วิธีตรวจพาหะสำหรับธาลัสซีเมีย และฮีโมโกลบินผิดปรกติ และข้อจำกัด วิธีตรวจพาหะสำหรับธาลัสซีเมีย และฮีโมโกลบินผิดปรกติ และข้อจำกัด ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิงวรวรรณ ตันไพจิตร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์เสถียร สุขพณิชนันท์ นายแพทย์ชนินทร์ ลิ่มวงศ์
PREVALENCE OF THALASSEMIA HEMOGLOBINOPATHIES IN THAILAND NORTH a-thalassemia 30% a-thal 1 5-12% a-thal 2 19-26% b-thalassemia 9-10% Hb E 8% NORTHEAST a-thalassemia 20% a-thal 1 3% a-thal 2 12% b-thalassemia 6% Hb E 20-60% CENTRAL a-thalassemia 20-25% a-thal 1 3.5% a-thal 2 16% b-thalassemia 3% Hb E 13-19% SOUTH a-thalassemia 16% a-thal 1 2.5% a-thal 2 14% b-thalassemia 2-4% Hb E 9-11%
* Estimated from 1 million births per year. ESTIMATED NUMBER OF ANNUAL BIRTH* AND LIVING PATIENTS WITH MAJOR THALASSEMIC DISEASES * Estimated from 1 million births per year. Estimated life expectancy for 1, 2, 3 are 10, 30 and 60 years respectively.
สรุปข้อมูลเกี่ยวกับธาลัสซีเมียในประเทศไทย ประชากรไทยเป็นพาหะธาลัสซีเมีย / ฮีโมโกลบินผิดปรกติประมาณ ร้อยละ 35 ทุกปีมีทารกเกิดใหม่ประมาณ 1,000,000 ราย หญิง – ชาย ที่เป็นคู่เสี่ยงที่จะมีบุตรเป็นโรคธาลัสซีเมียปีละ 50,000 คู่; ร้อยละ 5 ของการตั้งครรภ์ ทารกแรกเกิด 1,000 ราย เป็นโรคธาลัสซีเมีย 12 ราย เป็นชนิด “ รุนแรง ” 5 ราย
โรคธาลัสซีเมียที่พบบ่อยในประเทศไทย Hb Bart’s hydrops fetalis Homozygous b – thal Hb H disease b – thal / Hb E
SEVERE FORMS OF THALASSEMIA Hb Bart’s Hydrops Fetalis ( a – THAL 1/ a – THAL 1) Homozygous b – thalassemia ( b – THAL / b – THAL ) b-thalassemia / Hb E ( b – THAL / Hb E ) DETECTION OF CARRIERS a – thal 1 trait ( OFT, MCV/MCH ) b – thal trait ( OFT, MCV/MCH ) Hb E trait ( DCIP Test, E screen )
การตรวจพาหะสำหรับธาลัสซีเมีย และฮีโมโกลบินผิดปรกติ ตรวจในคนปรกติ ตรวจเพื่อให้ทราบว่าเป็นพาหะหรือไม่ ชนิดใด เพื่อวางแผนเกี่ยวกับการมีบุตร
ตรวจหาพาหะ โดยวิธีตรวจกรอง และวิธีมาตรฐาน พบว่าเป็นโรค - - - - - - -> แนะนำดูแลรักษา พบว่าให้ผลลบ - - - - - - -> อาจเป็นพาหะชนิดที่สำคัญน้อย ตรวจไม่พบ เช่น a - THAL 2 TRAIT พบว่าเป็นพาหะ - - - - - -> แนะนำ, วางแผน
วิธีตรวจหาพาหะ Screening MCV + DCIP (dichloroindophenol) MCV + E screen OF (osmotic fragility) + DCIP OF + E screen Confirmatory Hb typing
ระบบการตรวจหาพาหะ Prospective testing screening confirmation Retrospective testing Hb typing or DNA testing
One Tube Osmotic Fragility ความเข้มข้นของน้ำเกลือที่ 0.36 % (0.36 % NaCl) rbc คนปรกติจะแตกหมด แต่ rbc ผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมียและ carrier จะยังแตกไม่หมด วิธีการ เลือด 20 ml + 0.36% NaCl 5 ml. กลับหลอดไปมาเบา ๆ ตั้งทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้อง 5 นาที อ่านผล -Negative : สารละลายใสสีแดง(RBC แตกหมด) -Positive : สารละลายขุ่น (ส่วนใหญ่ RBC ไม่แตก)
KKU-DCIP Clear reagent kit
Screening Algorithm OF - MCV >=80 MCH >=27 DCIP - Normal or Non clinically significant thalassemia OF + MCV < 80 MCH <27 DCIP - Possible Alpha thal OR beta thal trait OF + MCV >=80 MCH >=27 DCIP - FALSE + OF OF - MCV <80 MCH <27 DCIP + Hb E trait OF + MCV >=80 MCH >=27 DCIP + Hb E trait OF + MCV <80 MCH <27 DCIP + Hb E homozygote, disease Sensitivity = 92/92 = 100 % Specificity = 191/211 = 90.52 %
การตรวจวินิจฉัยทารกแรกเกิด a – Thalassemia การตรวจพบ Hb Bart’s ใน cord blood b – Thalassemia การตรวจ Hb Typing and DNA
STUDIES ON HB BART’S FROM 406 CORD BLOOD DIAGNOSIS % Hb BART’S Hb Bart’s hydrops fetalis ( - - / - - ) 90 – 100 Hb H with Hb CS ( - - / aCS a ) 30 – 35 Hb H ( - - / - a ) 25 – 30 Hb CS homozygote ( aCS a / aCS a ) 16 – 19 a – thal2 homozygote ( - a / - a ) 6.3 – 7.3 a – thal1 trait ( a a / - - ) 4 - 8 a – thal2 trait ( a a / - a ) 0 – 3.7 Hb CS trait ( a a / aCS a ) 1 - 5 a – thal2 / Hb CS ( - a / aCS a ) 10 - 13 Hb A-E-Bart’s disease ( - - / - a ), bN / bE 20.9
CORD BLOOD Hb Type Normal A F ( F 70 – 80% ) Hb E trait A F A2 ( E ) * b – Thal trait A F bo – Thal / bo – Thal ไม่พบ Hb A ( F ) bo – Thal / Hb E ไม่พบ Hb A ( F E ) Homozygous Hb E ไม่พบ Hb A ( F E )
ผู้ที่มีอายุ 2 ปีขึ้นไป : การตรวจหาพาหะธาลัสซีเมีย ฮีโมโกลบินผิดปรกติ การตรวจกรอง OF ( MCV ) + DCIP ในประชากร หญิงตั้งครรภ์ การตรวจวิธีมาตรฐาน Hb Typing : HPLC, LPLC, Cellulose acetate electrophoresis ( % A2 ) ร่วมกับ MCV เป็นการตรวจเพื่อยืนยัน และทราบชนิด ตรวจในผู้ที่มีอัตราเสี่ยงสูงที่จะเป็นพาหะ
ข้อจำกัด ผู้ที่ขาดธาตุเหล็ก : Hb , MCV , % A2 , % E Alpha – thal2 trait : วินิจฉัยไม่ได้ Hb CS trait : วินิจฉัยได้ไม่ทุกราย