Facilitator: Pawin Puapornpong

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศาสตราจารย์แพทย์หญิงสุภรี สุวรรณจูฑะ
Advertisements

พ.อารักษ์ R3 พ.หทัยรัตน์ R2
Interhospital conference 8 กุมภาพันธ์ 2554
PEDIATRIC HEMATOLOGY/ONCOLOGY INTER-HOSPITAL CONFERENCE
Inter-hospital Conference 20 March 2012
Ext. กำพล กองเงินงาม Ext. ชนิกานต์ สิงห์โต Ext. ภาณุรัก เกตุพงษ์
นายแพทย์สมพงษ์ กิตติพิบูลย์
หญิงตั้งครรภ์อายุ 25 ปี Admit 29 มิ.ย. 52
Postpartum Hemorrhage
Facilitator: Pawin Puapornpong
ภาวะตกเลือดทางสูติศาสตร์
Facilitator: Pawin puapornpong
Dead case Ward หญิง.
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin Puapornpong
Case study21 Facilitator: Pawin Puapornpong.
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin puapornpong
Model development of TB active case finding in people with diabetes.
Karoon Ramkaroon, Resident 2 nd year. Patient information  หญิงไทย คู่ อายุ 40 ปี  อาชีพ ค้าขาย  ภูมิลำเนา อ. รัษฎา จ. ตรัง  Chief complaint  แน่นหน้าอก.
Cardiac Center Maharatnakhonratchasima Hospital service plan 2016
Vaginal foreign body removal (Child) Facilitator: Pawin Puapornpong.
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin Puapornpong
Service Plan สาขาสูติกรรม
Case study 48 Facilitator: Pawin Puapornpong.
Facilitator: Pawin Puapornpong
Prolapsed cord.
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin Puapornpong
Clinical Correlation Cardiovascular system
Case study 54 Facilitator: Pawin Puapornpong.
Case 1. Case 1 หญิงตั้งครรภ์ G1P0 GA 36 wk ที่อยู่ 28 หมู่ 2 ต.บางหลวงโดด อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา CC : ญาตินำส่งโรงพยาบาลด้วยไม่รู้สึกตัว 40 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล.
Facilitator: Pawin Puapornpong
Flow chart การบริการคลินิกสุขภาพเด็กดี รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น
Facilitator: Pawin Puapornpong
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย
Facilitator: Pawin Puapornpong
งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลสุรินทร์ Emergency Room Surin Hospital
Case study 52 Facilitator: Pawin Puapornpong.
การอบรมการใช้ยา HAD.
Facilitator: Pawin Puapornpong
How to Analyse Difficult Chest CT
การจัดการการดูแล ทารกแรกเกิดระยะวิกฤติ
Facilitator: Pawin Puapornpong
นายแพทย์พสุวัฒน์ คงศีล คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin Puapornpong
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน
Facilitator: Pawin puapornpong
Risk Management System
คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA
4 เมษายน 2561 โดย นพ.ธานินทร์ โตจีน ประธาน MCH Board เขตสุขภาพที่ 4
Service Plan สาขาแม่และเด็ก
แนวทางการพยาบาลผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมอง
The Child with Renal Dysfunction
Facilitator: Pawin Puapornpong
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2559
Facilitator: Pawin Puapornpong
พญ.มยุรี ไกรศรินท์ สูตินรีแพทย์ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
กายภาพบำบัดใน ผู้ป่วยภาวะวิกฤต รศ.สมชาย รัตนทองคำ
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
อนามัยแม่และเด็กอำเภอ
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
รหัสวิชา NUR 3236 รายวิชา การรักษาโรคเบื้องต้น Primary Medical Care
Blood transfusion reaction
การตรวจร่างกายทั่วไป และการตรวจทางห้องปฏิบัติการในสตรีตั้งครรภ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Facilitator: Pawin Puapornpong Case study 28 Facilitator: Pawin Puapornpong

Case : ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ13ปี G1 P0 A0 GA 38+5 wk Chief complaint : นัดมา induction Present illness : 2 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการ เหนื่อยง่ายขึ้นนอนหนุนหมอน 2 ใบ Functional class change I --> III ต้องหนุนหมอนเพิ่มอีก1ใบ และทำกิจวัตรประจำวันแล้วมีอาการเหนื่อยมากขึ้น ไม่มีอาการเจ็บครรภ์คลอดไม่มีมูกเลือดออกทาง ช่องคลอดไม่มีปัสสาวะแสบขัด ไม่มีน้ำเดิน ลูกดิ้น น้อยลง ทำ NST ได้ผล reactive

Past history : underlying disease : small VSD without pulmonary hypertension (แพทย์นัด F/U ทุกปีไม่พบความผิดปกติเพิ่มเติม) current medication FF(200) 1X1 po hs CaCo3(1,000) 1X1 po pc folic acid(5) 1X1 po pc ทำ tonsillectomy ตอนปี 2555

Past history(cont.) : no food and drug allergy : no smoking : no alcohol drinking : TT vacination เคยฉีดตอนป.6 Obs/Gyn :LMP 26/2/58 EDC 3/12/58 G1 P0 A0 GA 38+5 wk by LMP, first ANC 20 wk at MSMC รวม 13ครั้ง

