การกำหนดสัดส่วนการจองและการจองเกิน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
KHONKAEN FISHING NET FACTORY
Advertisements

รายละเอียดใหม่บนหน้า Seller Center Homepage March 26th, 2016.
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ Input&Output เสนอ อ. อภิเดช จิตมุ่ง โดย นาย ภคินนัย ชมภูนุช ม.4/1 เลขที่ 8 นางสาว ฟ้ารุ่ง วะสาร ม.4/1 เลขที่ 27 นางสาว รัฐภัทร บุญทัน.
ทำอย่างไรสู่ความสำเร็จใน งานศูนย์ความเป็นเลิศ ประเด็น “ การบริหารจัดการ โครงสร้าง ” ดร. พนิตนาฎ ชำนาญเสือ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
Applications of RM Ski Slopes Pocket Wifi REVENUE MANAGEMENT.
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
แผนปฏิบัติการยึดคืน พัฒนา และจัดสรรพื้นที่
มาตรฐานงานสุขศึกษา &โปรแกรมประเมิน.
บทที่ 7 ราคา Price.
Chapter 8 Classification อาจารย์อนุพงศ์ สุขประเสริฐ
พลังวัชร์ แพ่งธีระสุขมัย คณะวิศวกรรมศาสตร์
เภสัชกรหญิงหทัยรัตน์ โคตรสมพงษ์ ภบ., วท.ม. (เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร)
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
ที่รองแขนฟองน้ำ หลักการและเหตุผล : เนื่องจากห้องผ่าตัดมีอุณหภูมิเย็น ผู้ป่วยที่มาผ่าตัดส่วนมากเวลาทำผ่าตัดจะจัด ท่านอนหงายราบ วัตถุประสงค์ : :
13 October 2007
การรายงานแผนและผลการปฏิบัติงานผ่านระบบสารสนเทศ CAD_CA
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
Teaching Learning Community. Teaching Learning Community.
PLC : การพัฒนาคุณภาพงานวิชาการ
Case Study : 12 จัดซื้อเครื่องฉายโปรเจคเตอร์เกินราคามาตรฐานครุภัณฑ์ จัดซื้อเครื่องฉายโปรเจคเตอร์ ความสว่าง 3,500 ANSI Lumens พร้อมติดตั้ง จำนวน 1 ชุด.
บทที่ 2 อุปสงค์และอุปทานการท่องเที่ยว
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
การประเมินความสามารถด้านการอ่าน
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการฝึกอบรมครู
การติดตามและการประเมินผลโครงการ
รหัส รายวิชาหนึ่งหลักสูตรหนึ่งชุมชน
สิทธิประโยชน์การเป็นสมาชิกกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
พญ.ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์
นโยบายการบริหาร นักเรียน นักศึกษา มีวินัยและจรรยาบรรณ
โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0405
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์สากล
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม.
โดยคุณอัมพวัน คุลภ์อนันต์
การกำจัดขยะและสารเคมี
Two-phase Method (เทคนิค 2 ระยะ)
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
10 สถานที่ท่องเที่ยว ขอแนะนำ.
โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา THM 3307 การจัดการงานฝ่ายห้องพัก
พลวัตความเหลื่อมล้ำเชิงพื้นที่ :
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
โครงการปรับระบบการเลี้ยงสุกรเพื่อป้องกันโรคและประเมินสถานภาพโรค PRRS ของกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยปี 2559.
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ศูนย์ช่วยเหลือ SMEs (SME Rescue Center)
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
หอผู้ป่วยศัลยกรรมระบบปัสสาวะ โรงพยาบาลราชบุรี
จัดสวัสดิการผู้สูงอายุตามวิถีแว้ง
การนำเสนอผลงานการวิจัยครั้งที่ ๘
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
การเตรียมความพร้อมในวันสิ้นปีงบประมาณ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยการสอนซ่อมเสริมร่วมกับ
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
PBL 4C Problem-Based Learning
Credit Management ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
การประชุมคณะทำงานการจัดการพลังงาน อาคาร บก. ทท
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การกำหนดสัดส่วนการจองและการจองเกิน กรณีศึกษาการจองห้องพักสำหรับโรงแรม Room allotment and overbooking : Case study for hotel

