วันวัยหมดระดูโลก 2014 วิธีการป้องกันโรค หลังวัยหมดระดู

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการตรวจสอบ 1. สมุดรายวันเอกสาร แสดงเอกสารที่ผ่านรายการแล้ว
Advertisements

C:\Documents and Settings\This a Book\Desktop\project\Untitled form.mht.
HIVQUAL-T (Thai) Version 5.0 Nov 18, 2008 สุชิน จันทร์วิเมลือง ศูนย์ความร่วมมือด้านสาธารณสุขไทย - สหรัฐ.
2332 % % % % % % % % % จำนว น ร้อย ละ % ≤100 mg/dl mg/ dl
การเปลี่ยนแปลงตามวัย ในผู้สูงอายุ อาจารย์มลฤดี โพธิ์พิจารย์ พย. ม. ( การพยาบาลผู้สูงอายุ ) กลุ่มวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ
ระบบประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ผ่านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ โครงการพัฒนากระบวนการทำงาน (Re- Process) ประเภทความร่วมมือระหว่างสำนัก.
การควบคุมงานก่อสร้าง ( การทดสอบวัสดุ ). หัวข้อการบรรยาย 1. การเจาะสำรวจชั้นดิน 2. การทดสอบแรงดึงของเหล็ก 3. การทดสอบกำลังอัดของคอนกรีต หมายเหตุ : การบรรยายจะอ้างอิงแบบ.
นางสาวสรัญญา ชื่นเย็น (พี่ออย) เจ้าหน้าที่ศูนย์นวัตกรรมการจัดการ อ.ก้องภู นิมานันท์ อาจารย์ที่ปรึกษา 1.น.ส.นพรัตน์ ปฏิกรณ์ (คุ๊กกี้) นายบุรินทร์
หน่วยงาน ( ชื่อหน่วยงาน......) ประเมินผลการดำเนินงานประจำปี 2556.
ความเป็นมาของโครงการ ปัญหานักศึกษาใช้ห้องปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์แล้วไม่ช่วยกันรักษาห้องและ อุปกรณ์ ถือเป็นเรื่องสำคัญของทางภาควิชาที่ ต้องเริ่งดำเนินการ.
Exercise is Medicine: 1.ความเป็นมา
ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive Element)
5. ของแข็ง (Solid) ลักษณะทั่วไปของของแข็ง
อุปกรณ์จับยึด และปะเก็นกันรั่ว
โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis).
ฟิสิกส์ (Physics) By Aueanuch Peankhuntod.
Dementia prevention สิรินทร ฉันศิริกาญจน สาขาวิชาเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ
สถานการณ์วัณโรคในพื้นที่เขตบริการสุขภาพที่ 4
มาตรฐานที่ ๒ การให้บริการวัคซีน
โรคกระดูกพรุน.
การแข่งขันทักษะวิชาชีพครั้งที่ 31
สมดุล Equilibrium นิค วูจิซิค (Nick Vujicic).
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับน้ำยาง และองค์ประกอบต่างๆ ในน้ำยาง
การบริการงานอาชีวเวช ภายนอกโรงพยาบาล
แนวคิดพื้นฐานทางระบาดวิทยา
สถานการณ์ของโรคไข้หวัดใหญ่ในปี ๒๕๕๘
การฝากครรภ์คุณภาพ ตามมาตรฐานองค์การอนามัยโลก 2559
แผนบูรณาการ การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
ขั้นตอนการดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ และการเลื่อนเงินเดือน
