Hospital service plan 2016
แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
 รอบ 3 เดือน,พัฒนาบุคลากร เครือข่ายคณะกรรมการในระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล วางแนวทางการ ดำเนินงาน  รอบ 6 เดือน ดำเนินงานตามมาตรฐาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้หวัด.
สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.
งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ
สรุปจำนวน APN และแผนการส่งศึกษาต่อ APN
โรคเลปโตสไปโรซีส(ไข้ฉี่หนู) Leptospirosis
การจัดบริการตั้งครรภ์ไม่พร้อม
สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
Flow chart การบริการคลินิกสุขภาพเด็กดี รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Seasonal Flu Vaccine.
มาตรฐานที่ ๒ การให้บริการวัคซีน
กับการรับมือ นายแพทย์สมศักดิ์ วัฒนศรี
How to Analyse Difficult Chest CT
สถิติและการวัดทางระบาดวิทยาที่ควรรู้
Burden of disease measurement
4 เมษายน 2561 โดย นพ.ธานินทร์ โตจีน ประธาน MCH Board เขตสุขภาพที่ 4
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
AFP surveillance การเฝ้าระวังผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉียบพลัน
คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ
การดำเนินงาน ด้านเอดส์ในแม่และเด็ก
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
ขั้นตอนการร้องเรียน.
วิชา วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต
การวัดทางระบาดและดัชนีอนามัย
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
โรคไข้เลือดออก เห็ดพิษ รณรงค์วัคซีนไข้หวัดใหญ่ คลีนิกวัคซีนผู้ใหญ่
คณะที่ 2 พัฒนาระบบบริการ (Service plan)
สรุปตรวจราชการรอบ 2 วันที่ 3 ส.ค.2561 ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น
การคัดกรองพัฒนาการเด็ก เครือข่ายอำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง
สหกรณ์ออมทรัพย์ข้าราชการกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ จำกัด
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
เป้าหมาย มาตรการ และชุดกิจกรรม แผนงานควบคุมวัณโรค สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค 4/4/2019
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
Case influenza.
การเฝ้าระวังอาการภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
การจัดระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา
แนวทางการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพ
บริการจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ
สถานการณ์วัณโรค นางสาวภัทรา ทองสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
บทที่ 9 การอธิบายกระบวนการแบบต้นไม้.
การจัดการเชิงรุกรายบุคคล
อัตราความสำเร็จการรักษา ผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอแม่ทา
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
สร้างเครือข่ายในชุมชน
พีสสลัลฌ์ ธำรงศ์วรกุล Ph.D. สุภาภรณ์ ตันตินันทตระกูล Ph.D.
โครงการพัฒนารูปแบบการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ (Adult Vaccination Clinic)
สรุปผลการดำเนินงานประจำปี 2558 กองทุนหลักประกันสุขภาพ
การประชุมสรุปงานสภาอาจารย์ วิทยาเขตปัตตานี ประจำปีงบประมาณ 2561
คลินิกอาชีวเวชศาสตร์
Measles Situation, Thailand 2011 – May 2012
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2562 ตุลาคม 2561 – มิถุนายน 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์ของโรคไข้หวัดใหญ่ในปี ๒๕๕๘ สถานการณ์การระบาดของไข้หวัดใหญ่ และสายพันธุ์วัคซีนที่ใช้ในประเทศไทยปี ๒๕๕๘ สถานการณ์ของโรคไข้หวัดใหญ่ในปี ๒๕๕๘ กรมควบคุมโรค

Reported influenza cases by month, Thailand

Number of cases and death, Morbidity and case fatality rate (CFR) Influenza, Thailand, 2009 -2015 2010 2011 2012 2013 2014 2015 (as wk11) Dominant subtype H1N1 H3N2 H1N1 2009, B 2009, H3 Number of cases 120,400 115,183 62,112 62,100 43,791 32,805 16,890 Number of death 231 126 7 4 86 15 Morbidity rate (/100,000 pop) 189.7 180.4 96.8 96.3 67.9 112.67 26.20 % case fatality rate (CFR)  0.19 0.11 0.01 0.16 0.10 by R506 + Notified events

