เครือข่ายคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งโดยผ่านสื่อกลาง เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลไฟเบอร์ออพติก, คลื่นไมโครเวฟ,
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบ 3G ( UMTS ) นั้นคือการนำเอาข้อดีของ ระบบ CDMA มาปรับใช้กับ GSM เรียกว่า W-CDMA ซึ่งถูกพัฒนาโดยบริษัท NTT DoCoMo ของญี่ปุ่นสำหรับเมืองไทยนั้น.
เทคโนโลยี 3G คืออะไร 3G คือ โทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่สาม หรือมาตรฐาน IMT-2000 นั้นนิยามสั้นๆ เพื่อให้เข้าใจ ตรงกันว่า “ ต้องมี แพลทฟอร์ม (Platform) สำหรับการหลอมรวมของบริการต่างๆ.
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
ระบบจัดการพนักงาน E-Clocking. E-clocking Application คืออะไร E-clocking ย่อมาจากคำว่า Easy Clocking ก็คือทำงานและ ดูแลข้อมูลการบริหารบันทึกเวลาการทำงานของพนักงานแบบ.
ศูนย์พัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๔ ด้วยระบบ TEPE Online ระดับภาค.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
IP-Addressing and Subneting
IP-Addressing and Subneting
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LANs) Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
มาตรฐาน IEEE มาตรฐาน IEEE
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
“ หนึ่งร้อยสิบห้าปีที่ควรเปลี่ยนแปลง ” จากคณะทำงานฝ่ายสื่อสารฯ สชป
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
ระดับความเสี่ยง (QQR)
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
1.เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater)
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN)
ระบบรักษาความปลอดภัย
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
Chapter 1 ความรู้เบื้องต้นในเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต Edit
เครื่องบันทึกและถอดข้อความ
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
SMS News Distribute Service
กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
สินค้าและบริการ.
รายวิชา การบริหารการศึกษา
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร Part2
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Computer Network เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การออกแบบและวางระบบ WLAN ประวิทย์ พิมพิศาล http://prawitp.reru.ac.th

การออกแบบระบบเครือข่าย WLAN Wi-Fi Standard Compatibility Application Coverage Capacity Security

การออกแบบระบบเครือข่าย WLAN Wi-Fi Standard คือการเรียนรู้มาตรฐานระบบ WLAN เพื่อทราบว่าแต่ละมาตรฐานมีลักษณะเด่นอะไร จะต้องเลือกใช้มาตรฐานไหน เพื่อให้สามารถทำงานร่วมกันได้กับอุปกรณ์ WLAN ทุกตัวที่จะนำมาเชื่อมต่อ ผู้ใช้ตามบ้านต้องการความง่ายในการติดตั้ง สัญญาณแรงพอที่จะกระจายได้ทุกจุด ผู้ใช้ตาม Office ต้องการความเร็วและความปลอดภัย

การออกแบบระบบเครือข่าย WLAN Coverage Area คือพื้นที่ให้บริการเครือข่ายไร้สาย เป็นสิ่งแรกที่ผู้ใช้จะถามว่าพื้นที่ตรงนี้ใช้ Wi-Fi ได้หรือเปล่า ต้องคำนึงถึงเรื่องของจุดอับสัญญาณ

การออกแบบระบบเครือข่าย WLAN Capacity คือความจุของเครือข่าย จะเป็นปัญหาเมื่อมีผู้เชื่อมต่อ WLAN เพิ่มมากขึ้น เพราะความสะดวกทำให้ผู้ใช้ไม่นิยมใช้สายแลนอีกต่อไป ความจุในแต่ละพื้นที่ให้บริการอาจไม่เท่ากัน เมื่อเชื่อมต่อมาก อาจทำให้เกิดปัญหาการหน่วง ช้าของการรับส่งข้อมูลได้

การออกแบบระบบเครือข่าย WLAN Security คือมาตรการด้านความปลอดภัยของการรบส่งข้อมูล เพราะส่งไปตามอากาศทำให้สามารถดักจับได้ง่าย การควบคุมทิศทางการกระจายของคลื่นทำให้เครือข่ายมีความปลอดภัยมากขึ้น ใช้การเข้ารหัส WPA2 เพื่อความปลอดภัย อาจใช้ Radius Server เพื่อพิสูจน์ทราบตัวตน

