การคัดเลือก (Selection)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 6 Internet Recruiting กระบวนการจัดหางานผ่าน Internet.
Advertisements

กรมสรรพากร กระทรวงการ คลัง. การบริหารงานสรรพากร จัดเก็บภาษีให้ทั่วถึงเป็นธรรม มี ความโปร่งใส ค่าใช้จ่ายต่ำ ทั้งส่วนของ ทางการ และเอกชน มุ่งพัฒนาเป็นองค์กรแห่งการ.
กองวิทยาการ กรมการขนส่ง ทหารเรือ. ภารกิจ มีหน้าที่ อำนวยการ ประสานงาน และดำเนินการ เกี่ยวกับการศึกษา ค้นคว้าวิจัย และพัฒนาเผยแพร่ให้คำแนะนำ ด้านวิทยาการขนส่ง.
การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan - IDP
การจัดทำแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล
ระบบสารสนเทศในหน่วยธุรกิจ
ผู้อำนวยการสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาล จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2560.
การจัดการทรัพยากรมนุษย์
การบรรยายพิเศษ สหกิจศึกษานานาชาติ International Cooperative Education โดย ดร.สุเมธ แย้มนุ่น อุปนายกสมาคมสหกิจศึกษาไทย โครงการเตรียมความพร้อมสู่สหกิจศึกษานานาชาติ
การศึกษา ปริญญาตรี - ศิลปศาสตร์บัณฑิต(รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ระบบสารสนเทศในงานบริหารงานบุคคล และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารความสัมพันธ์ลูกค้า Customer Relationship Management: CRM
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง
ระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่
การเตรียมความพร้อมรับการประเมิน จาก สมศ.
การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก และการป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
การส่งเสริมการตลาด 9 กระบวนการติดต่อสื่อสาร
การพิจารณาความผิดและกำหนดโทษ และการลงโทษทางวินัย
MPLUS SEXPERT.
เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน (Economics for Everyday Life)
By Dr. Khunakorn Khongchana Lecturer of English Program
บริษัท โกลบัล คอนเซิร์น จำกัด 1 ธันวาคม 2553
การบริหารกำลังคนภาครัฐ
งานวันข้าวโพดเทียนบ้านเกาะ
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based รอบที่ 1
ข้อเสนอการพัฒนากรมอนามัย โดย คณะทำงานจัดทำข้อเสนอการพัฒนากรมอนามัย โครงการฝึกอบรมนักบริหารรุ่นใหม่ กรมอนามัย รุ่นที่ 1 ปีงบประมาณ 2558.
เพื่อเข้าถึงแหล่งงบประมาณ
แนวทางการดำเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2560
KM Day กองแผนงาน ระบบแผนงาน Online 12 กันยายน 2557
สู่สุขภาพและคุณภาพชีวิต
นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา ที่ปรึกษากระทรวงด้านพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข
พชรวรรณ ธัญญาดี ส่วนจัดการงบประมาณ สำนักแผนงานและสารสนเทศ
ผู้อำนวยการกองกฎหมาย
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 พ. ศ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มหาวิทยาลัยนเรศวร
เรื่อง การปรับปรุงค่าตอบแทนภาคราชการ
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
การปรับยุทธศาสตร์ (Reprofiling) มหาวิทยาลัยกลุ่มใหม่
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
EDT2303 การออกแบบเว็บไซต์เพื่อการศึกษา 3 (2-2-5)
ระบบสารสนเทศอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย
เทคนิคการใช้เครื่องมือสมัยใหม่ (New Media) เพื่อการสื่อสาร
การประชุมซ้อมความเข้าใจการลงทะเบียนและ
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทย
เรื่อง การทอผ้าห่มสี่เขา/ตะกอ
สารสนเทศ และการรู้สารสนเทศ
แนวทางปฏิบัติงานตาม พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2560
เรื่อง ทฤษฎีการค้นหาในการฝึกสุนัข
รายงานความก้าวหน้า คณะทำงานธรรมาภิบาล (CGO) เขตสุขภาพที่ ธันวาคม 2561
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
“ตัวอย่างคำวินิจฉัยอุทธรณ์และร้องทุกข์
การจัดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET ปีการศึกษา 2559
ผลงานตามโครงการพระราชดำริ โครงการ TO BE NUMBER ONE 1
Introduction to Public Administration Research Method
การพัฒนาระบบ ECS (Emergency Care System) โรงพยาบาลพยัคฆภูมิพิสัย
หัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
หมวด 2 : การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วีระโชติ รัตนกุล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
หลักและศิลปะ ในการเขียนหนังสือติดต่อราชการ
ตัวชี้วัด 2.4 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน
สื่อการเรียนการสอนวิชาเครื่องรับโทรทัศน์ ( )
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ECS คุณภาพ โรงพยาบาลยางสีสุราช ปี 2561 (ไตรมาสที่ 1)
โรงแรมเจริญธานี จังหวัดขอนแก่น
ภาพรวมของ CLT/PCT สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤษภาคม 2561.
ฉบับที่ ๑๕/๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐ น. นายปริญญา เพ็งสมบัติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประชุมหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกาฬสินธุ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การคัดเลือก (Selection) Dr.Chot Bodeerat, D.P.A. Public Administration Faculty of Humanities and Social Sciences Pibulsongkram Rajabhat University

