.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ระบบการบำรุงรักษาในโรงงานอุตสาหกรรม รหัสวิชาIEM3105 Industrial Maintenance System อาจารย์ผู้สอน อ.สมศักดิ์ มีนคร Mobile: 089-8150933 .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University .: บทที่ 4 ภาพรวมของ TPM บทบาทสำคัญของ TPM เกิดโครงสร้างการบริหารการบำรุงรักษา เกิดระบบการดูแลรักษาเครื่องจักร เพิ่มเทคโนโลยีด้านเครื่องจักร เพิ่มประสิทธิภาพการบำรุงรักษา .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
การแพร่หลายของกิจกรรม TPM .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University การแพร่หลายของกิจกรรม TPM เริ่มจากอุตสาหกรรมยานยนต์ ฝ่ายผลิต ผู้เกี่ยวของกับเครื่องจักร ฝ่ายพัฒนาผลิตภัณฑ์ ฝ่ายขาย ฝ่ายบริหาร .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
การแพร่หลายของกิจกรรม TPM .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University การแพร่หลายของกิจกรรม TPM ฝ่ายบริหาร วางแผน การเงิน บุคคล ธุรการ ฝ่ายผลิต พัฒนา การขาย โรงงาน A โรงงาน B โรงงาน C .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University เหตุที่ให้ความสำคัญกิจกรรม TPM อย่างแพร่หลาย 1. ได้ผลลัพธ์ในเชิงรูปธรรมเพิ่มมากขึ้น 2. เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อมของโรงงาน 3. เกิดการเปลี่ยนแปลงของพนักงานในโรงงาน .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University เหตุที่ให้ความสำคัญกิจกรรม TPM อย่างแพร่หลาย 1. ได้ผลลัพธ์ในเชิงรูปธรรมมาก ประสิทธิภาพการผลิตที่เพิ่มมูลค่า อัตราของการผลิตเสียลดลง ต้นทุนการผลิตลดลง วัสดุคงคลังลดลง อุบัติภัยและมลภาวะเป็นศูนย์ ข้อเสนอแนะหรือการปรับปรุงเพิ่มขึ้น .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University เหตุที่ให้ความสำคัญกิจกรรม TPM อย่างแพร่หลาย 2. เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อมของโรงงาน สร้างทัศนคติที่ดี สร้างความมั่นใจที่จะทำ สร้างหน่วยงานให้สะอาดสดใส สร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อบริษัท .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University เหตุที่ให้ความสำคัญกิจกรรม TPM อย่างแพร่หลาย 3. เกิดการเปลี่ยนแปลงของพนักงานในโรงงาน เกิดความกระตือรือร้นในการทำงาน ตระหนักว่า TPM คือส่วนหนึ่งของงาน รู้เข้าใจ ค้นพบสิ่งต่างในเครื่องจักรของตนเพิ่มมากขึ้น เกิดความรักรับผิดชอบต่อเครื่องจักรของตน .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University รางวัล PM excellence award กับกิจกรรม TPM รางวัล PM excellence award ได้กำหนดขึ้นในปี ค.ศ. 1964 ในปี ค.ศ. 1970 มีการมอบรางวัลให้กับบริษัทที่สามารถเพิ่มผลลัพธ์ดีเลิศ และ ปี ค.ศ. 1971 มอบรางวัลให้กับบริษัทที่สามารถเพิ่มผลประกอบการที่ดีเลิศ บริษัทที่ได้รับรางวัลดังกล่าวนี้ เป็นสิ่งที่ยืนยันให้ทราบว่า เป็นบริษัทที่ดีเลิศจริง ๆ .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
อุตสาหกรรมกระบวนการ กับกิจกรรม TPM .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University อุตสาหกรรมกระบวนการ กับกิจกรรม TPM 1. รูปแบบการผลิตที่หลากหลาย 2. ประเภทของเครื่องจักรมีหลากหลาย 3. การควบคุมด้วยระบบศูนย์รวม 4. ขอบเขตการควบคุมดูแลของพนักงาน 5. ปัญหาที่เกิดขึ้นกับเครื่องจักรมีหลายรูปแบบ .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University อุตสาหกรรมกระบวนการ กับกิจกรรม TPM (ต่อ) 6. การใช้พลังงานสูง 7. เครื่องจักรสำรอง และระบบ Bypass 8. ความเสี่ยงในการเกิดอุบัติภัยและมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม 9. สภาวะแวดล้อมในการปฏิบัติงานไม่ดี 10. มีการซ่อมแซมเป็นระยะ ๆ ตามกำหนดเวลา .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