วัตถุประสงค์และขอบเขตของการศึกษา วัตถุประสงค์ของการศึกษา ทำการศึกษาและกำหนดสัดส่วนในการจองห้องพักของโรงแรมที่เหมาะสมสำหรับลูกค้าแต่ละกลุ่มที่มีความต้องการและระดับราคาที่แตกต่างกัน เพื่อให้ได้ค่าคาดหมายกำไรสูงสุด ทำการศึกษาและกำหนดระดับการจองเกินที่โรงแรมควรเปิดให้มีการจองเกิน ให้มีความเหมาะสม ขอบเขตของการศึกษา ศึกษาระดับการกำหนดสัดส่วนจำนวนการให้จองห้องพักแบบมาตรฐารสำหรับลูกค้าแต่ละกลุ่มของโรงแรมที่เป็นกรณีศึกษา ศึกษาข้อมูลการเข้าจองห้องพักของลูกค้าแต่ละกลุ่มของโรงแรมที่เป็นกรณีศึกษา โดยใช้ข้อมูล ปี พ.ศ 2556 – พ.ศ. 2557 ศึกษาและเปรียบเทียบผลลัพธ์ของปี พ.ศ.2558 ของการกำหนดสัดส่วนจำนวนการให้จองห้องพักแบบเดิมกับสัดส่วนจำนวนที่ได้จากการค้นคว้าเพื่อปรับปรุง

การกำหนดสัดส่วนการจอง ความน่าจะเป็นที่จะเข้าใช้และไม่เข้าใช้บริการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง การจัดการรายได้ การกำหนดสัดส่วนการจอง Protection level Binomial model Booking limit การจองเกิน ความน่าจะเป็นที่จะเข้าใช้และไม่เข้าใช้บริการ

วิธีการดำเนินการวิจัย 1 ศึกษาข้อมูลกลุ่มลูกค้าปัจจุบันของปี พ.ศ. 2556 – พ.ศ. 2557 ระดับราคา / ความต้องการ / การรับจอง / ต้นทุน 2 กำหนดสัดส่วนการจองระหว่างลูกค้ากลุ่มที่ 3 กับกลุ่มที่ 2 และ กลุ่มที่ 1 ความต้องการในการเข้าพักของลูกค้า กำหนดจำนวนห้องที่ควรกันไว้สำหรับลูกค้ากลุ่มที่ 2 และ 1 กำหนดจำนวนห้องที่ยินยอมให้ลูกค้ากลุ่มที่ 3 จองได้ 3 กำหนดสัดส่วนการจองระหว่างลูกค้ากลุ่มที่ 2 กับกลุ่มที่ 1 กำหนดจำนวนที่ควรกันไว้สำหรับลูกค้ากลุ่มที่ 1 กำหนดจำนวนที่ยินยอมให้ลูกค้ากลุ่มที่ 2 จองได้

วิธีการดำเนินการวิจัย 4 หาจำนวนห้องที่เปิดให้มีการจองเกินสำหรับลูกค้ากลุ่มที่ 3 นำจำนวนห้องที่ยอมให้จองได้สำหรับลูกค้ากลุ่มที่ 3 จากหัวข้อที่ 2 มากำหนดเป็นจำนวนห้องสูงสุดเพื่อหาจำนวนห้องที่ควรเปิดให้จองเกิน ปรับสัดส่วนใหม่สำหรับลูกค้ากลุ่มที่ 3 5 เปรียบเทียบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับข้อมูลการจองจริงในปี พ.ศ. 2558 6 ปรับนโยบายการจองรอบที่ 2 รวมสัดส่วนการจองระหว่างลูกค้ากลุ่มที่ 2 และกลุ่มที่ 1 เปรียบเทียบผลลัพธ์การปรับนโยบายรอบที่ 2 เปรียบเทียบกับข้อมูลการจองจริงในปี พ.ศ. 2558 เปรียบเทียบกับการปรับนโยบายในรอบแรก

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา Superior room 33 ห้อง Standard room 110 ห้อง Deluxe room 10 ห้อง

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ลูกค้ากลุ่มที่ 3 ตัวแทนแบบมีสัดส่วนการจอง ลูกค้ากลุ่มที่ 2 ตัวแทนแบบไม่มีสัดส่วนการจอง ลูกค้ากลุ่มที่ 1 ตัวแทนผ่านเว็บไซต์