Influenza deaths analysis, Thailand, Jan – Mar 2015 Contributing factor Case 1 Case 2 Case 3 Case 4 Case 5 Case 6 Case 7 Case 8 Province Nakhon Ratchasima Lamphon Gender M F Elderly (>65) / Infant ( 6mo – 5yr) (Yes 40%) Yes (86) No (52) No (61) Yes (2) Yes (78) No (35) No (60) Underlying (Heart disease, lungs disease, immune defect) (Yes 47%) DM HT CHF Alcoholism Asthma - Immune defect, lung disease DM HT CRF Rhumatiod HT Influenza vaccination (13%) Yes No Unknown Rapid progress within 2 days (Yes 67%) Influenza subtype Flu A not H1N1 H1N1 2009 Flu B Flu A Late Tamiflu > 2 days after onset (day) (Yes 73%) No (2) Yes (4) Yes (not receive) No (1)

สายพันธุ์ที่ระบาดและสายพันธุ์วัคซีนที่ใช้ในประเทศไทย - รายงานการการเฝ้าระวังการกลายพันธุ์และการดื้อยาของเชื้อไข้หวัดใหญ่/ไข้หวัดนกและเชื้อไวรัสทางเดินหายใจที่เป็นปัญหาสาธารณสุข สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ - สายพันธุ์ของเชื้อไข้หวัดใหญ่แต่ละชนิดที่แยกได้จากตัวอย่างผู้ป่วย ระหว่างเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ๒๕๕๗ และมกราคม ๒๕๕๘ พบผู้ติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ชนิด A/ H3N2 ร้อยละ ๘๓.๗ ชนิด B ประมาณร้อยละ ๑๔ ชนิด A/ H1N1 2009 ร้อยละ ๒.๓

ไข้หวัดใหญ่ชนิด A/ H1N1 2009 ร้อยละ ๑๐๐ คล้ายคลึงกับสายพันธุ์ A/California/7/2009 (H1N1) ร้อยละ ๙๐ คล้ายคลึงกับ A/Switzerland/9715293/2013 (H3N2) ร้อยละ ๑๐ เป็นสายพันธุ์ A/Texas/50/2012(H3N2) ไข้หวัดใหญ่ชนิด B ร้อยละ ๔๐ เป็นสายพันธุ์ที่คล้ายคลึงกับ B/Phuket/3073/2013 ร้อยละ ๕๐ เป็นสายพันธุ์ B/Massachusetts/2/2012 (Yamagata lineage) ร้อยละ ๑๐ เป็นสายพันธุ์ B/Brisbane/60/2008 (Victoria lineage)

สายพันธุ์วัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลปี 2558 สถานการณ์การระบาดของ ไข้หวัดใหญ่* Northern strain Southern strain A(H1N1) A/California/7/2009 (H1N1)pdm09-like virus (100%) A/California/7/2009 (H1N1)pdm09-like virus A(H3N2) A/Switzerland/9715293/2013 (H3N2)-like virus (90%) A/Texas/50/2012(H3N2) (10%) A/Switzerland/9715293/2013 (H3N2)-like virus B B/Phuket/3073/2013-like virus (40%) B/Phuket/3073/2013(Yamagata Lineage) (50%) B/Brisbane/60/2008 (Victoria Lineage) (10%) B/Phuket/3073/2013-like virus * ข้อมูล ณ วันที่ 5 กพ. 2558จากการเฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลงสายพันธุ์ในประเทศไทย โดยศูนย์ไข้หวัดใหญ่แห่งชาติ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข

2.2 รายงานผลการดำเนินงานโครงการให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล พ.ศ. 2557