ช่องความถี่ของระบบ WLAN เลือกใช้ช่องสัญญาณที่ไม่รบกวนกัน (ไม่ใช้ช่องสัญญาณเดียวกันในบริเวณเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน) สัญญาณรับกวนกันเรียกว่า Co-Channel Interference หากเกิด Co-Channel Interference แล้วระบบจะสามารถรับสัญญาณที่แรงกว่าเท่านั้น สัญญาณต่ำกว่าจะหาไม่เจอ หาก Co-Channel Interference มีระดับสัญญาณใกล้เคียงกันมากๆ ระบบจะไม่สามารถรับสัญญาณได้

ช่องความถี่ของระบบ WLAN ข้อสังเกตกรณีที่ใช้ช่องสัญญาณเดียวกัน ในบางครั้งการทดลองใช้ Access Point 2 ตัวที่ใช้ช่องสัญญาณเดียวกัน แต่ก็สามารถใช้งานได้ปกติ อาจใช้งานได้ปกติถ้าหากว่ามีผู้ใช้งาน Access Point น้อย เมื่อมีการชนกันของข้อมูลเกิดขึ้น ระบบ Wireless สามารถกู้ข้อมูลคืนอย่างอัตโนมัติ การกู้คืนข้อมูลอัตโนมัติ คือ FEC (Forward Error Correction) ปัญหาจะเกิดขึ้นเมื่อมีผู้ใช้งาน Access Point มากขึ้น ผู้ใช้งานมาก โอกาสชนกันของข้อมูลกะมีมาก

การบริหารความถี่โดยนำความถี่เดิมมาใช้ซ้ำ ถูกใช้ครั้งแรกกับระบบโทรศัพท์มือถือ (Cellular) มีการจัดรูปแบบโดยไม่ให้เซลล์ข้างกันมีความถี่เดียวกัน ป้องกันการรบกวนกันระหว่างช่องสัญญาณ (Co-Channel Interference) เรียกว่า Cellular เพราะมีลักษณะการจัดวางคล้ายรวงผึ้ง (การกระจายของหกเหลี่ยม แต่การกระจายสัญญาณจริงเป็นทรงกลมและหกเหลี่ยมมีรูปร่างคล้ายวงกลม)

การบริหารความถี่โดยนำความถี่เดิมมาใช้ซ้ำ F1 F1 D F3 F3 F2 F1 F1 F2 F3 F3 F2 F2 F1 F1 F1 F3 F3 F3 F3 F2 F2 F2 F1 F1 F1 F3 F3 F3 F2 F2

การบริหารความถี่โดยนำความถี่เดิมมาใช้ซ้ำ ย่าน 2.4GHz N = 3 1 1 3 3 3 2 2 2 1 1 1 1 3 3 3 3 2 2 2 2 1 1 1 3 3 3 2 2

การบริหารความถี่โดยนำความถี่เดิมมาใช้ซ้ำ ย่าน 5GHz N = 7 2 7 3 2 1 7 3 6 4 1 2 5 6 4 7 3 2 5 1 7 3 2 6 4 1 7 3 5 6 4 1 5 6 4 5

การแบ่งช่องสัญญาณในย่าน 2.4GHz ชุดที่ 5 ชุดที่ 4 ชุดที่ 3 ชุดที่ 2 ชุดที่ 1

การจัดวางความถี่ของย่าน 2.4GHz (Wireless b/g/n/ac) ตึก 3 ชั้น 1 11 6 1 11 6 1 11 6 1 11 6 1 11 6 อัตราลดทอนของพื้นปูนประมาณ -15dB

การแบ่งช่องสัญญาณในย่าน 5GHz มีย่านความถี่ที่ไม่ซ้อนทับกันขนาด 20MHz จำนวน 24 ช่อง (Wireless a/n/ac) มีย่านความถี่ที่ไม่ซ้อนทับกันขนาด 40MHz จำนวน 12 ช่อง (Wireless a/n/ac) มีย่านความถี่ที่ไม่ซ้อนทับกันขนาด 80MHz จำนวน 6 ช่อง (Wireless ac) มีย่านความถี่ที่ไม่ซ้อนทับกันขนาด 160MHz จำนวน 2 ช่อง (Wireless ac) ในการใช้งานจริงไม่สามารถเปิดให้ใช้ได้ครบขึ้นอยู่กับโซนและกฎหมายของแต่ละประเทศ