คัดเลือกบุคลากร เพื่อบรรจุเข้ารับราชการที่ผ่านมา 1. นโยบายการคัดเลือก แบบแนวดิ่ง (vertical entry) - บรรจุบุคคล เริ่มจากระดับต่ำสุด ของแต่ละสายงาน - เน้นการเติบโตภายใน เลื่อนตำแหน่งโดยแต่งตั้งบุคคากรภายในของตนเอง 2. ประเภทของการคัดเลือกบุคลากร การสรรหาภายใน (Recruitment from inside) - สอบเลื่อนขั้น (promotion) การสรรหาภายนอก (Recruitment from outside) - สอบแข่งขัน

3. การคัดเลือกข้าราชการ - มีสัญชาติไทย - อายุไม่ต่ำกว่า 18 ปี - เป็นผู้เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข - ไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งข้าราชการการเมือง - ไม่เป็นผู้มีร่างกายทุพพลภาพจนไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ไร้ความสามารถ จิตฟั่นเฟื่อนไม่สมประกอบ หรือเป็นโรคตามที่กำหนดในกฏ ก.พ. - ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออกหรือปลดออก ไล่ออกเพราะกระทำผิดวินัยตามกฏหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนหรือตามกฏหมายอื่น

- ไม่เป็นผู้อยู่ในระหว่างถูกสั่งให้พักราชการ หรือถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน - ไม่เป็นผู้ที่บกพร่องในศีลธรรม จนเป็นที่รังเกียจของสังคม - ไม่เป็นกรรมการพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง - ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย - ไม่เป็นผู้เคยต้องรับโทษจำคุก โดยคำพิพากษาถึงที่สุด ให้จำคุกเพราะการกระทำความผิดทางอาญา เว้นแต่เป็นโทษความผิดที่ได้กระทำโดยประมาท หรือความผิดละหุโทษ - ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากรัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ

4. การสอบแข่งขัน - ภาคความรู้ความสารถทั่วไป(ภาค ก.) - ภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (ภาค ข.) - ภาคความเหมาะสมกับตำแหน่ง (ภาค ค.) - ทดลองปฏิบัติราชการ การสอบแข่งขันในแต่ละภาคจะต้องได้คะแนนไม่ต่ำกว่า 60% ขึ้นไป