สรุปผลการดำเนินงานให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ปี 2551-2557 สรุปผลการดำเนินงานให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ปี 2551-2557 ปี ปริมาณวัคซีนที่จัดหา ร้อยละการฉีดวัคซีนแต่ละกลุ่ม บุคลากร ประชาชน รวม 2551 400,000 120,000 520,000 76.01 53.46 84.37 2552 1,800,000 2,200,000 93.68 75.88 85.55 2553 1,977,000 2,377,000 129.17 85.85 93.94 2554 2,100,000 2,500,000 122.4 90.6 95.3 2555 450,000 2,544,000 2,994,000 113.67 87.52 91.1 2556 3,000,000 3,400,000 113.86 83.42 86.23 2557 110.38 77.01 80.93 ปี 2557 ให้บริการวัคซีน 1 พ.ค. – 31 ก.ค. 2557 จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ทั้งหมด 3,400,000 โด๊ส วัคซีนประชาชน : จัดหาโดย สปสช วัคซีนบุคลากร : จัดหาโดย กรมควบคุมโรค

2.3 ภาพรวมโครงการให้วัคซีน ไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ปี 2558

วัตถุประสงค์ ป้องกันโรคแก่บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขด่านหน้าเพื่อลดการแพร่กระจายโรคและป้องกันการระบาดของโรคในบุคลากรเพื่อธำรงระบบสุขภาพให้ดำเนินต่อไปได้ ลดอัตราป่วยและตายในบุคลากรกลุ่มเสี่ยง เพื่อเพิ่มความต้องการใช้วัคซีนสำหรับรองรับการผลิตวัคซีนไข้หวัดใหญ่ของประเทศในอนาคต

การให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ปี 2547-2550 บุคลากรกลุ่มเสี่ยง: แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ และเจ้าหน้าที่ทำลายสัดว์ปีก ปี 2551-52 Pop. > 65 ปี และทุกอายุที่เป็นโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค + ปี 2553 + หญิงตั้งครรภ์ ผู้พิการทางสมอง - โรคอ้วน Thalassemia HIV Pop. 6ด – 2 ปี, Pop. > 65 ปี + ปี 2554 - 2558

กลุ่มเป้าหมายการให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ กลุ่มบุคลากรที่มีความเสี่ยงต่อการสัมผัสโรคไข้หวัดใหญ่และไข้หวัดนก แพทย์ พยาบาล และบุคลากรอื่นๆ ใน รพ. ทั้งที่ทำงานใน OPD และ IPD เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ทำหน้าที่ในการสอบสวนโรค @ เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครทำลายซากสัตว์ปีกและสัตว์อื่นที่สงสัยติดเชื้อไข้หวัดนก (H5N1) @ เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการตรวจวินิจฉัยเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่

กลุ่มเป้าหมายการให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ กลุ่มประชาชนเสี่ยง หญิงมีครรภ์อายุครรภ์ 4 เดือนขึ้นไป บุคคลอายุ 65 ปีขึ้นไปทุกคน บุคคลอายุ 6 เดือน ถึง 2 ปี ทุกคน บุคคลอายุ 2 ปีขึ้นไป – 65 ปี ที่มีโรคเรื้อรัง : COPD หอบหืด หัวใจ CVA ไตวาย มะเร็งที่อยู่ระหว่างได้รับเคมีบำบัด DM บุคคลโรคอ้วน (น้ำหนัก >100 กก หรือ BMI > 35 ต่อตารางเมตร) ผู้พิการทางสมองที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ธาลัสซีเมียและผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง (รวมผู้ติดเชื้อ HIVมีอาการ)

การบริหารจัดการวัคซีน - กรมควบคุมโรคสนับสนุนวัคซีนในกลุ่มบุคลากรจำนวน ๔๐๐,๐๐๐ โด๊ส - ขนาดบรรจุ 1 โด๊ส/ขวด - ได้รับวัคซีนภายในเดือนเมษายน ๒๕๕๘ - แบ่งการจัดส่งให้หน่วยบริการ ๒ รอบ คือ - รอบที่ ๑ ระหว่างวันที่ ๒๒-๒๘ เมษายน ๒๕๕๘ - รอบที่ ๒ ระหว่างวันที่ ๒๑-๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๘ สปสช. สนับสนุนวัคซีนในประชาชนกลุ่มเสี่ยงจำนวน ๓,๐๐๐,๐๐๐ โด๊ส ขนาดบรรจุ ๔ โด๊ส/ขวด และ ๑ โด๊ส/ขวด จัดส่งวัคซีนขนาดบรรจุ ๑ โด๊ส/ขวด ระหว่างวันที่ ๒๗ มี.ค. - ๒๔ เมษายน ๒๕๕๘ และขนาดบรรจุ ๔ โด๊ส/ขวด ไม่เกินวันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๘

