Ohmmeter
โอห์มมิเตอร์ (Ohmmeter) จะใช้ขดลวดเคลื่อนที่ D’Arsonval ต่อร่วมกันแหล่งจ่ายแรงดันและความต้านทาน ถ้าป้อนแรงดันคงที่ กระแสที่ไหลผ่านขดลวดเคลื่อนที่ จะมีค่าเป็นส่วนกลับของความต้านทานตัวที่ต้องการทราบค่า สเกลของมิเตอร์ที่อ่านค่ากระแสดังกล่าว จะถูกปรับเทียบให้อ่านออกมาเป็นค่าความต้านทาน
โอห์มมิเตอร์ (Ohmmeter) ความต้านทานที่นำมาต่อกับขดลวดเคลื่อนที่ จะมี 2 ส่วน คือ - ความต้านทานคงที่ - ความต้านทานปรับค่าได้ ใส่ R ที่ต้องการทราบค่า
โครงสร้างของ Ohmmeter
ประเภทของโอห์มมิเตอร์ แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ โอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม 2. โอห์มมิเตอร์แบบขนาน 3. โอห์มมิเตอร์แบบแบ่งแรงดันไฟฟ้า (โอห์มมิเตอร์แบบโพเทนชิโอมิเตอร์)
โอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม R1 ตัวต้านทานจำกัดกระแส E แหล่งจ่ายภายในมิเตอร์ (แบตเตอรี่) Rm ตัวต้านทานขดลวด D’Arsonval Rx ตัวต้านทานที่ต้องการทราบค่า
เปิดวงจรระหว่างขั้ว X – Y (Open Circuit, ความต้านทาน = ) กระแสไหลในวงจร มิเตอร์จะชี้ไปที่ตำแหน่ง R =
ลัดวงจรระหว่างขั้ว X – Y (Short Circuit, ความต้านทาน = 0) กระแสไหลในวงจร มิเตอร์จะชี้ไปที่ตำแหน่ง R = 0
ต่อ Rx ระหว่างขั้ว X – Y (ความต้านทาน = 0 < Rx < ) กระแสไหลในวงจร มิเตอร์จะชี้ไปที่ตำแหน่ง 0<Rx<
ต่อ Rx ระหว่างขั้ว X – Y (ความต้านทาน = 0 < Rx < ) และ จาก สามารถหาอัตราส่วนของกระแส I (Im)ต่อ กระแสเบี่ยงเบนเต็มสเกล Ifs (D) ได้เป็น หาค่า Rx ได้จาก
โอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม ค่า D มีความสำคัญมากในการสร้างค่าความต้านทานลงบนสเกลของโอห์มมิเตอร์ ในการใช้งานปฏิบัติ จะต้องคำนึงถึงผลของแรงเคลื่อนไฟฟ้าเมื่อใช้ไปนานๆ จะมีค่าลดลง ชดเชยโดย การต่อตัวต้านทานเพิ่มขึ้นอีกตัว เพื่อปรับค่าศูนย์หรือปรับเข็มชี้ค่าศูนย์ ถ้าเมื่อใดปรับเข็มให้ชี้ค่าศูนย์ไม่ได้ แสดงว่า ต้องมีการเปลี่ยนแบตเตอรี่
การปรับค่า 0 โดยต่อ R อนุกรม ปรับ Radj ให้น้อยลง แบตฯเริ่มอ่อน E 4 V
ตัวอย่างที่ 10 จากวงจรโอห์มมิเตอร์ดังรูป จงเขียนสเกลเพื่อใช้อ่านค่าความต้านทาน ที่ระดับ 0.25Ifs, 0.5Ifs, 0.75Ifs
กำหนดให้ขนาดความต้านทานปรับค่าได้ เป็น Radj หาขนาด Radj จากกรณี Rx = 0 ( D = 1 , Ifs = 1 mA) จะได้
ที่ I = 0.25 Ifs D = 0.25
ที่ I = 0.5 Ifs D = 0.5 ที่ I = 0.75 Ifs D = 0.75
สเกลของโอห์มมิเตอร์ที่ได้