วิธีการดำเนินการวิจัย ราคาขายและต้นทุน กลุ่มลูกค้า เดือน พ.ย. – ม.ค. ก.พ. – เม.ย. พ.ค. – ต.ค. ตัวแทนแบบมีสัดส่วน 6,930 บาท 6,930 บาท 3,960 บาท ตัวแทนแบบไม่มีสัดส่วน 8,775 บาท 7,276 บาท 4,158 บาท ตัวแทนผ่านเว็บไซต์ 10,160 บาท 8,660 บาท 4,550 บาท ฤดูกาลท่องเที่ยง พ.ย. – ม.ค. ก.พ. – เม.ย. พ.ค. – ต.ค. ต้นทุนค่าเสียโอกาส 7,437.9 7,137.9 4039.2 1 ศึกษาข้อมูลกลุ่มลูกค้าปัจจุบัน ระดับราคา / ความต้องการ / การรับจอง / ต้นทุน ต้นทุนการชดเชยลูกค้าประมาณ 5,000 บาท

วิธีการดำเนินการวิจัย กลุ่มลูกค้า ฤดูกาล พ.ย. – ม.ค. ก.พ. – เม.ย. พ.ค. – ต.ค. ตัวแทนแบบมีสัดส่วน 173 201 ตัวแทนแบบไม่มีสัดส่วน ตัวแทนผ่านเว็บไซต์ จำนวนห้องที่มีไว้บริการ 110 จำนวนที่เปิดให้จองเกิน 63 91 1 ศึกษาข้อมูลกลุ่มลูกค้าปัจจุบัน ระดับราคา / ความต้องการ / การรับจอง

วิธีการดำเนินการวิจัย ปี จำนวนห้องเฉลี่ยที่จองต่อวัน มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม ปี 2556 11 3 13 10 4 2 17 24 ปี 2557 12 9 7 19 16 18 14 1 ปี จำนวนห้องเฉลี่ยที่จองต่อวัน มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม ปี 2556 17 24 26 25 15 23 27 42 29 ปี 2557 19 13 18 39 34 47 31 20 2 ปี จำนวนห้องเฉลี่ยที่จองต่อวัน มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม ปี 2556 86 120 96 42 51 22 40 33 28 54 46 50 ปี 2557 85 97 104 58 20 14 35 26 38 94 78 3 1 ศึกษาข้อมูลกลุ่มลูกค้าปัจจุบัน ระดับราคา / ความต้องการ / การรับจอง

วิธีการดำเนินการวิจัย เดือน ความต้องการจองเฉลี่ยรวมต่อวัน มกราคม 35 กุมภาพันธ์ 28 มีนาคม 29 เมษายน 37 พฤษภาคม 18 มิถุนายน กรกฎาคม 32 สิงหาคม กันยายน ตุลาคม 52 พฤศจิกายน 41 ธันวาคม 1 2 1 ศึกษาข้อมูลกลุ่มลูกค้าปัจจุบัน ระดับราคา / ความต้องการ / การรับจอง

วิธีการดำเนินการวิจัย เดือน จำนวนห้องที่เกิน ค่าใช้จ่ายการชดเชย ลูกค้า (บาท) มกราคม 23 115,000 กุมภาพันธ์ 791 3,955,000 มีนาคม 491 2,455,000 เมษายน 1 5,000 พฤษภาคม มิถุนายน กรกฏาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม 60 300,000 พฤศจิกายน 150 750,000 ธันวาคม 68 540,000 รวม 1584 7,920,000 3 1 ศึกษาข้อมูลกลุ่มลูกค้าปัจจุบัน ระดับราคา / ความต้องการ / การรับจอง

วิธีการดำเนินการวิจัย คำนวณสัดส่วนที่กำหนดให้ลูกค้าแต่ละกลุ่มจองได้ ใช่ : ทำการกันห้องไว้ขายให้กับลูกค้ากลุ่มที่ระดับราคาสูงกว่า ไม่ : ทำการขายห้อพักให้กับลูกค้ากลุ่มที่ราคาต่ำกว่าทันที 2 กำหนดสัดส่วนการจองระหว่างลูกค้ากลุ่มที่ 3 กับกลุ่มที่ 2 และ 1 ความต้องการในการเข้าพักของลูกค้า กำหนดจำนวนห้องที่ควรกันไว้สำหรับลูกค้ากลุ่มที่ 2 และ 1 กำหนดจำนวนห้องที่ยินยอมให้ลูกค้ากลุ่มที่ 3 จองได้ 2

