บทที่ 3 การออกแบบงานวิจัย (ต่อ)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Dr.Smira Chittaladakorn
Advertisements

(Statistical Package for the Social Sciences : SPSS)
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
แบบสอบถาม ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป (ด้านสังคมเศรษฐกิจ) ส่วนที่ 2 ความรู้
ลักษณะของชุดฝึกอบรม/การเรียนรู้
บทที่ 7 การรวบรวมข้อมูลวิจัย
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 5 การวัดและการสร้างสเกล
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม.
เปิดประชุมเวลา น. รายชื่อผู้เข้าประชุม.
สำนักวิจัยและพัฒนาระบบงานบุคคล สำนักงาน ก.พ.
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ผ้าห่มไม่หายแค่ใส่ตัวเลข ปัญหาและการปรับปรุงแก้ไข
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค กุมภาพันธ์ 2554
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ คุณภาพของเครื่องมือวัด
การวัดและประเมินผลการศึกษา
รูปแบบการเขียนบทที่ 3.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
การสร้างเครื่องมือในการวิจัย (Instrument)
บทที่ 8 เครื่องมือการวิจัย
แผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
Semantic Differential
การสร้างและการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การจัดทำแบบบรรยายลักษณะงาน (Job Description) และตัวชีวัดระดับบุคคล
วิทยาศาสตร์ และ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การทดสอบสมมติฐาน.
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
การประเมินคุณภาพหลักสูตรรายวิชา “
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
เด็กอายุ 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย
ข้อมูล และ เครื่องมือเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ
ข้อมูลประกอบการประชุมผู้บริหารระดับสูง
สมรรถนะของข้าราชการ กลุ่มงานบริการประชาชน ด้านสุขภาพและสวัสดิการ
Students’ Attitudes toward the Use of Internet
แนวทางการบริหารงานเพื่อสอดรับ กับการปรับระบบบริหารงานบุคคล
การติดตามและการประเมินผลโครงการ
แนวทางการตรวจนิเทศงานสาธารณสุขผสมผสาน การประเมินผล การปฏิบัติราชการRanking นำสู่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐.
ถ่ายทอดเกณฑ์ และแนวทางการประเมิน การพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ
Techniques Administration
การวัดผลและประเมินผลพฤติกรรมของมนุษย์
การประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
การสร้างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร
การขออนุมัติดำเนินโครงการ ภายใต้ข้อบังคับฯ 2559
ผู้วิจัย ศิริมา เที่ยงสาย
รูปแบบและขั้นตอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
Contents Contents Introduction Objectives Conceptual frame work
Statistical Method for Computer Science
การวัดและประเมินผลการศึกษา
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
การพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การเก็บรวบรวมข้อมูล.
วาระประชุมฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ ประจำเดือน มีนาคม 2562
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
เทคนิคการทำวิจัยสถาบัน
บทที่ 8 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
บทที่ 8. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
อ.พรพนา ปัญญาสุข วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย
ประจำปีการศึกษา พุทธศักราช 2555
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
งานวิจัย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 การออกแบบงานวิจัย (ต่อ) วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล การออกแบบเครื่องมือวิจัย

เครื่องมือวิจัย วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม บอกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลได้ บอกหลักการ ขั้นตอนและเทคนิคการสร้างเครื่องมือวิจัยได้ สามารถสร้างเครื่องมือวิจัยได้

การเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัย ประเภทของข้อมูล 1. แบ่งตามที่มา --- ปฐมภูมิ --- ทุติยภูมิ 2. แบ่งตามคุณสมบัติทางการวัด * เชิงคุณภาพ * เชิงปริมาณ

ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล การวางแผน 2. เก็บรวบรวม 3. ตรวจสอบ

ลักษณะที่ดีของการเก็บรวบรวมข้อมูล 1.ไม่มีอคติ 2. มีความแม่นยำ 3. มีระยะเวลา& ขอบเขตการเก็บข้อมูล

เทคนิคการเลือกวิธีการเก็บข้อมูล จากปัญหาการวิจัย แบบของการวิจัย ตัวอย่าง จำนวน และสถานที่ ระยะเวลาในการศึกษา ทรัพยากรที่มี

