Week 4 โครงการบริษัทจำลองเพื่อการผลิตภาพเคลื่อนไหวและสื่อผสม Animation and Multimedia Project CAG2901
แนวคิดของ CHANGE EF GETTING TO FROM THERE HEAR IF การทำงานยุคใหม่คือ ต้องเปลี่ยนแปลง (Change) ปัจจัยที่ ทำให้การ Change มี 2 ปัจจัยคือ 1) EF (External Factors) คือปัจจัยภายนอกจากการ เปลี่ยนแปลง ของเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง 2) IF (Internal Factors) คือปัจจัยภายในขององค์กร เกิดการเปลี่ยนแปลง ซึ่งปัจจัยทั้ง 2 ประการนี้คือ EF และ IF เป็นเหตุ ทำ ให้ต้องเปลี่ยนแปลงไปสู่ RBM ดังนั้นผู้นำต้องทำการเปลี่ยนให้ เกิด S1+S2 ซึ่ง S1 คือ Success และ S2 คือ Satisfaction หรือการเปลี่ยนที่ทำให้ “งานได้ผล คนพอใจ” ผู้นำจึงต้องเป็น ผู้นำแบบ Dream Leader หรือ ผู้นำแบบ 360 ๐ ทุกคนรอบ ด้านหมายถึง ผู้บังคับบัญชา ลูกน้อง ลูกค้าและเพื่อน พอใจโดยใช้เทคนิค PM (Participative Management)
การเปลี่ยนแปลง การทำงานยุคใหม่ หมายถึง การทำงานยุคใหม่ หมายถึง การทำงานแบบ RBM , proactive และ CEO RBM = Result Base Management หมายถึง การบริหารงาน แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ RBM ต่างกับ PRM ซึ่งเมื่อก่อนการทำงานจะดู ที่ การกระทำ (Process) แต่ปัจจุบันดูที่ผลของงาน (Result) RBM
การเปลี่ยนแปลง PROACTIVE การทำงานในปัจจุบันนี้ต้องเปลี่ยนจาก REACTIVE มา เป็นแบบ PROACTIVE PROACTIVE หมายถึง การทำโดยไม่มีใครสั่ง ตาม ความหมายตามหนังสืออุปนิสัย 7 ประการ (Seven Habits) หรือภาษาทางธุรกิจ เรียกว่า “ Work Smart” REACTIVE PROACTIVE
การเปลี่ยนแปลง การกระจายอำนาจ เพื่อการ วินิจฉัยข้อมูล แล้วนำมา CEO= Chef Exclusive Officer CCO= Chef Change Officers OS= Operation System ลักษณะการทำงานแบบ CEO มี 4 ประการ 1. กระจายอำนาจไปสู่ CCO และ OS 2. รู้จักวินิจฉัยข้อมูล ดูจุดเด่น จุดด้อย 3. กำหนดแนวทางการแก้ไข 4. ดำเนินการอย่างครบวงจรภายในหน่วยงาน ดังนั้นทุกคนต้องทำให้ ถูกต้องบทบาท และหน้าที่ CEO หน้าที่บอก What , Policy CCO หน้าที่บอก How OS หน้าที่บอก Do CCO ควบคุมให้ OS ทำเพื่อให้เกิด Result ในการทำงานเป็นระบบ จะประกอบด้วย 3 ส่วนคือ Input Process Output Feedback หลักการคิด คิดจาก Output การปฏิบัติ เริ่มจาก Input การเปลี่ยนแปลง CEO/ CCO การกระจายอำนาจ เพื่อการ วินิจฉัยข้อมูล แล้วนำมา กำหนดแนวทางดำเนินการ อย่างครบวงจรภายใน หน่วยงาน
แนวคิดเกี่ยวกับ WS 4 3 2 1 แนวคิด WS คือการสอนให้ลูกน้องทำได้ โดย ใช้ MIF พัฒนาลูกน้อง 4 ขั้นตอน คือ 1. จากไม่รู้จัก BSC ต้องทำให้รู้จัก 2. ทำไม่ได้ ฝึกลงมือทำให้ทำได้ 3. ทำไม่สม่ำเสมอ ต้องทำให้สม่ำเสมอ 4. ทำโดยไม่ต้องสั่ง (Self Control) ซึ่งต้องเป็นคนทำงานแบบ Proactive หรือWork Smart
การทำงานแบบ WS WS(TWxPxCF)CQI WS = Work Smart TW = Team Work P = Process CF = Customer Focus CQI = Continuous Quality Improvement การทำงานแบบ Work Smart คือ ต้องทำงานเป็นทีม โดยทีมต้องหาวิธีการใหม่ ๆ และยึดการตอบสนอง ลูกค้าให้ดีขึ้นเรื่อย ๆ ต้องทำอย่างต่อเนื่อง WS(TWxPxCF)CQI