ANC risks. 1. Teenage pregnancy. 2. Uncertain LMP. 3 ANC risks 1.Teenage pregnancy 2.Uncertain LMP 3.Risk for GDM(มารดาเป็นเบาหวาน) 50g GCT>>no GDM 4.Maternal medical disease : small VSD without pulmonary hypertension น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 57.8 กิโลกรัมน้ำหนักขณะ ตั้งครรภ์ 78.8 กิโลกรัม

Investigation (ภรรยา) Hb 33.3 Hct 11.4 MCV 81.8 DCIP neg Blood group B Rh : positive VDRL : non reactive HIV : negative HBsAg : negative

Ultrasound screening GA 21+5 wks breech presentation, normal male, no interventricular septum defect, anterior placenta, no placenta previa GA 25 wks normal male, plasenta anterior high position, grade I, EFW 789 gm. GA 31 wks cephalic presentation, plasenta anterior position, grade I, EFW 1824 gm. GA 37+5 wks vertex presentation, plasenta anterior position, grade II, EFW 3136 gm.

Physical examination Vital signs : BP : 111/71 mmHg PR : 120 bpm RR : 20 /min BT : 37oC GA : A Thai pregnancy ,not pale, no jaundice HEENT : not pale conjunctivae, anicteric sclerae CVS : pansystolic murmur grade III at LLPSB, regular rhythm, JVP 4 cm above sternal angle, full pulse RS : no adventitious sound, equal breath sound at both lungs

Physical examination Abd : fundal height : 3/4 above umbilical, large part : right Fetal heart rate : 138 bpm, longitudinal lie, vertex presentation No engagement, no uterine contraction PV : os closed, effacement 20% Ext : no pitting edema, capillary refill < 2 seconds Neuro : E4M6V5, grossly intact

Discussion

small VSD without pulmonary hypertension

Physiologic change in pregnancy

Ventricular septal defect ผลต่อมารดา : pulmonary hypertension, heart failure, tachyarrhythmia ผลต่อทารก : preterm labor, low birth weight, hypoxia

ปัจจัยเสี่ยงที่ไม่เหมาะแก่การตั้งครรภ์ เคยมีภาวะดังต่อไปนี้มาก่อน เช่น heart failure, TIA, arrhythmia, stroke NYHA class III, IV Left side obstruction EF น้อยกว่า 40% ซึ่งผู้ป่วยไม่มีภาวะดังกล่าว NYHA class I (ในช่วงก่อนตั้งครรภ์), EF 61% จึงสามารถตั้งครรภ์ได้

ระดับความเสี่ยงต่อการตายของสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโรคหัวใจ Group 1 (0-1 %) ASD VSD PDA Pulmonaric or tricuspid disease TOF,corrected Bioprosthetic valve MS, NYHA class I and II

ระดับความเสี่ยงต่อการตายของสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโรคหัวใจ Group 2 (5-15 %) MS, NYHA class III and IV AS Aortic coarctation without valvular involvement TOF,uncorrected Previous MI MS and AF Artificial valve

ระดับความเสี่ยงต่อการตายของสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโรคหัวใจ Group 3 (25-50 %) Pulmonary hypertension Aortic coarctation with valvular involvement Marfan syndrome with aortic involvement

สำหรับผู้ป่วยรายนี้ คอยติดตามภาวะ Heart failure ระวังปัจจัยกระตุ้นภาวะ Heart failure เช่น ภาวะ infection สามารถทำ vaginal delivery และ induction ได้ หรือทำ C/S ตามข้อบ่งชี้ทางสูติกรรม ควรทำหัตถการช่วยคลอดเพื่อลดระยะ second stage of labor Control pain ให้ดีเพราะกระตุ้น sympathetic

สำหรับผู้ป่วยรายนี้ ระวังภาวะ heart failure ภายหลังการคลอด เนื่องจากการเพิ่ม Cardiac output หลังจากการ คลอด ระวังปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนทาง หัวใจ เช่น PPH, Anemia, Volume over load, infection ไม่มีความจำเป็นที่ต้องให้ antibiotic เพื่อป้องกัน infectious endocarditis เนื่องจากไม่มีข้อบ่งชี้ใน ผู้ป่วยรายนี้ กรณีมี functional class change ต้องแยกกับ ภาวะ physiologic change ในคนตั้งครรภ์ด้วย

Teenage pregnancy

Teenage pregnancy Anemia>> Fe,folate Iodine deficiency CPD Preterm Low birth weight STD Pre-ecclampsia Depression

Management in a patient

Intrapartum care 23/11/58 Admit ward Consult cardio pediatrician plan induction เพื่อดูเรื่อง congenital heart disease (VSD) เนื่องจากผู้ป่วยเป็น teenage pregnancy อายุ 13 ปี จึงconsult pediatrician Consult anesthesiologist stand by เพื่อหากinductionไม่ได้ ต้องการทำผ่าตัด c/s CBC, BUN, Cr, Electrolyte, Coagulogram Chest x ray EKG 12 leads record v/s, i/o regular diet เป็น routine assessment และเพื่อดูbaseline