เครื่องมือในการทำวิจัย หมายถึง เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวม ข้อมูลเพื่อตอบวัตถุประสงค์เฉพาะ ของการวิจัย

ประเภทของเครื่องมือ 1.สร้างขึ้นมาใหม่ทั้งหมด ( constructed instuments) 2.นำเครื่องมือที่มีอยู่แล้วมาพัฒนา ( developed instruments) 3.นำเครื่องมือที่มีอยู่แล้วมาใช้ ( copied instruments)

เครื่องมือสำหรับรวบรวมข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ 1.1 เครื่องมือที่ใช้วัดทางกายภาพ เช่น เครื่องชั่งน้ำหนัก เครื่องวัดความดันโลหิต 1.2 เครื่องมือที่ใช้วัดทางเคมี เช่น Labstric (เครื่องมือตรวจหาน้ำตาลในปัสสาวะ) 1.3 เครื่องมือที่ใช้วัดทางจุลชีววิทยา เช่น กล้องจุลทัศน์

เครื่องมือสำหรับรวบรวมข้อมูลทางสังคมศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบทดสอบ แบบวัดทัศนคติ แบบสังเกต แบบตรวจสอบรายการ แบบจดบันทึกข้อมูล

1.ร่างเครื่องมือตามกรอบแนวคิด 2.พบที่ปรึกษา ระเบียบวิธีการสร้างเครื่องมือ ปัญหา/ วัตถุประสงค์ 3. หาความตรง ประเมินความชัดเจน ความครอบคลุม ทบทวนโครงสร้าง ของเครื่องมือ 4. พัฒนา”เครื่องมือ.” 5. ทดลองใช้ (try out ) 6. หาความเที่ยง ( reliability )

ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือวิจัย โครงสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 1.กำหนดวัตถุประสงค์ 2.กำหนดประเด็นหลักของเนื้อหา 3.แจกแจงประเด็นหลักเป็นประเด็นย่อย 4. กำหนดจำนวนข้อคำถาม 5. กำหนดประเภทของคำถาม 6. กำหนดรูปแบบของคำถาม 7.ตรวจสอบความสอดคล้อง 8.จัดทำแบบสอบถามฉบับร่าง 9.ทดลองใช้ แก้ไขและจัดพิมพ์

1. กำหนดวัตถุประสงค์ของเครื่องมือ นำไปใช้เรื่องอะไร กับใคร ที่ ไหน เพื่อวัตถุประสงค์ใด

2. กำหนดประเด็นหลักของเนื้อหา วัตถุประสงค์ ประเด็นหลัก A A1 A2 A3 B B1 B2 B3

แจกแจงประเด็นหลักเป็นประเด็นย่อย ประเด็นหลักที่ 1 1.1 ประเด็นย่อยที่ 1 1.2 ประเด็นย่อยที่ 2 2. ประเด็นหลักที่ 2 2.1 ประเด็นย่อยที่ 1 2.2 ประเด็นย่อยที่ 2

4.การกำหนดข้อคำถาม ประเด็นหลัก น้ำหนัก % ประเด็นย่อย น้ำหนัก % จำนวนข้อ A 40 a1 20 2 a2 10 1 a3 10 1 B 60 b1 20 2 b2 20 2 b3 20 2 รวม 100 100 10

ประเด็นหลัก 1. การรับประทานอาหาร 2. การออกกำลังกาย 3. ภาวะแทรกซ้อน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน ประเด็นหลัก 1. การรับประทานอาหาร 2. การออกกำลังกาย 3. ภาวะแทรกซ้อน ประเด็นหลัก 1. การรับประทานอาหาร ประเด็นย่อย 1. ชนิดของอาหาร 2. ประมาณอาหารที่รับประทาน ประเด็นหลัก 2. การออกกำลังกาย ประเด็นย่อย 1. หลักการออกกำลังกาย

