การเมืองการปกครองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (เบื้องต้น) ผศ.ดร.ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร ผู้อำนวยการหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asia) เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่ หรืออินโดจีน ประกอบด้วย 11 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมุทร ประกอบด้วย บรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์
ข้อมูลเบื้องต้น
เอเชียอาคเนย์กับอาณานิคม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม ศ.17 (1600-1699) การปฏิวัติอุตสาหกรรม (Industrial Revolution) เปลี่ยนจาก manpower engine การปฏิวัติอุตสาหกรรมทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
การปฏิวัติอุตสาหกรรม เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การเมือง เศรษฐกิจ เสรีนิยม ทุนนิยม Plural society Equality before the law Liberty Rule of law Political participation Peaceful solution to conflicts Election Majority rule, minority rights Democracy
การเข้าสู่อำนาจปกครองอาณานิคมของตะวันตก ใช้กำลังทหารเป็นเครื่องมือ ยึดโดยสันติวิธี Ex. การให้ความช่วยเหลือ การตกลงระหว่างชาติมหาอำนาจ
รูปแบบการปกครอง ปกครองโดยตรง Ex. อังกฤษปกครองพม่า 2. การปกครองโดยอ้อม 3. การปกครองร่วมกับชนพื้นเมือง Ex. สหรัฐฯ ปกครองฟิลิปปินส์เปิดช่องให้คนฟิลิปปินส์ร่วมปกครองเพราะสหรัฐฯไม่มีความรู้เกี่ยวกับฟิลิปปินส์เพราะมีคนดูแลน้อย
การต่อต้านเจ้าอาณานิคม สาเหตุ เจ้าอาณานิคมเอาเปรียบทางเศรษฐกิจ เจ้าอาณานิคมกดขี่/ข่มเหง การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ทุนนิยมทำให้คนต้องการเสรีภาพ เกิด ขบวนการชาตินิยมในช่วง ศ. 19 ในหลายประเทศ
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ตลอดเวลาที่หลายประเทศตกเป็นของต่างชาติ ไทยเป็นเอกราชตลอดแต่เสียดินแดนบางส่วน หลายประเทศเกิดขบวนการชาตินิยม อิทธิพลของ USSR เริ่มขยายแข่งกับ USA
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 อินเดียเป็นเอกราชจากอังกฤษ 1947 เจ้าอาณานิคม 1)ย่ำแย่ ต้องการฟื้นฟูทางเศรษฐกิจ สังคม 2)การเมืองมีการปรับเปลี่ยนขั้วอำนาจโลก Eng + French ลดบทบาท USA + USSR ขึ้นมาแทน
การประกาศเอกราช SEA ประเทศ เจ้าอาณานิคม วันที่ประกาศอิสระภาพ ผู้นำการต่อสู้ ฟิลิปปินส์ สหรัฐอเมริกา 4 ก.ค.1946 มาร์กอก พม่า อังกฤษ 4 ม.ค.1948 อูอองซาน อินโอนิเชีย Netherlands 27 ธ.ค.1949 ซูการ์โน เวียดนาม ฝรั่งเศส 21 ก.ค.1954 Geneva Treaty โฮจิมินห์ ลาว เจ้าสุภานุวงค์ นายฎมี วงศ์วิจิตร กัมพูชา กษัตริย์สีหนุ มาเลเซีย 31 ส.ค.1957 สิงคโปร์ ลีกวนยู บรูไน 1 ม.ค.1984 สุลต่าน ติมอร์ตะวันออก โปรตุเกสและอินโดนิเซีย 20 พ.ค.2002 กัสเมา
ปัญหาของชาติเอกราชในเอเชียอาคเนย์ 1.ปัญหาความด้วยพัฒนาและความยากจน 2.ปัญหาความเป็นชาติ 3.ปัญหาการบริหารราชการ: ระบบอุปถัมภ์ (Patronage System) VS ระบบคุณธรรม (Merit System) 4.ปัญหาประชาธิปไตยในเอเชียอาคเนย์ (2557-2559) สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ อินโดนิเชีย ติมอร์เลสเต กัมพูชา เวียดนามและลาว Socialist บรูไน King Democracy ไทย พม่า Authoritarian
ประชาธิปไตยที่แตกต่าง ความแตกต่างระหว่างประชาธิปไตยตะวันตกกับวัฒนธรรม SEA ประชาธิปไตยตะวันตก วัฒนธรรม SEA ความเสมอภาคระหว่างบุคคลตามกฎหมาย อำนาจการปกครองเป็นของประชาชนโดยประชาชนเพื่อประชาชน ยืดถือในหลักแห่งกฎหมาย กระบวนการทางการเมืองแบบประชาธิปไตยให้คนมีส่วนร่วม (เลือกตั้ง เฟ้นหาตัวแทนประชาชน) การแบ่งเป็นชนชั้นปกครองกับผู้ใต้ปกครอง อำนาจการปกครองเป็นของคนชั้นสูง ยึดระบบอุปถัมภ์ เน้นแต่กระบวนการทางการเมืองแบบประชาธิปไตยแต่กีดกันคน (เลือกตั้ง แล้วประชาชนหมดสิทธิทางการเมืองในการเรียกร้อง)
Questions? Comments? จบการนำเสนอ