การบริหารจัดการโครงการ ในปี 2558 มีการปรับคำสั่งกระทรวงสาธารณสุข ประกอบด้วย คณะกรรมการอำนวยการ เป็นคณะกรรมการระดับกระทรวง มีบทบาทหน้าที่ในการกำหนดนโยบายและกำกับทิศทางในการดำเนินงาน คณะที่ปรึกษาทางวิชาการ มีบทบาทหน้าที่ในการให้คำปรึกษาทางวิชาการและยุทธศาสตร์ คณะทำงานโครงการให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ มีบทบาทหน้าที่ประสานและขับเคลื่อนดำเนินงานในด้านต่างๆ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติรับผิดชอบ งบประมาณดำเนินการ จัดสรรและกระจายวัคซีนสำหรับประชาชน กระทรวงสาธารณสุขรับผิดชอบ การบริการวัคซีนในกลุ่มบุคลากรสาธารณสุข จัดทำคู่มือแนวทางการดำเนินงาน ประชาสัมพันธ์โครงการในวงกว้าง จัดระบบรองรับปัญหาอาการข้างเคียงภายหลังการได้รับวัคซีน การติดตามประเมินผลโครงการฯ

จากผลการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ปี 2557 พบว่า: วาระที่ 3.1 การเร่งรัดการเพิ่มอัตรารับบริการใน กลุ่มหญิงมีครรภ์ (GA>4 เดือน) และเด็กอายุ 6 เดือน-2 ปี จากผลการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ปี 2557 พบว่า: กลุ่มประชาชาชนกลุ่มเสี่ยง มีประชาชนมารับวัคซีนคิดเป็นร้อยละ 77 ของวัคซีนที่ให้การสนับสนุน ประเภทกลุ่มเสี่ยง สัดส่วนของผู้รับบริการ (%) ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 63.7 บุคคลอายุ 65 ปีขึ้นไป 30.5 เด็กอายุ 6 เดือน-2 ปี 0.9 หญิงมีครรภ์ GA > 4 เดือนขึ้นไป 0.3 กลุ่มเสี่ยงอื่นๆ 4.7

การสำรวจปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ในโรงพยาบาล ปี2557 ส่งแบบสอบถามไปยัง รพ.ทั่วไปหรือ รพ.ศูนย์จังหวัดละ 1 แห่ง และสุ่มเลือกรพ.ชุมชนจังหวัดละ 1 แห่ง รวม 154 รพ. ได้รับแบบสอบถามกลับจากรพ.ทั้งสิ้น 92 แห่ง (ร้อยละ 60) จาก 51 จังหวัด (ร้อยละ 66) แบ่งเป็น โรงพยาบาลศูนย์ 13 แห่ง (ร้อยละ 14.1) โรงพยาบาลทั่วไป 33 แห่ง (ร้อยละ 35.9) โรงพยาบาลชุมชน 46 แห่ง (ร้อยละ 50.0) ผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมดเป็นผู้รับผิดชอบหลักของการให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ในแต่ละโรงพยาบาล

ประเด็นสำคัญจากการสำรวจปัญหาและอุปสรรคการให้บริการ หญิงมีครรภ์ (GA>4 เดือน) และเด็กอายุ 6 เดือน - 2 ปี มีผลบริการวัคซีนต่ำ (ร้อยละ 0.9 และ 0.3 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงทั้งหมด ตามลำดับ) บางโรงพยาบาลไม่มีการให้วัคซีนในสองกลุ่มนี้ การจัดส่งวัคซีนไม่ตรงตามกำหนดทำให้กระทบต่อการดำเนินงานและการแยกการบริหารวัคซีนบุคลากรกับวัคซีนในประชาชน ระยะเวลาการรายงานผลบริการที่สั้นเกินไปทำให้ต้องเร่งรัดการดำเนินงาน