1. การรับประทานอาหาร 40% 1. ชนิดของอาหาร 20% 2 2. ประมาณอาหาร ประเด็นหลัก ประเด็นย่อย ข้อ 1. การรับประทานอาหาร 40% 1. ชนิดของอาหาร 20% 2 2. ประมาณอาหาร ที่รับประทาน 20% 2 2. การออกกำลังกาย 60 % 1. หลักการออกกำลังกาย 30% 3 2. ประเภทการ- ออกกำลังกาย 30% 3

5. การกำหนดประเภทคำถาม --- ถามความรู้ --- ความคิดเห็น --- ถามพฤติกรรม

6.การกำหนดรูปแบบของคำถาม 6.1 คำถามปลายเปิด ถ้าให้ท่านเปรียบเทียบพยาบาลวิชาชีพกับดอกไม้ท่านจะเปรียบเทียบกับดอกอะไร ........................ เพราะอะไร....................................................

6.2 คำถามปลายปิด - แบบเลือกตอบ 1 ใน 2 ( ) หญิง ( ) ชาย

-แบบประมาณค่า (Rating) 5 4 3 2 1 อาจารย์มีการเตรียมสอน ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) -แบบเติมคำ อายุ ____ ปี -แบบถูกผิด -แบบจับคู่

-แบบเลือกตอบตามที่เห็นสมควร ท่านได้รับข้อมูลข่าวสารรู้เกี่ยวกับพยาบาลจากที่ใดบ้าง (ตอบได้หลายข้อ) ( )โทรทัศน์ ( ) วิทยุ ( ) หนังสือพิมพ์ ( ) อินเตอร์เนต -แบบเลือก 1 คำตอบจากหลายตัวเลือก อาชีพ ( ) รับราชการ ( ) พนักงานรัฐวิสาหกิจ ( )ธุรกิจส่วนตัว ( )

- แบบจัดลำดับ (Ranking ) ให้เรียงลำดับกิจกรรมการทำแผลจากที่สำคัญที่สุด (1) ถึงสำคัญน้อยที่สุด (4) ( ) ล้างมือ ( ) ประเมินแผล ( ) ดูความพร้อมของผู้ป่วย ( ) เตรียมอุปกรณ์การทำแผล

การวัดทัศนคติ ทัศนคติ (attitude)หมายถึง ความโน้มเอียงหรือความพร้อมที่จะแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง (McDonade, 1989) กระบวนการที่เริ่มจากความคิด ความรู้สึกและทำให้เกิดการตอบสนองต่อสิ่งเร้าซึ่งอาจเป็นบุคคล สิ่งของ สถาบัน สถานการณ์ หรือแนวความคิด การตอบสนองนี้แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ แนวโน้มที่จะชอบหรือพอใจ เรียกว่า ทัศนคติทางบวก และแนวโน้มที่จะไม่ชอบหรือไม่พอใจ เรียกว่าทัศนคติทางลบ (ยุวดี ฦาชาและคณะ, 2537)

แบบวัดทัศนคติ แบบเธอร์สโตน (Thurstone) แบบลิเคิร์ท (Likert) แบบออสกูด (Osgood) เลือกแบบไหนดี !!

แบบวัดทัศนคติของลิเคิร์ท ( Likerts’s method ) ใช้หลักการวัดค่ารวม (summative scale) เน้นการวัดในด้านความเป็นมิติเดียวกัน * สร้างข้อความทั้งทางบวกและทางลบ จำนวนใกล้เคียงกัน * มีข้อความที่มีคำตอบให้เลือกเป็นแบบประมาณค่า ( Rating scale ) ที่มี 4 คำตอบ หรือ 5 คำตอบ

มาตรวัดของลิเคิร์ทสเกล แบ่งคะแนนทัศนคติหรือความรู้สึกออกเป็น 5 ช่วงเท่าๆ กัน (ทั้งทางบวกและทางลบ) ข้อความทางบวก 5 = เห็นด้วยอย่างยิ่ง 4 = เห็นด้วย 3 = ไม่แน่ใจ 2 = ไม่เห็นด้วย 1 = ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ข้อความทางลบ 5 = ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง 4 = ไม่เห็นด้วย 3 = ไม่แน่ใจ 2 = เห็นด้วย 1 = เห็นด้วยอย่างยิ่ง