กิจกรรม TPM ของฝ่ายผลิต คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University คำจำกัดความของกิจกรรม TPM กิจกรรม TPM ของฝ่ายผลิต 1. เป็นกิจกรรมที่ตั้งเป้าหมายที่จะทำให้ประสิทธิภาพของเครื่องจักรมีค่าสูงที่สุด 2. มีการสร้างระบบโดยรวมของ PM ตลอดช่วงอายุการใช้งานของเครื่องจักร 3. มีการดำเนินกิจกรรมทั่วทุกฝ่าย 4. พนักงานทุกๆ คน เข้าร่วมกิจกรรม 5. มีการส่งเสริมกิจกรรม PM โดยอาศัยกิจกรรมกลุ่มย่อย .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
กิจกรรม TPM ของทั่วทั้งบริษัท คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University คำจำกัดความของกิจกรรม TPM กิจกรรม TPM ของทั่วทั้งบริษัท 1. เป็นกิจกรรมที่ตั้งเป้าหมายเพื่อสร้างประสิทธิภาพระบบการผลิตที่สูงที่สุด 2. สร้างระบบเชิงป้องกันกับการเกิดความสูญเสียทั้งหมดล่วงหน้า 3. กิจกรรมเริ่มที่ฝ่ายผลิต และขยายวงกว้างสู่ฝ่ายทุก ๆ ฝ่าย 4. พนักงานทุก ๆ คน เข้าร่วมกิจกรรม 5. สามารถบรรลุความสูญเสียเป็นศูนย์ได้ โดยกิจกรรมกลุ่มย่อยที่ซับซ้อนกัน .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
แนวคิดการควบคุมดูแลเครื่องจักร .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University แนวคิดการควบคุมดูแลเครื่องจักร 2 1 4 3 5 .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University โครงสร้างการบริหารกลุ่มย่อยแบบซับซ้อนกัน ประธานบริษัท การประชุมส่งเสริมกิจกรรม TPM ทั่วทั้งบริษัท ผู้จัดการโรงงาน การประชุมส่งเสริมกิจกรรม TPM ระดับโรงงาน ผู้จัดการฝ่าย การประชุมส่งเสริมกิจกรรม TPM ระดับฝ่าย ผู้จัดการแผนก การประชุมส่งเสริมกิจกรรม TPM ระดับแผนก หัวหน้ากลุ่ม กลุ่มย่อยในที่ทำงาน (PM) พนักงานทั่วไป .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
ขั้นตอนของการดำเนินกิจกรรม TPM .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ขั้นตอนของการดำเนินกิจกรรม TPM 1. การประกาศเจตนารมณ์ในการนำกิจกรรม TPM 2. อบรมการนำกิจกรรม TPM มาดำเนินการในบริษัท 3. จัดตั้งโครงสร้างการบริหารผลักดันกิจกรรม TPM 4. กำหนดนโยบายพื้นฐานและเป้าหมายของ TPM .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ขั้นตอนของการดำเนินกิจกรรม TPM (ต่อ) 5. การจัดทำแผนแม่บทในการดำเนินกิจกรรม TPM 6. การ kick - off กิจกรรม TPM 7. สร้างระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 8. สร้างระบบควบคุมดูแลขั้นต้น สำหรับผลิตภัณฑ์หรือเครื่องจักรใหม่ .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ขั้นตอนของการดำเนินกิจกรรม TPM (ต่อ) 9. สร้างระบบบำรุงรักษาคุณภาพ 10. สร้างระบบเพื่อประสิทธิภาพงานที่ไม่เกี่ยวกับการผลิตโดยตรง 11. สร้างระบบ SHE 12. ดำเนิน TPM ให้สมบูรณ์และยกระดับกิจกรรม TPM .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University การกำหนดนโยบายและเป้าหมายของกิจกรรม หัวข้อ เป้าหมายเดือนธันวาคม 2547 เทียบกับ กุมภาพันธ์ 2547 จำนวนการชำรุดเสียหาย ต่ำกว่า 1/100 จำนวนการหยุดชะงักงัน ต่ำกว่า 1/20 อัตราการสูญเสียค่าใช้จ่ายสำหรับวัตถุดิบ ต่ำกว่า 1/3 ต้นทุนรวม ต่ำกว่า 60% จำนวนอุบัติเหตุที่ต้องหยุดงาน นโยบาย ปี พ.ศ. 2547 1. ทำให้เกิดศักยภาพที่จะทำให้ได้กำไร 2. ส่งเสริมกิจกรรมที่สามารถลดต้นทุนลงครึ่งหนึ่ง 3. ส่งเสริมกิจกรรม TPM .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