วิธีการดำเนินการวิจัย คำนวณสัดส่วนที่กำหนดให้ลูกค้าแต่ละกลุ่มจองได้ Input parameter K คือ จำนวนห้องพักทั้งหมดที่มีไว้ให้บริการ B คือ จำนวนห้องพักที่ยินยอมให้ลูกค้ากลุ่ม B จองได้ (กลุ่มที่ 3) Y คือ จำนวนห้องพักที่กันไว้สำหรับลูกค้ากลุ่ม A (กลุ่มที่ 2 และ กลุ่มที่1) DA คือ ความต้องการจองห้องพักเฉลี่ยต่อวันของลูกค้ากลุ่ม A (กลุ่มที่ 2 และ กลุ่มที่ 1) DB คือ ความต้องการจองห้องพักรวมเฉลี่ยของลูกค้ากลุ่ม B (กลุ่มที่ 3) PA คือ ราคาห้องพักเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของลูกค้ากลุ่ม A (กลุ่มที่ 2 และ กลุ่มที่1) PB คือ ราคาห้องพักของลูกค้ากลุ่ม B (กลุ่มที่ 3) Decision variable b คือ จำนวนห้องพักที่ลูกค้ากลุ่ม B จองได้ จำนวนห้องพักสูงสุดที่ยอมให้ลูกค้ากลุ่มที่ 3 จองได้ b = min (DB,B) จำนวนห้องพักที่เหลือ Y = K-b 2 กำหนดสัดส่วนการจองระหว่างลูกค้ากลุ่มที่ 3 กับกลุ่มที่ 2 และ 1 ความต้องการในการเข้าพักของลูกค้า กำหนดจำนวนห้องที่ควรกันไว้สำหรับลูกค้ากลุ่มที่ 2 และ 1 กำหนดจำนวนห้องที่ยินยอมให้ลูกค้ากลุ่มที่ 3 จองได้

คำนวณสัดส่วนที่ยินยอมให้ลูกค้ากลุ่มที่ 3 จองได้กับระดับที่กันไว้สำหรับลูกค้ากลุ่มที่ 2 และกลุ่มที่ 1 โดยใช้ความต้องการที่ลูกค้าจะเข้าพัก การแจกแจงแบบปัวซง PA = 9,219.02 บาท PB = 6,930 บาท EMSR 2 กำหนดสัดส่วนการจองระหว่างลูกค้ากลุ่มที่ 3 กับกลุ่มที่ 2 และ 1 ความต้องการในการเข้าพักของลูกค้า กำหนดจำนวนห้องที่ควรกันไว้สำหรับลูกค้ากลุ่มที่ 2 และ 1 กำหนดจำนวนห้องที่ยินยอมให้ลูกค้ากลุ่มที่ 3 จองได้

จะเข้าพักโดยมีสมมติฐานการแจกแจงแบบปัวซง คำนวณสัดส่วนที่ยินยอมให้ลูกค้ากลุ่มที่ 2 จองได้กับระดับที่กันไว้สำหรับลูกค้ากลุ่มที่ 1 โดยใช้ความต้องการที่ลูกค้า จะเข้าพักโดยมีสมมติฐานการแจกแจงแบบปัวซง PA = 10,162 บาท PB = 6,930 บาท EMSR กำหนดสัดส่วนการจองระหว่างลูกค้ากลุ่มที่ 2 กับกลุ่มที่ 1 ความต้องการในการเข้าพักของลูกค้า กำหนดจำนวนที่ควรกันไว้สำหรับลูกค้ากลุ่มที่ 1 กำหนดจำนวนที่ยินยอมให้ลูกค้ากลุ่มที่ 2 จองได้ 3