ผลการศึกษาปัญหาและอุปสรรคการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ กลุ่มหญิงมีครรภ์ (GA > 4 เดือน) (92 โรงพยาบาล) 49 % ของรพ. ไม่ให้บริการ 36 % ของรพ. ให้บริการน้อยกว่าร้อยละ 20 ของหญิงมีครรภ์กลุ่มเป้าหมาย 4 % ของรพ. ให้บริการมากกว่าร้อยละ 20 ของหญิงมีครรภ์กลุ่มเป้าหมาย แหล่งข้อมูล: ผลการสำรวจของสำนักโรคติดต่อทั่วไป ปี 2557 หมายเหตุ: หญิงมีครรภ์กลุ่มเป้าหมาย หมายถึง หญิงมีครรภ์(GA>4เดือน) ที่มารับบริการที่ ANC clinic ในช่วงรณรงค์

สาเหตุที่ทำให้ผลบริการ วัคซีนไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มหญิงมีครรภ์ต่ำ ปี 2557 กลุ่มรพ.ที่ไม่ให้บริการหญิงมีครรภ์ GA > 4 เดือน (ทราบเหตุผล 39 จาก 45 รพ.) กลุ่มรพ.ที่ให้บริการ < 20% ของกลุ่มเป้าหมาย (ทราบเหตุผล 33 จาก 35 รพ.) สาเหตุ จำนวนรพ. (%) เจ้าหน้าที่/บุคลากรกลัว และนโยบาย 21 (53.8%) ผู้ป่วยปฏิเสธหรือไม่มารับ 9 (23.1%) ทั้งสองส่วนร่วมกัน สาเหตุ จำนวนรพ. (%) เจ้าหน้าที่/บุคลากรกลัว และนโยบาย 1 (3%) ผู้ป่วยปฏิเสธหรือไม่มารับ 21 (63.6%) ทั้งสองส่วนร่วมกัน 11 (33.3%) ข้อมูลสนับสนุน : ผลการศึกษาของ ดร.ปราบดา ประภาศิริ และคณะ ที่ทำการศึกษาใน ANC clinic ของรพ.รัฐ 32 แห่ง ใน 8 จังหวัด สอบถามหญิงมีครรภ์ 1,031 ราย พบว่า 95 % ของหญิงมีครรภ์ทราบถึงการให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ 18 % ของหญิงมีครรภ์ได้รับคำแนะนำให้รับวัคซีน แหล่งข้อมูล: ผลการสำรวจของสำนักโรคติดต่อทั่วไป ปี 2557

ข้อมูลประกอบการพิจารณา (1) ตั้งแต่ปี 2555 เป็นต้นมา WHO แนะนำให้ประเทศที่เริ่มให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่แก่ประชาชน พิจารณาให้วัคซีนแก่หญิงมีครรภ์เป็นลำดับแรก เนื่องจาก หญิงมีครรภ์มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรครุนแรง ซึ่งวัคซีนมีประสิทธิภาพ ในการลดความรุนแรง และมีความปลอดภัยทุกอายุครรภ์ ภูมิคุ้มกันยังส่งผ่านรกไปสู่ทารกในครรภ์ ช่วยลดการป่วยของทารกที่อายุน้อยกว่า 6 เดือน ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีอัตราการเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลสูงที่สุดหากป่วยเป็นโรคไข้หวัดใหญ่ ได้ ทั้งนี้ควรพิจารณาร่วมกับการศึกษาความเหมาะสมในแต่ละประเทศด้วย สำหรับประชาชนกลุ่มอื่นไม่มีการจัดลำดับ