7. ตรวจสอบความสอดคล้อง -- ตรงตามเนื้อหาสาระ --ความครอบคลุมประเด็นหลัก ประเด็นย่อย -- ตรงตามวัตถุประสงค์

8. จัดทำเครื่องมือฉบับร่าง แบบสอบถามประกอบด้วย 1. การพิทักษ์สิทธิของผู้ตอบ 2. ชื่อแบบสอบถาม 3. คำชี้แจง คำแนะนำในการตอบ ตอนที่ 1 เกี่ยวกับผู้ตอบ เป็นคำถามที่เกี่ยวข้อง กับผู้ตอบถามเฉพาะเรื่องที่จำเป็นและเกี่ยวข้อง ตอนที่ 2 เนื้อหาสาระที่ต้องการถามตามรูปแบบ ของคำถาม

9.ทดลองใช้ แก้ไข จัดพิมพ์

แบบสอบถาม “ความคิดเห็นในการปฏิบัติงานประจำวัน” คำแนะนำในการตอบแบบสอบถาม แบบสอบถามนี้ประกอบด้วยเนื้อหา 2 ส่วนคือ ส่วนที่ 1 แบบสอบถามปัจจัยส่วนบุคคล 8 ข้อ ส่วนที่ 2 แบบสอบถามความคิดเห็นในการปฏิบัติงานประจำวัน 60 ข้อ โปรดอ่านคำชี้แจงก่อนตอบแบบสอบถามแต่ละส่วน โปรดตอบแบบสอบถามทุกส่วนและทุกข้อไม่ละเว้นข้อใด เพื่อให้คำตอบของท่านสามารถใช้เป็นข้อมูลที่สมบูรณ์ในการวิจัยครั้งนี้ และเป็นประโยชน์ในการพัฒนาวิชาชีพพยาบาล

ส่วนที่ 1 ปัจจัยส่วนบุคคล คำชี้แจง โปรดใส่เครื่องหมาย ลงในช่องว่าง ( ) หน้าข้อความ หรือ เติมคำลงในช่องว่างเกี่ยวกับตัวท่านตามความเป็นจริง 1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง 2. ปัจจุบันท่านอายุ………..ปี…………….เดือน 3. สถานภาพสมรส ( ) โสด ( ) คู่ ( ) หม้าย ( ) หย่า 4. วุฒิการศึกษาขั้นสูงสุด ( ) ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ( ) ปริญญาโท สาขา…………………… ( ) อื่นๆ โปรดระบุ………………………

ส่วนที่ 2 ความเห็นในการปฏิบัติงานประจำวัน คำชี้แจง แบบสอบถามนี้มีจำนวน 60 ข้อ ข้อความต่อไปนี้เป็นการบรรยายการกระทำหรือความคิดที่เกิดขึ้น โปรดพิจารณาว่าการกระทำหรือความคิดดังต่อไปนี้ เกิดขึ้นกับท่านบ่อยมากน้อยเพียงใด กรุณาทำเครื่องหมาย ลงในช่องหมายเลขที่ตรงกับคำตอบของท่านเพียงคำตอบเดียว โดยหมายเลขที่ให้เลือกมี ความหมายดังนี้ 1 หมายถึง การกระทำนั้นเกิดขึ้นกับท่านน้อยที่สุดหรือไม่ เกิดขึ้นเลย 2 หมายถึง การกระทำนั้นเกิดขึ้นกับท่านน้อย 3 หมายถึง การกระทำนั้นเกิดขึ้นกับท่านเป็นครั้งคราว 4 หมายถึง การกระทำนั้นเกิดขึ้นกับท่านบ่อย 5 หมายถึง การกระทำนั้นเกิดขึ้นกับท่านบ่อยที่สุด

ข้อความ ระดับของการเกิดขึ้น 1 2 3 4 5 ฉันคิดว่าฉันสามารถเลือกทำงานสิ่งที่ตนเองต้องการได้ ฉันหาวิธีใหม่ๆ ในการทำงาน ฉันพิจารณาหาทางเลือกหลายๆ ทางก่อนตัดสินใจ 60 ฉันหาวิธีการช่วยให้ผู้อื่นสามารถตัดสินใจในการหาทางเลือกด้วยตนเอง