แนวทางการป้องกันและรักษาผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม จ.เชียงใหม่
ถ้าคิดว่าคุณแน่ อย่าแพ้เรานะ
ต่อมเอ๊ะ! กับ คำตอบสุดท้าย
สรุปรายงานสถานการณ์วัณโรค จังหวัดปทุมธานี ปี
บทที่ 4 การคัดเลือกโครงการ
กลุ่มงานควบคุมโรค (งานโรคติดต่อ).
สรุปรายงานผลการนิเทศงานระดับจังหวัด รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2561
หลักเกณฑ์ในการตั้งตัวแทน
การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
วัคซีนป้องกันเอชพีวี
การจัดระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ
การขออนุมัติสถานพยาบาล ประเภทคลินิกทันตกรรม
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
“Khemie ... Easy Easy and Child Child.”
สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 5
สถานการณ์วัณโรค นางสาวภัทรา ทองสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมโตโยต้า
แนวทางการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2560
บทที่ 6 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
แนวทางการประเมินผลงานวิชาการ จังหวัดนครศรีธรรมราช
คบสอ.ตะพานหิน.
นโยบายเร่งด่วน ของ ผบ.ตร.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สัญลักษณ์พยากรณ์อากาศ
แนวทางการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข รอบที่ 3 ประจำปี 2561
1.นางสาวธีรารัตน์ พลราชม ผู้อำนวยการโรงพยาบาลกุสุมาลย์
ส่งสัญญาณเตือนระยะต้น
เลขออกซิเดชัน 5. ธาตุออกซิเจนในสารประกอบทั่วไปจะมีเลขออกซิเดชัน -2
Happy work place index & Happy work life index
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
การจ่ายเงิน การรับเงินและการนำเงินส่งคลัง
Law & sexuality กฎหมายกับเพศวิถี
จุดที่ควรปรับปรุง SR 1 และ SR 2.
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Prolonged expression of TrkB at the cell surface induced by neuronal activity depends on the NMDA receptor and CaMKII. Prolonged expression of TrkB at.
การรายงานผลการดำเนินงาน
บทที่ 9 ความสัมพันธ์ระหว่างงานโภชนาการ กับการสาธารณสุข
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดฉะเชิงเทรา
แนวปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ “เงินนอกงบประมาณฝากธนาคารพาณิชย์”
ระบบจับบัตรคิวออนไลน์ Smart Hospital 4.0 โรงพยาบาลชัยนาทนเรนทร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วันวัยหมดระดูโลก 2014 วิธีการป้องกันโรค หลังวัยหมดระดู Prevention of Diseases after Menopause 2014 วันวัยหมดระดูโลก 2014 วิธีการป้องกันโรค หลังวัยหมดระดู