ข้อมูลประกอบการพิจารณา (2) จากฐานข้อมูลระบบเฝ้าระวังโรค 506 สำนักระบาดวิทยา ปี 2557 พบ ผู้เสียชีวิตจากไข้หวัดใหญ่ 86 ราย 100% ของผู้เสียชีวิตไม่ได้รับวัคซีน หญิงมีครรภ์ = 5 ราย โรคเรื้อรัง > 26 ราย อ้วน > 6 ราย อายุ>65 ปีและมีโรคเรื้อรัง > 4 ราย เด็กอายุ < 2 ปี > 1 ราย ไม่มีโรคประจำตัว/ภาวะเสี่ยง > 20 ราย อัตราเสียชีวิตของ หญิงมีครรภ์ = 0.6 ต่อแสนประชากร ประมาณ 6 เท่า ของกลุ่มเสี่ยงอื่น

กลุ่มที่ไม่ให้บริการวัคซีนในเด็ก 6 เดือน-2ปี สาเหตุที่ทำให้ผลบริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ต่ำ ในกลุ่มเด็ก 6 เดือน-2ปี ปี 2557 กลุ่มที่ไม่ให้บริการวัคซีนในเด็ก 6 เดือน-2ปี (ทราบเหตุผล 35 จาก 36 รพ.) กลุ่มที่ให้บริการกลุ่มเด็ก 6 เดือน-2ปี < 20% (ทราบเหตุผล 37 จาก 40 รพ.) สาเหตุ จำนวนรพ. (%) เจ้าหน้าที่/บุคลากรกลัว และนโยบาย* 17 (48.6%) ผู้ปกครองปฏิเสธ 13 (37.1%) ทั้งสองส่วนร่วมกัน 5 (14.3%) สาเหตุ จำนวนรพ. (%) เจ้าหน้าที่/บุคลากรกลัว และนโยบาย* 9 (24.3%) ผู้ปกครองปฏิเสธ 17 (45.9%) ทั้งสองส่วนร่วมกัน 11 (29.7%) หมายเหตุ: * ประกอบด้วย บุคลากรกลัวผลข้างเคียง ต้องให้วัคซีน 2 ครั้งทำให้สิ้นเปลือง วัคซีนไม่เพียงพอ นโยบายรพ. เนื่องจากยังคงเข้าใจว่าไม่ใช่กลุ่มเป้าหมายของสปสช. แพทย์ไม่สั่งให้วัคซีน แหล่งข้อมูล: ผลการสำรวจของสำนักโรคติดต่อทั่วไป ปี 2557

ประเด็นเพื่อพิจารณา เนื่องจากวัคซีนไข้หวัดใหญ่เป็นวัคซีนที่มีประโยชน์และปลอดภัย ขอให้การฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่เป็นความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุขและราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย ผลักดันเร่งรัดให้หญิงตั้งครรภ์รับบริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ให้กลุ่มหญิงตั้งครรภ์อยู่ในลำดับแรกของรายการประชากรกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้มาตรการประชาสัมพันธ์เชิงรุก ได้แก่ การสื่อสารและขอความร่วมมือกับบุคลากรทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้อง เช่น ราชวิทยาลัย สมาคมวิชาชีพ เป็นต้น ประชาสัมพันธ์ช่องทางอื่นๆ ที่เหมาะสม

ประเด็นเพื่อพิจารณา (ต่อ) เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการของประชากรกลุ่มเป้าหมาย ขอให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ได้ในสถานพยาบาลทุกระดับ โดยขอให้มีการเตรียมความพร้อมสำหรับอาการไม่พึงประสงค์ภายหลังได้รับวัคซีน ภายใต้คำแนะนำของแพทย์

แนวทางการดำเนินงานโครงการให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ปี 2558 (1) แนวทางการดำเนินงานโครงการให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ปี 2558 (1) ปี 2558 กรมควบคุมโรคและสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จัดทำแนวทางการให้บริการดังนี้ การจัดซื้อวัคซีนสนับสนุนในปี 2558 กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข สนับสนุนวัคซีนแก่บุคลากรกลุ่มเสี่ยงจำนวน 4 แสนโด๊ส สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสนับสนุนวัคซีนแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง จำนวน 3 ล้านโด๊ส วัคซีนสายพันธุ์ซีกโลกใต้ (Southern strain) จะเริ่มให้บริการได้ในวันที่ 1 พฤษภาคม – 31 กรกฎาคม 2558 ระยะเวลารณรงค์ 3 เดือน