TW Team Work การทำงานเป็นทีมหรือไม่ ให้ดูจาก องค์ประกอบ ซึ่งจะต้องประกอบด้วย M และ P M = Member ต้องมีสมาชิกและ ประกอบด้วย 2 ส่วนคือหัวหน้าทีม (Leader) และ เพื่อนร่วมงาน (Subordinate) P = Participative คือการมีส่วนร่วมของ สมาชิก ซึ่งประกอบด้วย 3 H ’S คือ 1. H= Head คือ ร่วมกันคิด 2. H= Hand คือ ทำตามที่ได้คิด 3. H= Heart คือ ให้กำลังใจเมื่อทำถูก TW = M + P M = L + S P = 3 H’s 1.H 2.H 3.H
TW คือ เมื่อร่วมคิด ร่วมมือ ร่วมใจ แล้วตัดสิน เป็นเอกลักษณ์เป็นความคิดเห็นแบบหนึ่งเดียวที่ ทุกคนพอใจ ACCOUNT ABILITY
หลักการของ INNOVATION หลักการของ Innovation คือ กระบวนการทำงานแบบใหม่ โดยใช้ หลักการของ Innovation คือ “การคิด” โดยนักวิชาการชื่อ B.F Skinner บอกว่า การทำงานต้องมีการคิด และต้องคิดนอก กรอบ การคิดนอกกรอบ คิด อย่างไร Skinner บอกว่า คนเราจะทำงาน ต้องมีองค์ประกอบ 3 ตัว คือ A = Altitude คือ การคิด B= Behavior คือ ลงมือทำ C= Consequence คือ ผลที่เกิดจากการ กระทำ ดังคำกล่าวที่ว่า “ คนเราสามารถเปลี่ยน วิถีชีวิตได้โดยการเปลี่ยนแปลงความคิด” หลักการของ INNOVATION A Man can alter his life by altering his Thinking. B C
INNOVATION จากหลักการของ Innovation บอกว่าต้องคิด นอกกรอบ คือการทำงานต้องเปลี่ยนความคิด ถ้าทำงานแล้วยังคิดแบบเก่า ทำแบบเก่าผล ที่ได้ก็เป็นแบบเก่า ดังนั้น จึงต้องใช้หลัก OD (Organization Development) ถ้าต้องการ พัฒนาองค์กร ก็ต้องเปลี่ยนความคิดเป็น คิด แบบใหม่ ทำแบบใหม่ ผลที่ได้รับก็จะเป็น แบบใหม่ องค์กรจึงจะพัฒนา P Process ทำ-เก่า ทำ-ใหม่ I Input คิด- เก่า คิด - ใหม่ O Output ผล-เก่า ผล-ใหม่
CQI CQI = Continuous Quality Improvement การทำงานแบบ Work Smart จะต้องมีการพัฒนา อย่างต่อเนื่องโดยใช้ ตาราง ด้านซ้ายในการประเมินเพื่อ พัฒนาคุณภาพ มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ แหล่งข้อมูล วิธีรวบรวม ข้อมูล วิธีวิเคราะห์ ข้อมูล เกณฑ์ในการ ประเมิน
แฟ้มคุณภาพงาน เมื่อทำการพัฒนาคุณภาพแล้ว ให้จัดทำแฟ้มคุณภาพงาน
Yes, I can do it เราทำได้ ไม่มีทาง ในการปฏิบัติเมื่อหัวหน้าให้ลูกน้อง เปลี่ยนความคิดโดยใช้ความคิดใหม่ ๆ จะ ประสบปัญหา 2 อย่างคือ 1.พวกที่คิดว่าทำไม่ได้ (Imposible) ถ้า พบปัญหานี้ หัวหน้าต้องบอกให้ฝึกคิด ใหม่โดยให้คิดนอกกรอบ อย่าคิดแบบเดิม 2. พวกเราทำได้ (Confidence) “ yes, I can do it” ใช่เราทำได้ ดังนั้น เมื่อจะทำสิ่งใดคิดไว้เสมอว่า “เรา ทำได้” แล้วค่อยหาวิธีการใหม่ ๆ Yes, I can do it เราทำได้ ไม่มีทาง
CF CF = Customer Focus ในการทำงานแบบ Work Smart ต้องคิดหา วิธีการ แบบใหม่ เพื่อ ตอบสนอง ความต้องการของลูกค้า