เหตุผลของการป้องกัน ผู้หญิงนับล้านคนทั่วโลกกำลังเข้าสู่วัยหมดระดู Prevention of Diseases after Menopause 2014 เหตุผลของการป้องกัน ผู้หญิงนับล้านคนทั่วโลกกำลังเข้าสู่วัยหมดระดู โรคเรื้อรังจะเริ่มเกิดขึ้นในช่วง10ปี หลังจากเริ่มเข้าสู่วัยหมดระดู ส่งผลต่อการเจ็บป่วย คุณภาพชีวิตแย่ลง การเสียชีวิต และภาระค่ารักษาพยาบาล การตรวจหาปัจจัยเสี่ยงและป้องกันตั้งแต่เริ่มหมดประจำเดือนจึงมีความสำคัญในการ ป้องกันผลเสียที่อาจจะตามมา

โรคเรื้อรังที่เกิดในวัยหลังหมดระดู Prevention of Diseases after Menopause 2014 โรคเรื้อรังที่เกิดในวัยหลังหมดระดู โรคอ้วน โรคระบบการเผาผลาญอาหารและโรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคกระดูกพรุนและข้ออักเสบเรื้อรัง โรคความจำเสื่อม และโรคซึมเศร้า โรคมะเร็ง

โรคอ้วน และเบาหวาน ประมาณ 14% ของประชากรโลกเป็นโรคอ้วน Prevention of Diseases after Menopause 2014 โรคอ้วน และเบาหวาน ประมาณ 14% ของประชากรโลกเป็นโรคอ้วน ภาวะอ้วนลงพุงมีผลต่อภาวะดื้ออินซูลิน และส่งผลให้เป็นโรคเบาหวาน (Cerhan JR 2014) วัยหลังหมดระดู การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายส่งผลให้มีการสะสมของไขมันบริเวณ ส่วนกลางลำตัวเกิดภาวะอ้วนลงพุงเพิ่มมากขึ้น (Abdulnour J 2012) การป้องกันและการรักษาโรคอ้วน เช่น การออกกำลังกาย การควบคุมปริมาณแคลลอรี่ ใน อาหารและแนวทางอื่นๆ เช่น การบำบัดด้วยยาและการผ่าตัดลดความอ้วน อาจเป็น ทางเลือกในการรักษาได้เช่นกัน (Davis SR 2012) การรักษาด้วยฮฮร์โมนทดแทน ช่วยลดภาวะอ้วนลงพุงและภาวะดื้ออินซูลิน รวมทั้ง โรคเบาหวานระยะเริ่มแรก อีกทั้งไม่ทำให้น้ำหนักเพิ่มขึ้น (Sorensen MB 2001, Davis SR 2012, Manson JE 2013)

โรคหัวใจและหลอดเลือด Prevention of Diseases after Menopause 2014 โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดเลือดหัวใจเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตในผู้หญิง อัตราการเกิดของโรคนี้พบในผู้หญิงน้อยกว่าผู้ชาย แต่มีอัตราเพิ่มสูงขึ้นมากในผู้หญิง วัยหลังหมดระดู (Go AS 2014) การตรวจคัดกรองกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือดวัยหลังหมดระดู นับเป็นเรื่องสำคัญ ซึ่งรวมถึงการตรวจวัด ความดันโลหิต ดัชนีมวลกาย (BMI) และการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ เครื่องคำนวณอัตราความเสี่ยงต่อโรคหัวใจมีหลากหลายแบบ ซึ่งความเสี่ยงต่ำ หมายถึง ใน 10 ปี มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคน้อยกว่า 7.5% (AHA 2014)

โรคหัวใจและหลอดเลือด (ต่อ) Prevention of Diseases after Menopause 2014 โรคหัวใจและหลอดเลือด (ต่อ) ปัจจุบันแนวทางการควบคุมอาหารและวิถีทางการปรับเปลี่ยนการดำเนินชีวิต (เลิก บุหรี่ ออกกำลังกาย ฯลฯ) มีการกำหนดขึ้น พบว่าสามารถลดความเสี่ยงของเกิดโรค หลอดเลือดหัวใจใน 10 ปี ได้12-14% (Maruthur NM 2009) การป้องกันการเกิดโรคหัวใจเบื้องต้นโดยการใช้ยาไขมันกลุ่มสแตตินและแอสไพริน ในผู้หญิงจะไม่ได้ผลดีเท่ากับผู้ชาย (Hodis HN 2013) ในผู้หญิงสุขภาพดีที่เริ่มเข้าสู่วัยหมดระดู ข้อมูลจากหลายแห่งแนะนำว่าการให้ ฮอร์โมนเอสโตรเจนสามารถลดการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดและการเสียชีวิตได้ (Lobo RA 2014)

โรคกระดูกพรุนและข้ออักเสบเรื้อรัง Prevention of Diseases after Menopause 2014 โรคกระดูกพรุนและข้ออักเสบเรื้อรัง การเกิดกระดูกหักที่เกี่ยวข้องกับภาวะกระดูกพรุน เกิดขึ้นหนึ่งในสามของผู้หญิงที่ มีอายุ 50ปี ขึ้นไป (Johnell O 2005) เนื่องจากภาวะอายุยืนยาวขึ้น คาดว่าโรคกระดูกพรุนจะเพิ่มขึ้นถึง 240% ในปี ค.ศ.2050 (Gullberg B 1977) ในสหรัฐอเมริกา การเกิดกระดูกหักจากโรคกระดูกพรุนมีค่าใช้จ่ายในการรักษากว่า 19,000 ล้านดอลล่าร์ โดยเกิดขึ้นที่ส่วนกระดูกสะโพก 72% แนวทางในการป้องกัน ได้แก่ การหลีกเลี่ยง บุหรี่/กัญชา เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ใน ปริมาณมาก กลูโคคอร์ติคอยด์ และไทรอยด์ ป้องกันการหกล้ม ควรออกกำลังกาย ชนิดลงน้ำหนักปานกลาง รับประทานแคลเซียมเสริมขนาด 1200 mg และ วิตามิน ดีขนาด 600-800 IU ต่อวัน (IOM 2010)