ตัวอย่างที่ 11 จากวงจรโอห์มมิเตอร์ในรูป ใช้แบตเตอรี่แห้ง 1.5 V (ของใหม่) จงหา 1) ขนาดของ R2 ที่ใช้ในการปรับศูนย์ (เข็มชี้เต็มสเกล) 2) ถ้าค่า Rx = 15 k เข็มจะชี้ไปที่ตำแหน่งใดของมิเตอร์ (D)
1) ขนาดของ R2 ที่ใช้ในการปรับศูนย์ (เข็มชี้เต็มสเกล) ปรับ Rx = 0 I = Ifs = จะได้
2) ถ้าค่า Rx = 15 k เข็มจะชี้ไปที่ตำแหน่งใดของมิเตอร์ (D) เข็มจะชี้ไปที่ตำแหน่งกึ่งกลางของสเกลมิเตอร์
ตัวอย่างที่ 12 จากตัวอย่างที่ 11 ถ้าใช้แบตเตอรี่จนตกลงเหลือ 1.1 V จงหา 1) ขนาดของ R2 ที่ใช้ในการปรับศูนย์ (เข็มชี้เต็มสเกล) 2) ถ้าค่า Rx = 15 k เข็มจะชี้ไปที่ตำแหน่งใดของมิเตอร์ (D) 1.1 V
1) ขนาดของ R2 ที่ใช้ในการปรับศูนย์ (เข็มชี้เต็มสเกล) ปรับ Rx = 0 I = Ifs = จะได้
2) ถ้าค่า Rx = 15 k เข็มจะชี้ไปที่ตำแหน่งใดของมิเตอร์ (D) เกิดความผิดพลาด ถ้าใช้มิเตอร์สเกลเดิม จะอ่านค่าได้
การปรับศูนย์โดยต่อความต้านทานขนานกับขดลวด กรณี กระแสในมิเตอร์
การขยายพิสัย (Range) ของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม สเกลของโอห์มมิเตอร์มีลักษณะไม่เป็นเชิงเส้น ส่งผลให้ที่ค่าความต้านทานมากๆ เข็มจะเบี่ยงเบนน้อย อ่านยาก เกิดความผิดพลาด ต้องปรับให้โอห์มมิเตอร์อ่านค่าได้หลายพิสัย เพื่อให้การวัดละเอียดมากขึ้น
การขยายพิสัย (Range) ของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม สามารถขยายพิสัยโดย เพิ่มค่าความต้านทานที่ต่ออนุกรมกับขดลวดเคลื่อนที่
ตัวอย่างที่ 13 จงปรับพิสัยของโอห์มมิเตอร์ เพื่อให้ค่ากึ่งกลางของสเกลเปลี่ยนจาก 15 เป็น 150 15k 45k 5k
เปลี่ยนพิสัยการวัดให้มากขึ้น โดยการปรับค่า R1 ที่ตำแหน่งกึ่งกลาง D = 0.5
ปรับแล้ว 150k
ตัวอย่างที่ 14 ถ้าต่อตัวต้านทาน 15 โอห์ม เข้ากับตัวต้านทานปรับพิสัย 14 กิโลโอห์ม จงหา ค่าสเกลของมิเตอร์เมื่อเข็มเบี่ยงเบนไปกึ่งกลาง (D = 0.5) R2
R2
ค่าสเกลเมื่อเข็มเบี่ยงเบนไปตำแหน่งกึ่งกลาง D = 0.5
โอห์มมิเตอร์อนุกรมแบบหลายย่านวัด ที่ตำแหน่ง D = 0.5 X 1 X 10 X 100
2. โอห์มมิเตอร์แบบขนาน (Shunt Ohmmeter) เมื่อ R1 ตัวต้านทานจำกัดกระแส E แหล่งจ่ายภายในมิเตอร์ (แบตเตอรี่) Rm ตัวต้านทานขดลวด D’Arsonval Rx ตัวต้านทานที่ต้องการทราบค่า
2. โอห์มมิเตอร์แบบขนาน (Shunt Ohmmeter) ความต้านทานที่ต้องการทราบค่า จะต่อขนานกับขดลวดเคลื่อนที่ กระแสที่ไหลผ่านขดลวดเคลื่อนที่จะเป็นสัดส่วนกับความต้านทานที่ต้องการวัด สิ่งที่แตกต่างจากแบบอนุกรม คือ จะต้องสวิตช์เพื่อตัดแบตเตอรี่ออกจากวงจรเมื่อไม่ได้ใช้งาน !!