บรรจุ แต่งตั้งจากผู้สอบแข่งขันได้ในตำแหน่งนั้นตามลำดับที่ ในบัญชีที่สอบแข่งขัน ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้ง จะต้องมีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งนั้น - ก.พ.จะเป็นผู้ดำเนินการสอบแข่งขันเอง หรือจะมอบหมายให้องค์การ ส่วนราชการใดเป็นผู้ดำเนินการแทนก็ได้ - หลักสูตร วิธีการสอบ และวิธีดำเนินการ เกณฑ์การตัดสิน การขึ้นบัญชีผู้สอบ การนำบัญชีรายชื่อผู้สอบได้ ให้เป็นไปตามที่ก.พ.กำหนด - ผู้สอบได้ถ้าขาดคุณสมบัติทั่วไป และไม่ได้รับการยกเว้น จะบรรจุไม่ได้ - การคัดเลือกบรรจุบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ ความชำนาญสูงในฐานะผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ชำนาญการ ไม่จำเป็นต้องสอบแข่งขัน

5.กระแสใหม่ในการคัดเลือก แนวทางใหม่จากประเทศตะวันตก ความสะดวก รวดเร็ว ลดขั้นตอน คำนึงถึงประสบการณ์ในการทำงานมากกว่าระดับการศึกษา -E-Recruitment รวดเร็ว ประหยัด ลงทุนน้อย เข้าถึงประชาชนได้จำนวนมาก - เข้า http://www. สมัครงานของภาครัฐ (www.usa.jobs.opm.gov หรือของสำนักงาน ก.พ.www.ocsc.go.th) - ค้นหาตำแหน่งที่ต้องการของผู้สมัคร (ระบุตำแหน่ง โดยไม่คำนึงถึงสถานที่ หรือระบุสถานที่ก่อนว่าต้องการทำงานในจังหวัดใด) - สร้างประวัติผู้สมัคร (Online Resume Builder) หรือส่งทาง E-mail

ข้อดี E-Recruitment - สามารถค้นหาข้อมูลและติดต่อกับผู้สมัครได้อย่างรวดเร็วและประหยัดโดยผ่านทางเครือข่ายระบบ Internet - เข้าถึงประชาชนได้จำนวนมาก ทำให้ได้รับใบสมัครจำนวนมากเช่นกัน ข้อเสีย E-Recruitment - ต้องกรอกข้อมูลของผู้สมัครให้ครบถ้วนก่อน จึงจะสามารถเข้าเยี่ยมชมได้ - อาจจะไม่สะดวกสำหรับผู้ที่ไม่มีความรู้พื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ หรือไม่มี Internet

Walk-in recruitment ลด ระยะเวลาในการสรรหา กรณีที่ต้องการบุคลลากรอย่างเร่งด่วน และมีการแข่งขันสูงสามารถได้คนมาทำงานอย่างรวดเร็ว เน้นเรื่องการสัมภาษณ์ไม่มีการสอบข้อเขียน วิธีนี้เหมาะสำหรับผู้ที่จบใหม่ - วิธีการสรรหาโดยเปิดบูธ(booth) ตามโรงเรียน หรือสถานที่ที่น่าสนใจ ยื่นประวัติ/ สัมภาษณ์เบื้องต้น/ กรอกใบสมัครเมื่อได้รับคัดเลือกเท่านั้น เช่นตำแหน่ง บุคลากรของกองทัพ ข้อเสีย Walk-in recruitment - ผู้สมัครเข้าถึงได้ง่าย ต้องเตรียมการรองรับกับผู้สมัครจำนวนมาก - ไม่เหมาะกับตำแหน่งที่ต้องการผู้มีประสบการณ์ เพราะต้องวัดในเรื่องทักษะ และความชำนาญ

การคัดเลือก Walk-in recruitment ภาครัฐของไทย - ผู้ที่จบ ป.ตรี เกียรตินิยม ได้รับการยกเว้นไม่ต้องสอบภาคความรู้ความสารถทั่วไป(ภาค ก.)และภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (ภาค ข.) เน้นแต่ในเรื่องการสัมภาษณ์เท่านั้น - ผู้ที่จบ ป.ตรี/โท สอบผ่าน ภาค ก./ข. จะได้รับการขึ้นบัญชีรายชื่อไว้เพื่อรอเรียก