CF ลูกค้าเป็นศูนย์กลาง ลูกค้าต้องการอะไร เราจะบริการอย่างไร การทำงานเมื่อยึดลูกค้า เป็นศูนย์กลางโดยคำนึงถึง ความ ต้องการของลูกค้าเพื่อให้ลูกค้าเกิด ความพึงพอใจมากที่สุด ลูกค้าเป็นศูนย์กลาง ลูกค้าต้องการอะไร เราจะบริการอย่างไร
แนวคิดเกี่ยวกับ BSC F NF C I L BSC/KPIs ในการบริหารจัดการและการวัดผลงาน Kaplan&Norton ใช้เครื่องมือทางการบริหารที่เรียกว่า Balance Scorecard ซึ่งการวัดผลงานให้ใช้มุมมอง (Perspective) ทั้งด้านการเงิน (Finance) และที่มิใช่ การเงิน (Non-Finance) ประกอบด้วย 4 มุมมอง 1. มุมมองด้านการเงิน (Finance Perspective) 2. มุมมองด้านลูกค้า (Customer Perspective) 3. มุมมองด้านกระบวนการภายใน (Internal Process Prospective) 4. มุมมองด้านการเรียนรู้ (Learning and Growth Perspective) โดยใช้ KPIs เป็นตัวชี้วัดผลงาน PERSPECTIVE F NF C I L BSC/KPIs
F, C, I, L ดังที่กล่าวมาแล้ว แนวคิดเกี่ยวกับ BSC การวางระบบ Balance Scorecard ให้เริ่มต้นจากทิศทางขององค์กร ตามที่ Kaplan & Norton เสนอไว้ คือ จากวิสัยทัศน์ (Vision) ไปสู่กล ยุทธ์ (Strategy) ไปสู่ BSC (ถ่ายทอดสู่ การปฏิบัติ) ซึ่ง ประกอบด้วย 4 มุมมอง คือ F, C, I, L ดังที่กล่าวมาแล้ว VISION STRATEGY BSC
KEY STRATEGY MAP F C I L แผนที่กลยุทธ์หลัก (Key Strategy Map) ประกอบด้วย 4 ด้าน 1. Finance 2. Customer 3. Internal Process 4. Learning and Growth
STRATEGIC KPIs MAP PI KPI Strategic KPIs Map หมายถึง กลยุทธ์ใน การหาค่า KPI วิธีการ โดยการหาค่าความสำเร็จเป็น KPI หลายตัว เลือกมา 1 ตัว เป็น PI (Performance Indicator) และทำการ คัดเลือกจากค่า PI ที่เหมาะสมที่สุด เป็น ค่า KPI โดยการทำการวัดด้วย ตาราง MT KPI ดูได้จาก Input, Process, Output PI KPI Input process output มี ไม่มี ทำ ไม่ทำ เกิด ไม่เกิด
SYSTEMATIC THINKING Systematic Thinking คือ รูปแบบของการคิด KPI = Key Performance Indicator MT = Measurement Template B = Base line T = Target O/S = Owner Supposer SI = Strategic Initiatives การทำ MT เพื่อดู KPI ว่าดีหรือไม่ (ถ้ามี KPI จำนวน 22 ตัว ก็ต้องทำ MT จำนวน 22 แผ่น) ซึ่งการทำ MT จะประกอบด้วยข้อมูล 15 หัวข้อ ดังนี้ ASSPECT KPI MT B T O/S SI F C I L
Measurement Template ลำดับที่ CI 1.ชื่อตัวชี้วัด 2. ความหมายของตัวชี้วัด 3. วัตถุประสงค์ของตัวชี้วัด 4. สูตรในการคำนวณ (บางกิจการไม่ต้องมีสูตร) 5. หน่วยชี้วัด 6. ความถี่ในการเก็บข้อมูลและรายงาน 7. แหล่งของข้อมูล 8. เครื่องมือที่จัดเก็บ 9. ใครเป็นผู้ตั้งเป้า 10. ใครเป็นเจ้าภาพ 11.ใครเป็นผู้สนับสนุน 12. การติดตามประเมินผล 13. ข้อมูลปีฐาน (Base line) 14. เป้าหมายปีปัจจุบัน (Target) เป้าหมายปีต่อไป 15. SI (Stratigic Initiatives) วิธีการตั้ง SI เมื่อจบ MT ให้เปลี่ยน Base line มาสู่ Target เพื่อตั้งเป็น SI เพื่อนำไปจัดทำเป็นแผนปฏิบัติการ (Action Plan)
BLUEPRINT FOR CHANGE ASSPECT KPI MT B T O/S SI E F C I L พิมพ์เขียวของการเปลี่ยนแปลงที่จะต้องจัดทำขึ้นทุกปีงบประมาณ