Intrapartum care 20.30 น. ส่ง induction LR NPO หลังมื้อเช้า 5%DN/2 1000 mL iv rate 120 mL/hr 24/11/58 5%DN/2 1000 mL + Syntocinon 10 U iv rate 10 mL/hr titrate keep UC 5%DN/2 1000 mL iv rate 80 mL/hr Observe FHR&UC เป็นการ management เพื่อ induction โดยใช้ oxytocin

Pre-operation care for c/s 24/11/58 set c/s emergency due to CPD เนื่องจากมารดามีภาวะCPD หรือ failure to progress LRI 1000 mL iv rate 120 mL/hr เพื่อเป็น maintenance ในระหว่างการผ่าตัด retain Foley’s catheter เพื่อ record urine output ในระหว่างการผ่าตัด prep skin abdomen + perineum เพื่อเตรียมสำหรับการผ่าตัดc/s และลดinfection T/S PRC 1 U เพื่อเตรียมไว้ หากมีblood lossมาก สามารถให้เพื่อทดแทนได้

Post-operation care for c/s NPO , 5%DN/2 1000 cc (2ขวด)+ synto 10 unit ในขวดแรก IV drip 100 cc/hr เนื่องจากหลังการผ่าตัดอาจมีเรื่อง bowel ileus ได้ ควรค่อยๆพิจารณา step diet และให้สารน้ำทดแทนจากการเสียเลือด โดยให้ oxytocin เพื่อลดการเกิด postpartum hemorrhage จาก uterine atony Record vital sign q 15 min x 4, 30 min x 2, 1 hr until stable for one day and continue record v/s q 4 hrs ติดตามอาการมารดา และประเมินว่ามี hypotension จาก bleeding หรือยา หรือไม่ Cefazolin 1 gm IV q 6 hrs x III dose แนะนำว่าช่วยลดอัตราการติดเชื้อที่แผลผ่าตัดได้ On pad observe bleeding Record input and output, keep urine output ≥ 25 cc/hr เพื่อป้องกันการเกิด volume overload ที่อาจเกิดขึ้นได้

Management of cardiovascular diseases during pregnancy

Ante-partum care Preconceptual concelling , peripartum risk Multidisciplinary approach Critical period 28-32 wks – hemodinamic changes reach their maximum Reduce emotional stress, hypertension, anemia, hyperthyroidism Class I and II 8-10 hr of sleeping + 30 min naps after eating Activities: housework, shopping, exercise limited

Ante-partum care Class I and II Class II Class III 8-10 hr of sleeping + 30 min naps after eating Activities: housework, shopping, exercise limited Class II Avoid any activities that cause sign of cardiac decompensation Admit to the hospital near term Class III Bed rest at the hospital

Intrapartum care Routine assessment of laboring woman Assessment of cardiac decompensate, consult med ECG, CXR Observe v/s : BP PR oxymetry Labor Induction :5% DN/2 1000 ml + synto 10 unit IV 10 ml/hr titrate until good UC

Intrapartum care ในช่วงเจ็บครรภ์ระหว่างรอคลอด นอนท่า semirecumbent ตรวจ ชีพจร การหายใจทุก 15 นาที(1st stage), 10 min (2nd stage ) วินิจฉัยและรักษาภาวะหัวใจวายทันที ถ้าผู้ป่วยมีอาการหรือ อาการแสดงว่ามี cardiac decompensation เช่น หอบ หายใจเร็ว ไอเป็นเลือด หรือชีพจรเร็วกว่า 100 ครั้งต่อนาที ให้ morphine sulphate ขนาด 2-4 มก. ฉีดเข้าเส้นเลือดดำ ลดอาการ ปวด ความกลัว และการหายใจ หรือสามารถให้ continuous epidural block ก็ได้ O2 supportive furosemide 20-50 mg IV เพื่อขับปัสสาวะลด venous return และ pulmonary congestion

Intrapartum care Vaginal delivery : ใช้หัตถการช่วยคลอด เช่น forcep หรือ เครื่องสุญญากาศ เพื่อ shortening 2nd stage of labor C/S : obstetic indication เช่น CPD , fetal distress, placenta plevia ( risk with dramatic fluid shift , blood loss ,pulmonary congestion) Unnecessary for IE prophylaxis :amoxicillin 2g po 1hr before procedure or ampicillin 2g iv 30 min before procedure (ตาม ACOG 2008 ไม่จำเป็นต้อง ให้ antibiotic)

Pospartum care First 24-48 hours are the most hemodinamically difficult Assessment : v/s, input and output , o2 satuation, lung and heart auscultation, edema, bleeding, uterine contraction, fundal height, pain, PPH ระวังและป้องกัน cardiac decompensation ใช้ oxytocin iv แทน การใช้ methergin เพราะ methergin ทำให้เกิดภาวะ hypertension ได้

Pospartum care Activity rest pattern Elevated the head of bed Breast feeding is not contraindicated contraception: cardiac output stability 1-2 week after