การแบ่งช่องสัญญาณในย่าน 5GHz FCC (Federal Communications Commission) UNII-1 Lower ย่าน 5.150-5.250 GHz ย่านที่ใช้บริการมากที่สุดในโซนต่างๆทั่วโลก UNII-2 Middle ย่าน 5.250-2.350 GHz ใช้กับ Access Point แบบ Outdoor เท่านั้น UNII-2 Extended ย่าน 5.490-5.710 GHz ใช้กับ Access Point ทั้ง Indoor และ Outdoor UNII-3 Upper ย่าน 5.725-5.825 GHz ใช้สำหรับส่งสัญญาณระยะไกล

การแบ่งช่องสัญญาณในย่าน 5GHz

การใช้ช่องสัญญาณขนาด 20MHz ในย่าน 5GHz การใช้งานระดับ Home Use ทั่วไปจะใช้ย่าน UNII-1 ใช้ช่องสัญญาณ 36, 40, 44, 48 มีจำนวน N= 4 ch36 ch48 ch40 ch44 ch36 ch48 ch40 ch36 ch44 ch48 ch40 ch36 ch44 ch48 ch40 ch44

Channel Bonding การนำเอาช่องสัญญาณ 2 ช่องมารวมกันเรียกว่า Channel Bonding Primary Channel เป็นช่องหลัก สำหรับส่งข้อมูลหลัก Secondary Channel เป็นช่องเสริมเพื่อเพิ่มความเร็ว ถ้าไม่มีการใช้งานช่องรอง ระบบจะพยายามใช้ช่องรองในทันที นำไปใช้กับย่าน 5GHz เท่านั้น

การเปลี่ยนความถี่ใน Linksys WRT610N Wireless-N Gigabit Router Config  http://ui.linksys.com/WRT610N

การเปลี่ยนความถี่ใน Linksys WRT610N Basic Wireless Settings Network Mode Mixed รองรับทุกอุปกรณ์ทั้งเก่าและใหม่ Wireless-A Only รองรับเฉพาะ Wireless-A ที่ความเร็ว 54 Mbps Wireless-N Only รองรับเฉพาะ Wireless-N ที่ความเร็ว 300Mbps Disabled ปิดการทำงานที่ 5GHz

การเปลี่ยนความถี่ใน Linksys WRT610N Basic Wireless Settings Channel Width Auto (20MHz or 40MHz) ระบบจะเลือกขนาดช่องสัญญาณที่เหมาะสมปริมาณความถี่ที่ว่างในย่านนั้น 20MHz Only ใช้ช่องสัญญาณมาตรฐาน มีความเร็ว 150Mbps 40MHz Only นำช่องสัญญาณ 2 ช่องมารวมกัน มีความเร็ว 300 Mbps

การเปลี่ยนความถี่ใน Linksys WRT610N Basic Wireless Settings Wide Channel Auto (DFS) ระบบจะเลือกความถี่แบบอัตโนมัติผ่านวิธี Dynamic Frequency Selection ที่จะเลือกช่องที่ว่าง และไม่มีสัญญาณรบกวนมาใช้ 38 ใช้ช่องสัญญาณที่มีความถี่กลาง 5.190 GHz 40 ใช้ช่องสัญญาณที่มีความถี่กลาง 5.230 GHz 151 ใช้ช่องสัญญาณที่มีความถี่กลาง 5.755 GHz 38 ใช้ช่องสัญญาณที่มีความถี่กลาง 5.790 GHz

การเปลี่ยนความถี่ใน Linksys WRT610N Basic Wireless Settings Standard Channel เลือกช่องสัญญาณที่ใช้เป็น Primary Channel โดยช่องสัญญาณที่เลือกได้นั้นจะขึ้นอยู่กับช่องที่เลือกใน Wide Channel

ความเร็วในการรับส่งข้อมูลกับความแรงของสัญญาณ ความเร็วจะแปรผันตรงกลับความแรงของสัญญาณวิทยุ เป็นการปรับความเร็วในการรับส่งแบบอัตโนมัติ ที่เป็นการตกลงกันระหว่าง Access Point และ WNIC เพื่อเป็นการ Modulate ที่เหมาะสมกับความแรงของสัญญาณ

ความเร็วในการรับส่งข้อมูลกับความแรงของสัญญาณ เป็นกราฟแสดงความเร็วกับระยะทางในสภาพการใช้งานในออฟฟิศ มีลักษณะความสัมพันธ์กันแบบขั้นบันได