โรคกระดูกพรุนและข้ออักเสบเรื้อรัง (ต่อ) Prevention of Diseases after Menopause 2014 โรคกระดูกพรุนและข้ออักเสบเรื้อรัง (ต่อ) ควรมีการประเมินความเสี่ยงของการเกิดโรคกระดูกหักจากกระดูกพรุน เช่น FRAX พิจารณาให้การรักษาด้วยยาในรายที่มีความเสี่ยงของกระดูกสะโพกหักใน 10 ปี มีค่าเท่ากับ หรือมากกว่า 5% ยาทางเลือกได้แก่ การรักษาด้วยฮอร์โมนทดแทน (De Villiers TJ 2009;2012); SERMS (Ettinger B 1999; Lindsay R 2009); ไม่มีผลในการป้องกันโดยยากลุ่ม Bisphosphonates Denosumab และยาตัวอื่นๆ โรคข้ออักเสบเรื้อรัง เกิดขึ้นในประชากรเกือบ 60 ล้านคนในสหรัฐอเมริกา รองมาจากโรค หลอดเลือดหัวใจ ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ไม่สามารถทำงานได้เมื่อมีอายุมากกว่า 50ปี และ ปัจจุบันค่าใช้จ่ายในการรักษามากกว่า 1 แสนล้านดอลล่าร์ การตรวจหาโรคเบื้องต้นในวัยหมดระดูนับเป็นสิ่งสำคัญในการดูแลรักษา ร่วมกับการทำ กายภาพบำบัด การลดน้ำหนัก การออกกำลังกาย การใช้ยาลดการอักเสบ (Arthritis Foundation 2014) และการให้ฮอร์โมนเอสโตรเจน (Tanko TB 2007)

โรคความจำเสื่อม สมองเสื่อม และโรคซึมเศร้า Prevention of Diseases after Menopause 2014 โรคความจำเสื่อม สมองเสื่อม และโรคซึมเศร้า ประชากรจำนวน 36 ล้านคนทั่วโลกกำลังประสบปัญหาจากโรคอัลไซเมอร์ และ ความจำเสื่อม และอาจเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าในปี ค.ศ. 2030 (Reitz C 2011) โรคสมองเสื่อมส่วนมากเป็นผลมาจากโรคอัลไซเมอร์ (neuritic plagues, neurofibrillary tangles, β-amyloid deposition) ซึ่งอาจเกิดจากสาเหตุเดียวหรือ อาจร่วมกับสาเหตุอื่น (Schneider JA 2007) การป้องกัน ได้แก่ หาความเสี่ยงซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากทางพันธุกรรม และมีแนวทาง ปฏิบัติได้แก่ 1) การพัฒนาสุขภาพสมอง 2) การเสริมความจำ 3) ลดสาเหตุการเกิด โรคอัลไซเมอร์ (Henderson VW 2014)

โรคความจำเสื่อม สมองเสื่อม และโรคซึมเศร้า (ต่อ) Prevention of Diseases after Menopause 2014 โรคความจำเสื่อม สมองเสื่อม และโรคซึมเศร้า (ต่อ) การพัฒนาสุขภาพสมอง ลดความเสี่ยงการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด และ ปัจจัยเสี่ยงอื่นๆที่เกี่ยวข้อง (Stampfer MJ 2006) การเสริมความจำ กระตุ้นการทำงานของสมองและการเข้าสังคม ลดการเกิดโรคอัลไซเมอร์ การออกกำลังกายแบบแอโรบิค สามารถลดความเสี่ยง ได้ 28%, ลดสาร β-amyloid, เพิ่มเนื้อที่ของ hippocampus และเสริมสารกระตุ้น ของประสาท (Williams JW 2010;Erickson KI 2011;Kobilo T 2011) การให้ ฮอร์โมนทดแทนยังไม่มีผลสรุป โรคซึมเศร้า นับว่ามีอัตราการเกิดสูงมาก (Weissman MM 1996) ซึ่งอาจจะสัมพันธ์ กับความเสี่ยงของโรคอัลไซเมอร์ (Maki PM 2010) และควรได้รับการตรวจค้นหา โดยเร็วที่สุดด้วยกระบวนการที่เหมาะสม