วิธีการดำเนินการวิจัย คำนวณจำห้องที่เปิดให้จองเกินสำหรับลูกค้ากลุ่มที่ 3 กำหนดค่า D3 คือจำนวนลูกค้ากลุ่มที่ 3 ที่ทำการจองเข้ามา W(n) คือ จำนวนลูกค้าที่จองแล้วมาใช้บริการจากทั้งหมด n ห้องที่จอง K3 คือ จำนวนทรัพยากรที่มีอยู่ ซึ่งได้จากจำนวนห้องพักที่ยินยอมให้จองได้ของลูกค้ากลุ่มที่ 3 h คือต้นทุนการปฏิเสธลูกค้า s คือต้นทุนค่าเสียโอกาส จำนวนห้องที่โรงแรมทำการปฏิเสธลูกค้าคำนวณได้จาก Max(K 3 - D3)+ 3 จำนวนห้องพักที่สูญเสียโอกาสในการขายคำนวณได้จาก Max(D3 -K 3)+ ต้นทุนการปฏิเสธลูกค้าจะเกิดขึ้นเมื่อ >K3 โดยต้นทุนการปฏิเสธลูกค้าคาดหวังที่เกิดขึ้นคำนวณได้จากสมการ ต้นทุนค่าเสียโอกาสห้องพักคาดหวังคำนวณได้จากสมการ หาจำนวนห้องที่เปิดให้มีการจองเกินสำหรับลูกค้ากลุ่มที่ 3 นำจำนวนห้องที่ยอมให้จองได้สำหรับลูกค้ากลุ่มที่ 3 จากหัวข้อที่ 2 มากำหนดเป็นจำนวนห้องสูงสุดเพื่อหาจำนวนห้องที่ควรเปิดให้จองเกิน ปรับสัดส่วนใหม่สำหรับลูกค้ากลุ่มที่ 3 4

วิธีการดำเนินการวิจัย ต้นทุนรวมคาดหวัง = ต้นทุนชดเชยคาดหวัง + ต้นทุนค่าเสียโอกาคาดหวัง สูตร Excel =IF(K>B,0,BINOMIAL(Ki,B,S,0)) Ki = จำนวนลูกค้าที่มาเข้าพัก โดยที่ i= 1,2,3,…,130 B = จำนวนห้องที่กำหนดที่มี S = อัตราการเข้าใช้บริการของลูกค้า (Show up probability) หาจำนวนห้องที่เปิดให้มีการจองเกินสำหรับลูกค้ากลุ่มที่ 3 นำจำนวนห้องที่ยอมให้จองได้สำหรับลูกค้ากลุ่มที่ 3 จากหัวข้อที่ 2 มากำหนดเป็นจำนวนห้องสูงสุดเพื่อหาจำนวนห้องที่ควรเปิดให้จองเกิน ปรับสัดส่วนใหม่สำหรับลูกค้ากลุ่มที่ 3 4

วิธีการดำเนินการวิจัย หาจำนวนห้องที่เปิดให้มีการจองเกินสำหรับลูกค้ากลุ่มที่ 3 นำจำนวนห้องที่ยอมให้จองได้สำหรับลูกค้ากลุ่มที่ 3 จากหัวข้อที่ 2 มากำหนดเป็นจำนวนห้องสูงสุดเพื่อหาจำนวนห้องที่ควรเปิดให้จองเกิน ปรับสัดส่วนใหม่สำหรับลูกค้ากลุ่มที่ 3 4 Binomial model

ผลการศึกษา

ผลการศึกษา 788,735.50 บาท 5 ปรียบเทียบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับข้อมูลการจองจริงในปี พ.ศ. 2558

ผลการศึกษา 7,920,000 บาท 5 ปรียบเทียบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับข้อมูลการจองจริงในปี พ.ศ. 2558

ผลการศึกษา เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. -917,729.50 -336,798 -407,484 -569,646 -748,440 -656,964 -2,436,162 -5,365.50 -1,653,9728 ทำการปรับสัดส่วนการจองระหว่างลูกค้ากลุ่มที่ 2 และกลุ่มที่ 1  รวมสัดส่วนการจอง 6 ปรับนโยบายการจองรอบที่ 2 รวมสัดส่วนการจองระหว่างลูกค้ากลุ่มที่ 2 และกลุ่มที่ 1 เปรียบเทียบผลลัพธ์การปรับนโยบายรอบที่ 2 เปรียบเทียบกับข้อมูลการจองจริงในปี พ.ศ. 2558 เปรียบเทียบกับการปรับนโยบายในรอบแรก

ผลการศึกษา 10,513,839 บาท 6 ปรับนโยบายการจองรอบที่ 2 รวมสัดส่วนการจองระหว่างลูกค้ากลุ่มที่ 2 และกลุ่มที่ 1 เปรียบเทียบผลลัพธ์การปรับนโยบายรอบที่ 2 เปรียบเทียบกับข้อมูลการจองจริงในปี พ.ศ. 2558 เปรียบเทียบกับการปรับนโยบายในรอบแรก

ผลการศึกษา 7,920,000 บาท 6 ปรับนโยบายการจองรอบที่ 2 รวมสัดส่วนการจองระหว่างลูกค้ากลุ่มที่ 2 และกลุ่มที่ 1 เปรียบเทียบผลลัพธ์การปรับนโยบายรอบที่ 2 เปรียบเทียบกับข้อมูลการจองจริงในปี พ.ศ. 2558 เปรียบเทียบกับการปรับนโยบายในรอบแรก

การอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ กำไรที่ได้รับ นโยบายใหม่รอบที่ 2 191,024,095 บาทต่อปี นโยบายใหม่รอบที่ 1 181,298,994 บาทต่อปี นโยบายเดิม 180,510,256 บาทต่อปี ต้นทุนการปฏิเสธลูกค้า นโยบายใหม่รอบที่ 2 - นโยบายใหม่รอบที่ 1 นโยบายเดิม (7,920,000.00) บาทต่อปี จำนวนห้องที่ปฏิเสธ นโยบายใหม่รอบที่ 2 - นโนบายใหม่รอบที่ 1 นโยบายเดิม 1,584 ห้องต่อปี

การอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ อัตราการเข้าพัก นโยบายใหม่รอบที่ 2 78.33% นโยบายใหม่รอบที่ 1 73.88% นโยบายเดิม 78.41% รายได้ต่อห้องที่มีให้บริการ นโยบายใหม่รอบที่ 2 4,757.76 บาทต่อห้อง นโยบายใหม่รอบที่ 1 4,515.54 บาทต่อห้อง นโยบายเดิม 4,495.90 บาทต่อห้อง รายได้ต่อห้องที่ถูกจอง นโยบายใหม่รอบที่ 2 6,074.48 บาทต่อห้อง นโยบายใหม่รอบที่ 1 6,123.52 บาทต่อห้อง นโยบายเดิม 5,734.13 บาทต่อห้อง 6 ปรับนโยบายการจองรอบที่ 2 รวมสัดส่วนการจองระหว่างลูกค้ากลุ่มที่ 2 และกลุ่มที่ 1 เปรียบเทียบผลลัพธ์การปรับนโยบายรอบที่ 2 เปรียบเทียบกับข้อมูลการจองจริงในปี พ.ศ. 2558 เปรียบเทียบกับการปรับนโยบายในรอบแรก

การอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ - การจัดการายได้  พื้นฐานทางด้านราคา (Price base) สำหรับช่วง Low + Shoulder season เดือน นโยบาย ผลลัพธ์ กำหนดสัดส่วนแยก กำหนดสัดส่วนรวม ม.ค. 99.68% 0.00% ก.พ. 99.87% 99.97% 0.10% มี.ค. 99.44% 100.00% 0.56% เม.ย. 81.15% 85.00% 3.85% พ.ค. 51.41% 53.78% 2.38% มิ.ย. 31.42% 34.39% 2.97% ก.ค. 63.37% 67.39% 4.02% ส.ค. 55.66% 60.94% 5.28% ก.ย. 54.97% 59.76% 4.79% ต.ค. 71.96% 91.29% 19.33% พ.ย. 91.00% 96.00% 5.00% ธ.ค. 87.92% 92.61% 4.69% รวม 73.88% 78.33% 4.45% โรงแรมประเภทอื่นๆ กลุ่มลูกค้าอื่นๆ มีพฤติกรรมแตกต่างกัน

ประโยชน์ที่ได้รับ 1. กำหนดสัดส่วนจำนวนการให้จองห้องพักระหว่างลูกค้ากลุ่มตัวแทนที่ได้รับสัดส่วนจำนวนการจองและลูกค้ากลุ่มตัวอื่นๆและตัวแทนบนอินเทอร์เน็ต 2. ปรับสัดส่วนจำนวนห้องที่โรงแรมอนุญาตให้จองเกินได้อย่างเหมาะสม สามารถลดต้นทุนการให้จองเกินของโรงแรมลดลง 3.นำสิ่งที่ค้นคว้าศึกษา ไปปรับใช้กับสถานการณ์จริงและช่วยให้โรงแรมได้รับผลกำไรเพิ่มมากขึ้น

Thank you

ต้นทุนค่าเสียโอกาส นโยบายใหม่รอบที่ 2 (51,030,499.80) บาทต่อปี นโยบายใหม่รอบที่ 1 (57,338,696.40) บาทต่อปี นโยบายเดิม (38,074,749.40) บาทต่อปี จำนวนห้องเหลือ นโยบายใหม่รอบที่ 2 10,492 ห้อง นโยบายใหม่รอบที่ 1 11,935 ห้อง นโยบายเดิม 8,685 ห้อง