แนวทางการดำเนินงานโครงการให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ปี 2558 (2) แนวทางการดำเนินงานโครงการให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ปี 2558 (2) สิ่งพิมพ์ประกอบการดำเนินงาน 5 อย่าง แนวทางการดำเนินงาน ได้ปรับปรุงให้ทันต่อสถานการณ์ และข้อมูลวิชาการ เพิ่มเติมการเตรียมความพร้อมรับอาการไม่พึงประสงค์ภายหลังได้รับวัคซีน เอกสารแนะนำความรู้เกี่ยวกับวัคซีนสำหรับประชาชน เพิ่มเติมความรู้สำหรับหญิงตั้งครรภ์และผู้ปกครองเด็กอายุ 6 เดือน - 2 ปี แบบคัดกรองผู้มารับบริการวัคซีนก่อนให้วัคซีน สติ๊กเกอร์ประชาสัมพันธ์ที่คลินิกฝากครรภ์ และคลินิกกุมารเวชกรรม โปสเตอร์แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่รวมถึงแนวทางการดูแล AEFI เพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดไว้ในสถานที่ให้บริการ

คู่มือแนวทางการดำเนินงานไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ปรับปรุงแนวทางการดำเนินงานให้ทันต่อสถานการณ์ และข้อมูลวิชาการ เพิ่มเติมการเตรียมความพร้อมรับอาการไม่พึงประสงค์ภายหลังได้รับวัคซีน คำถามที่พบบ่อยในการให้วัคซีนในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 2 ปี

เอกสารแนะนำความรู้เกี่ยวกับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ สำหรับประชาชน เพิ่มเติมความรู้สำหรับ หญิงตั้งครรภ์ ผู้ปกครองเด็ก อายุ 6 เดือน - 2 ปี

แบบสอบถามผู้มารับบริการวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล พ.ศ. ๒๕๕๘ สำหรับเจ้าหน้าที่เพื่อคัดกรองผู้มารับบริการก่อนให้วัคซีน

สติ๊กเกอร์ขนาด A4 พิมพ์ข้อความประชาสัมพันธ์กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และเด็กอายุ 6 เดือนถึง 2 ปี มารับบริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่

เพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดไว้ในสถานที่ให้บริการ โปสเตอร์ขนาด A4 “แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ + แนวทางการดูแล AEFI เพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดไว้ในสถานที่ให้บริการ

การประชาสัมพันธ์อื่น ๆ Social media Facebook และ website สำนักโรคติดต่อทั่วไป และผ่านเครือข่ายกลุ่มงานโรคติดต่อ หนังสือแจ้งไปยังราชวิทยาลัย สมาคมวิชาชีพ

วาระที่ 3.2 แนวทางการดำเนินงานโครงการ ให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ปี 2558 (3) วาระที่ 3.2 แนวทางการดำเนินงานโครงการ ให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ปี 2558 (3) การติดตามประเมินผล ติดตามประเมินผลการดำเนินงานในสถานบริการต่างๆ แบบบูรณาการกับการติดตามประเมินผลโครงการอื่นๆ

ประเด็นเพื่อพิจารณา ขอให้ที่ประชุมให้ข้อเสนอแนะและรับรองแนวทางการดำเนินโครงการการให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ปี ๒๕๕๘

ด้านการเฝ้าระวัง สอบสวน และตอบสนองต่อกรณีเกิดอาการข้างเคียงภายหลังได้รับวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ (1) ข้อมูลเฝ้าระวังและระบบสอบสวน อาการข้างเคียงภายหลังได้รับวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ โดยแพทย์หญิงดารินทร์ อารีโชคชัย สำนักระบาดวิทยา