การคัดเลือกระบบเปิด (Open entry) - ไม่จำกัดวุฒิการศึกษา หากมีความสนใจ มีความรู้ ความสามารถในตำแหน่งก็สมัครได้ เช่น บริษัทนิสสัน มอเตอร์ (ญี่ปุ่น) เปิดรับนักศึกษาจบใหม่ สำหรับตำแหน่งนักบริหารและวิศวกร - เปิดโอกาสให้บุคคลภาคเอกชนเข้าทำงานในภาครัฐได้ ข้อเสียคือ วัฒนธรรมที่แตกต่างกัน อาจทำให้เกิดความขัดแย้งภายในองค์การ

การคัดเลือกระบบเปิด (Open entry) ของภาครัฐ (ก.พ.) หมายถึง การสรรหาข้าราชการที่เปิดกว้าง ทั้งจากภายในและภายนอกระบบราชการ ตามความจำเป็นและลักษณะงาน ทั้งในลักษณะการจ้างงานเพื่อเป็นข้าราชการ และในรูปแบบการจ้างงานพิเศษอื่นๆ โดยเน้นการสรรหาจากผู้ที่มีสมรรถนะความสามารถ ผลงาน และความพร้อมของคุณลักษณะเฉพาะบุคคล โดยมีกระบวนการอย่างเป็นระบบและเชื่อมโยงกับการพัฒนาขีดความสามารถให้เกิด ความพร้อมล่วงหน้า

1.แนวคิดพื้นฐานของระบบเปิด - การยึดหลักสมรรถนะ (Competency-based) - การเป็นระบบที่เปิดกว้างทั่วไป 2.สาระสำคัญของระบบการคัดเลือกผู้บังคับบัญชา - ผู้บริหารระดับสูงระดับ 8 /ผู้อำนวยการกอง /ผู้อำนวยการสำนัก รูปแบบ ของระบบเปิด - เปิดกว้างให้บุคคลภายนอกระบบราชการ สามารถเข้าสู่ตำแหน่งได้ - ระบบเปิดทั่วไปในระบบราชการ เปิดโอกาสให้บุคคลที่เป็นราชการก่อน

การคัดเลือกแนวราบ(Lateral entry) - เน้นในเรื่องของทักษะ ความชำนาญงาน และประสบการณ์ของผู้สมัครเป็นหลัก - ประสบการณ์มาก เงินเดือนสูง (มากกว่าตามแนวดิ่ง) ข้อเสีย : เกิดอคติ ต่อต้านและไม่ยอมรับ เกิดความขัดแย้ง เสียขวัญกำลังใจ สำหรับ ประเทศไทย ก.พ.จะใช้คัดเลือกในระดับ 6 ขึ้นไป ในตำแหน่งที่ต้องอาศัยความรู้ความชำนาญเฉพาะด้าน หรือตำแหน่งที่มีการแข่งขันในตลาดแรงงานสูง

การคัดเลือกระบบทางด่วน (Fast Stream) หรือ ระบบข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง (Fast Track) High Performance and Potential System (HiPPS) เป็นระบบที่ออกแบบขึ้นเพื่อให้ข้าราชการผู้มีศักยภาพสูงได้รับการพัฒนาอย่างเป็นระบบ โดยการหล่อหลอมข้าราชการที่มีศักยภาพตั้งแต่แรกบรรจุ ผสมผสานรูปแบบการพัฒนาที่หลากหลาย เพื่อสร้างข้าราชการที่มีคุณภาพให้พร้อมที่จะก้าวสู่การเป็นผู้นำทั้งทางความคิดและการบริหารงานในอนาคต โดยสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเป็นผู้ริเริ่มนำระบบนี้มาทดลองใช้

วัตถุประสงค์ของ Fast Stream - เพื่อดึงดูด รักษา และจูงใจคนเก่ง คนดี มีผลงาน - เพื่อพัฒนาข้าราชการผู้มีศักยภาพสูงอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ - เพื่อเตรียมผู้นำซึ่งมีคุณภาพ มากประสบการณ์ในจำนวนที่เพียงพอสำหรับการเป็นนักบริหารระดับสูง ผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้ทรงคุณวุฒิ