ความเสี่ยงของโรคมะเร็ง Prevention of Diseases after Menopause 2014 ความเสี่ยงของโรคมะเร็ง ในปี ค.ศ. 2012 ประชากรหญิงจำนวน 6.7 ล้านคนทั่วโลกเป็นมะเร็ง และคาดว่าจะ เพิ่มขึ้นอีก (Ferlay J 2013) โรคมะเร็งที่พบมากที่สุด คือ มะเร็งเต้านม (25.2% ของผู้ป่วยมะเร็ง) แต่ที่ทำให้ เสียชีวิตสูงสุด คือ มะเร็งปอด การตรวจคัดกรองหามะเร็งต่างๆ รวมถึงการตรวจสุขภาพ การตรวจพันธุกรรม การ ตรวจทางห้องปฏิบัติการทางเซลล์วิทยา หรือ HPV การถ่ายภาพทางการแพทย์ การ ตรวจหาเลือดในอุจจาระ การตรวจส่องกล้องลำไส้ใหญ่ และวิธีอื่นๆ ที่แตกต่างกันไป ตามภูมิภาคและประเทศ การป้องกันโดยการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต (การเลิกสูบบุหรี่, การลดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ , การควบคุม BMI, การออกกำลังกาย) ได้พิสูจน์ให้เห็นถึงการป้องกันโรคและลดการ เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็ง (Gompel A 2013.) ใน EPIC พบว่าสามารถป้องกันการเกิด โรคมะเร็งทั้งหมดได้12.6% (Romaguera D 2012)

การป้องกัน โดยการใช้ MHT Prevention of Diseases after Menopause 2014 การป้องกัน โดยการใช้ MHT ในผู้หญิงที่ใกล้เข้าสู่วัยหมดระดู มีข้อมูลจากการศึกษาวิจัย RCTs และการวิเคราะห์ เชิงลึก แสดงให้เห็นว่า การรักษาด้วยฮอร์โมนเอสโตรเจน สามารถลดอัตราความเสี่ยง ของโรคหลอดเลือดหัวใจและการเสียชีวิตได้เมื่อเทียบกับความเสี่ยงที่ต่ำจากการให้ (De Villiers TJ 2013; Lobo RA 2014.) การใช้ฮอร์โมนโปเจสเตอโรนร่วมด้วยยังไม่มี ข้อมูลที่แน่ชัด ในขณะที่ปัจจัยหลักคือผู้ป่วยแต่ละรายแตกต่างกัน ดังนั้นการรักษาด้วย MHT โดย ฮอร์โมนเอสโตรเจน อาจถูกพิจารณาให้เป็นส่วนหนึ่งในแนวทางการป้องกันโรคแก่ ผู้หญิงที่ใกล้เข้าสู่วัยหมดระดู

Prevention of Diseases after Menopause 2014 สรุป การประเมินความเสี่ยงในการเกิดโรคเป็นสิ่งสำคัญเมื่อย่างเข้าสู่วัยหมดระดู โดยเฉพาะในช่วง 10 ปีแรก ซึ่งเป็นโอกาสสำคัญในการค้นหาและดูแลรักษาโรคแต่ เนิ่นๆ การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต ซึ่งรวมไปถึงการออกกำลังกาย การควบคุมน้ำหนัก กิจกรรม เสริมสร้างการพัฒนาสมอง การตรวจคัดกรองโรคมะเร็ง และการพิจารณาการรักษา ด้วยฮอร์โมนทดแทนที่กล่าวมาล้วนเป็นทุกส่วนของวิธีการป้องกันและรักษา