การเตรียมความพร้อมสำหรับกรณี อาการ แพ้รุนแรงภายหลังได้รับวัคซีน การเตรียมความพร้อมสำหรับกรณี อาการ แพ้รุนแรงภายหลังได้รับวัคซีน จากผลการสำรวจความพร้อมรับกรณีมีผู้ป่วย AEFI รุนแรงภายหลังได้รับวัคซีนในโครงการรณรงค์ให้วัคซีน dT ในสถานบริการทั้งหมด 39 แห่ง ประกอบด้วย รพ. 6 แห่ง รพ.สต. 33 แห่ง ประเด็นที่ทำการสำรวจ ร้อยละ ทีมฉีดวัคซีนมีผู้ที่ได้รับการอบรมวิธีการกู้ชีพเบื้องต้น 89 มีอุปกรณ์กู้ชีพในสถานบริการครบถ้วน 50 มีอุปกรณ์กู้ชีพครบถ้วนเมื่อออกหน่วยเคลื่อนที่ มีแผน/ผังการช่วยเหลือเบื้องต้นในสถานบริการ 41 มีพาหนะรวมทั้งอุปกรณ์กู้ชีพพร้อมใช้งาน 17.9 รถพยาบาลสามารถส่งต่อผู้ป่วยได้ ภายใน 10 นาที 47.4 หลังฉีดให้ผู้รับบริการพักสังเกตอาการ 30 นาที 71.8

ประเด็นเพื่อพิจารณา พิจารณาเสนอให้กระทรวงสาธารณสุขมอบหมายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและผู้ตรวจราชการสนับสนุน การเตรียมความพร้อมกรณี AEFI ในสถานบริการ การเตรียมอุปกรณ์ครบถ้วนตามมาตรฐานงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะการกู้ชีพและการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค การเฝ้าระวังสอบสวนและตอบสนองต่อกรณีเกิดอาการภายหลังได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

ระบบเฝ้าระวังสอบสวนและตอบสนองต่อกรณีเกิดอาการภายหลังได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ Passive surveillance ทั่วประเทศ * ทราบอุบัติการณ์ AEFI * ตรวจจับและตอบสนองต่อ Serious AEFI * ประเมินสาเหตุโดยคณะผู้เชี่ยวชาญ * ข้อแนะนำจากคณะผู้เชี่ยวชาญนำสู่การแก้ปัญหา

สถานการณ์การเฝ้าระวังอาการภายหลังได้รับ วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ สถานการณ์การเฝ้าระวังอาการภายหลังได้รับ วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ในปี พ.ศ. 2557 มีรายงานผู้ป่วยจำนวน 100 ราย (เสียชีวิต 1 ราย) ประเมินสาเหตุแล้ว พบว่า * เกี่ยวข้องกับวัคซีน 92 ราย : อาการไม่ร้ายแรงทั้งหมด * น่าจะเกี่ยวข้องกับวัคซีน (Probable) 1 ราย - GBS * ไม่เกี่ยวข้องกับวัคซีน 6 ราย (รวมผู้เสียชีวิต) * ข้อมูลไม่เพียงพอในการประเมินสาเหตุ 1 ราย

เกี่ยวข้องกับวัคซีน 92 ราย ระบบเฝ้าระวังสอบสวนและตอบสนองต่อกรณีเกิดอาการภายหลังได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ร้อยละของผู้มีอาการภายหลังได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ที่มีความเกี่ยวข้องกับวัคซีน จำแนกตามอายุ พ.ศ. 2557 เกี่ยวข้องกับวัคซีน 92 ราย ร้อยละของผู้มีอาการภายหลังได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ที่มีความเกี่ยวข้องกับวัคซีน จำแนกตามอาการ พ.ศ. 2557 อายุ อายุ 1-86 ปี มัธยฐานอายุ 61 ปี ร้อยละ

AEFI ที่พบได้ในวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ * อาการไม่รุนแรง - ไข้ ปวดบวมบริเวณที่ฉีด ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย อาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ปวดข้อปวดกล้ามเนื้อ - กลุ่มอาการทางตาและทางเดินหายใจ (Oculo-Respiratory Syndrome: ORS) พบได้ประมาณ 50 ต่อล้านโด๊ส * อาการรุนแรง - อาการ GBS พบได้ 1-2 รายต่อล้านโด๊ส - อาการ anaphylaxis พบได้ < 1 รายต่อล้านโด๊ส

ขอบคุณครับ