หลักการของ Fast Stream - การสรรหาและการประเมินที่เป็นระบบและเข้มข้น มีการแข่งขันสูง - การแต่งตั้งที่เป็นธรรม ปราศจากการแทรกแซงโดยมิชอบ - การพัฒนาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง - สอดคล้องกับระบบบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐในภาพรวม กลุ่มเป้าหมาย สำเร็จการศึกษาป.ตรีขึ้นไปโดยได้รับทุนจากรัฐบาล เช่น ทุนเล่าเรียน หลวง/ทุน ก.พ. ข้าราชการพลเรือนปัจจุบัน ดำรงตำแหน่งใช้วุฒิระดับปริญญาที่ผ่าน การประเมินและการคัดเลือกตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.พ.กำหนด ข้าราชการใหม่ที่ได้บรรจุและแต่งตั้งจากบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ด้วยวิธี การสอบเข้มข้นพิเศษ และต้องมีคุณสมบัติตามที่ ก.พ.กำหนด

การคัดเลือก - ผู้บังคับบัญชาระดับต้นและผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป (ผอ.หน่วยงาน)พิจารณาเสนอชื่อผู้ที่มีคุณสมบัติตรง โดยความสมัครใจของผู้นั้นด้วย - ผู้มีคุณสมบัติตรง สมัครด้วยตนเอง โดยความเห็นของผู้บังคับบัญชา ระดับผู้อำนวยการ การพ้นจากตำแหน่งผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง - ข้าราชการที่มีผลการประเมินไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก.พ. รวม 4 ครั้ง (4รอบการประเมินใน 2 ปี) อย่างต่อเนื่องให้พ้นจากตำแหน่งผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง และปรับเปลี่ยนไปดำรงตำแหน่งเดิม ทั้งนี้ให้ย้ายข้าราชการที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินติดต่อกัน 2 ครั้งไปอยู่ในตำแหน่งใหม่ภายใต้ผู้บังคับบัญชาใหม่

บทสรุป 1.ระบบ E-Recruitment เป็นการสรรหาบุคลากรที่ทำผ่านสื่ออิเล็คทรอนิกส์ - มีความรวดเร็วในการบริการ (timeliness) - ผู้สมัครสามารถเข้าถึงได้ทุกคน (accessibility) - ให้ข้อแก่ผู้สมัครได้อย่างถูกต้อง (accuracy) - ผู้สมัครใช้บริการได้ง่าย (simplicity) - ใช้บริการเวลาใดก็ได้ (continuity)

ข้อจำกัด : - ความรู้เกี่ยวกับใช้คอมพิวเตอร์ของประชาชนคนไทยยังไม่แพร่หลาย - แหล่งที่สามารถใช้บริการคอมพิวเตอร์ยังไม่กว้างขวาง ไม่ครอบคลุมทั่วพื้นที่ - สร้างความไม่เท่าเทียมกันในการสมัครเข้าทำงานระหว่างเขตเมือง กับเขตห่างไกลความเจริญ

2.ระบบ walk-in recruitment - เน้นการสัมภาษณ์ ไม่มีสอบข้อเขียน - ผู้สมัครที่อยู่ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลมีโอกาสมากกว่า 3.ระบบ lateral entry สรรหาแบบแนวราบ - รัฐได้คนที่มีสมรรถนะตามที่ต้องการ ในช่วงเวลาที่ต้องการ - การสรรหาจากแหล่งภายนอก อาจทำให้คนในองค์การเกิดการต่อต้าน ไม่ยอมรับ เกิดความขัดแย้งภายในองค์การ เสียขวัญกำลังใจ

4. ระบบ Fast Stream และ Special Track - พัฒนานักบริหารระดับสูง ระดับผู้นำ - เปิดโอกาสให้เลื่อนตำแหน่งอย่างรวดเร็ว เพื่อดึงดูด จูงใจ และรักษาคนเก่งคนดีไว้ - ลักษณะงานมีความยาก ท้าทาย เหมาะสำหรับผู้ที่มีศักยภาพสูง โดยมีผลงานเป็นที่ประจักษ์และผ่านการประเมินคัดเลือก