ลัดวงจรระหว่างขั้ว X – Y (Short Circuit, ความต้านทาน = 0) กระแสไหลในวงจร มิเตอร์จะชี้ไปที่ตำแหน่ง R = 0
เปิดวงจรระหว่างขั้ว X – Y (Open Circuit, ความต้านทาน = ) กระแสไหลในวงจร มิเตอร์จะชี้ไปที่ตำแหน่ง R =
ต่อ Rx ระหว่างขั้ว X – Y (ความต้านทาน = 0 < Rx < ) กระแสไหลจากแหล่งจ่าย กระแสในขดลวดเคลื่อนที่ (Im)
ต่อ Rx ระหว่างขั้ว X – Y (ความต้านทาน = 0 < Rx < ) กระแสไหลในวงจร มิเตอร์จะชี้ไปที่ตำแหน่ง 0< Rx<
ต่อ Rx ระหว่างขั้ว X – Y (ความต้านทาน = 0 < Rx < ) จาก และ สามารถหาอัตราส่วนของกระแส Im ต่อ กระแสเบี่ยงเบนเต็มสเกล Ifs (D) ได้เป็น
เมื่อ - R ขนาน (R1 // Rm) - อัตราส่วนระหว่างกระแสในขดลวดเคลื่อนที่ ต่อ กระแสเบี่ยงเบนเต็มสเกล หาค่า Rx
ตัวอย่างที่ 15 จงออกแบบโอห์มมิเตอร์แบบขนานดังรูป โดยแบ่งสเกลเป็น 0.25D, 0.5D, 0.75D
หาขนาด R1 จากกรณี Rx = ( D = 1 , Ifs = 100 A) จะได้
ที่ I = 0.25 Ifs D = 0.25 จาก หา Rp ได้จาก จะได้
ที่ I = 0.5 Ifs D = 0.5 ที่ I = 0.75 Ifs D = 0.75
สเกลของโอห์มมิเตอร์ที่ได้
โอห์มมิเตอร์แบบขนานหลายย่านวัด
3. โอห์มมิเตอร์แบบโพเทนชิโอมิเตอร์ 3. โอห์มมิเตอร์แบบโพเทนชิโอมิเตอร์ มีความต้านทานมาตรฐาน (Standard Resistor, Rs) ต่อขนานกับขดลวดเคลื่อนที่และความต้านทานแบบปรับค่าได้ แบ่งกระแส โดยที่ ค่า
ลัดวงจรระหว่างขั้ว X – Y (Short Circuit, ความต้านทาน = 0) วงจรเหมือนกับวงจรโวลต์มิเตอร์ เข็มจะเบี่ยงเบนเต็มสเกล
เปิดวงจรระหว่างขั้ว X – Y (Open Circuit, ความต้านทาน = ) กระแสไหลในวงจร เข็มไม่เบี่ยงเบน มิเตอร์จะชี้ไปที่ตำแหน่ง R =
ต่อ Rx ระหว่างขั้ว X – Y (ความต้านทาน = 0 < Rx < ) กระแสไหลในวงจร จะได้
โอห์มมิเตอร์แบบโพเทนชิโอมิเตอร์แบบหลายย่านวัด
ตัวอย่างที่ 16 จงหาตำแหน่งของเข็มชี้ เมื่อใช้วัดค่า Rx = 24 โดยตั้งย่านวัดที่ R x 1
เมื่อตั้งไปย่าน R x1 จะได้วงจรสมมูลของโอห์มมิเตอร์เป็น
หาค่า Im เมื่อ Rx = 24
จากวงจรแบ่งกระแส จะได้ กึ่งกลางสเกล