8 เสาหลักของกิจกรรม TPM .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 8 เสาหลักของกิจกรรม TPM เสาที่ 1 การปรับปรุงเฉพาะเรื่อง Breakdown Losses Setup add Adjustment Losses Idling and Minor Stoppage Losses Reduced Speed Losses Quality Defects and Rework Losses Startup Losses .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
8 เสาหลักของกิจกรรม TPM .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 8 เสาหลักของกิจกรรม TPM เสาที่ 2 การบำรุงรักษาด้วยตนเอง พิจารณาระดับความสำคัญของเครื่องจักร พิจารณาลำดับความสำคัญของการดำเนินการ พิจารณาการหมุนเวียนของพนักงาน พิจารณาการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ พิจารณาผลลัพธ์ของการดำเนินงาน .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
8 เสาหลักของกิจกรรม TPM .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 8 เสาหลักของกิจกรรม TPM เสาที่ 3 การบำรุงรักษาเชิงวางแผน กำหนดระยะเวลาของการดำเนินงาน เขียน work breakdown structure คาดคะเนระยะเวลาและปริมาณงานที่ถูกต้อง เปลี่ยนแปลงกฎประเภทและสภาพของเครื่องจักร .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
8 เสาหลักของกิจกรรม TPM .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 8 เสาหลักของกิจกรรม TPM เสาที่ 4 การฝึกอบรม กำหนดหลักสูตรด้านต่าง ๆ ดำเนินการฝึกอบรมให้สอดคล้องกับระดับพนักงาน พิจารณาผลลัพธ์จากการฝึกอบรม วางแผนการฝึกอบรมในรอบต่อไป .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
8 เสาหลักของกิจกรรม TPM .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 8 เสาหลักของกิจกรรม TPM เสาที่ 5 การควบคุมดูแลขั้นตอน วางแผนการลงทุนเครื่องจักร การออกแบบกระบวนการ การออกแบบเครื่องจักร การสร้างเครื่องจักร ทดลองเดินเครื่องจักร ควบคุมดูแลการผลิต .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
8 เสาหลักของกิจกรรม TPM .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 8 เสาหลักของกิจกรรม TPM เสาที่ 6 การบำรุงรักษาคุณภาพ ควบคุมสภาวะเงื่อนไขที่พอดีของกระบวนการและเครื่องจักร man machine material method .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
8 เสาหลักของกิจกรรม TPM .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 8 เสาหลักของกิจกรรม TPM เสาที่ 7 กิจกรรมฝ่ายบริหารที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรง สำรวจและปรับปรุงสภาพของสำนักงาน ปรับปรุงปัญหา และหามาตรการแก้ไข ทำเกณฑ์มาตรฐานของสำนักงานและมาตรฐานการปฏิบัติงาน การตรวจเช็คโดยรวม ดำเนินการตรวจประเมินเป็นระยะ .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
8 เสาหลักของกิจกรรม TPM .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 8 เสาหลักของกิจกรรม TPM เสาที่ 8 การบริหารความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม การค้นหาตำแหน่งที่ไม่มีความปลอดภัย มาตรการแก้ไขตำแหน่งที่ก่อให้เกิดความปลอดภัย การทบทวนเกณฑ์มาตรฐานด้านความปลอดภัย .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::