โดย สโรชา ช่างปั้น พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการรับส่งต่อ ผู้ป่วยมะเร็งนรีเวช
Advertisements

การจัดทำทะเบียนมะเร็ง CANCER REGISTRATION
Cancer in Thailand Cancer in Thailand 2003.
Breast cancer screening & Evaluation in Thailand
Cardiac Center Maharatnakhonratchasima Hospital service plan 2016
Bone and Soft-tissue Tumors
ECT breast & Re-accredited plan
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การเฝ้าระวัง และระบบการรายงานข้อมูล เพื่อการเฝ้าระวัง
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
พระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม
ข้อมูลทะเบียนมะเร็ง กฤติกา สุวรรณรุ่งเรือง
โครงการสนับสนุนและพัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System) เขตเมืองและเขตชนบท ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย เลขาธิการ.
Welcome IS Team IS
How to Analyse Difficult Chest CT
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
Applied Behavioral Analysis ABA
จังหวัด .นครสวรรค์, กำแพงเพชร,พิจิตร, อุทัยธานี, ชัยนาท
ณ ห้องประชุม 6/5 รพ.นครพิงค์
การวิเคราะห์อัตรากำลัง โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาความผิดปกติ
ICD-10-TM Simplified Version โดย นายกิตติกวิน บุญรัตน์
โครงสร้างโลก.
Cluster วัยทำงาน Cluster วัยผู้สูงอายุ
แนวทางการพยาบาลผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมอง
กรณีตัวอย่าง : ส้มโอแปลงใหญ่ประชารัฐ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
ICD 10 TM for PCU ศวลี โสภา เจ้าพนักงานเวชสถิติชำนาญงาน โรงพยาบาลสตูล.
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
หน่วยการเรียนที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูล
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
น.พ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล รร.ดุสิตธานี หัวหิน 14 ก.ค.60
ระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมประเทศไทย
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based รอบที่ 1
สรุปรายงานสถานการณ์วัณโรค จังหวัดปทุมธานี ปี
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
บทที่ 4 ฐานข้อมูล.
สรุปผลงาน การคัดกรองมะเร็งเต้านม ปี จังหวัดเชียงใหม่
การนำเสนอผลงานการวิจัย
การออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข
การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
นิโคลา เทสลา โดย นาย สุทธิวุฒิ ศิริกัน 4.2 เลขที่ 35
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
Breast Cancer Surveillance system
ระบบข้อมูลของโครงการสืบสานพระราชปณิธานต้านมะเร็งเต้านม
แสง และการมองเห็น.
รายงานการใช้เอกสารประกอบการเรียน วิชาการพัฒนาบุคลิกภาพ
โรงพยาบาลดอยหล่อ อ.ดอยหล่อ จ.เชียงใหม่
การประเมินสารสนเทศ และแหล่งสารสนเทศ
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน
การจัดตั้งหน่วยทะเบียนมะเร็ง และการควบคุมคุณภาพ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ ณ ห้องประชุมโรงแรมฮอลิเดย์การ์เด้น
นโยบายทันตสาธารณสุขกับระบบงานปฐมภูมิ
การตรวจวินิจฉัยชนิด และการนับเชื้อมาลาเรีย
บทที่ 4 กลยุทธ์ในการเลือกตลาด
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
การส่งเสริมการจ้างยุวแรงงานและพัฒนาทักษะผู้ต้องขังที่จะพ้นโทษในรูปแบบกลไกประชารัฐ นโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) : ส่งเสริมการจ้างยุวแรงงาน เป้าหมาย 10,230.
แผนปฏิบัติงาน การใช้งานโปรแกรม Thai COC
การตั้งมาตรฐานคุณภาพ
โรงพยาบาลหนองบัวลำภู
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
ประมวลภาพงานวันป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๕๗ รำลึกครบรอบ ๑๐ ปี สึนามิ เหตุการณ์ธรณีพิบัติภัยสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ อนุสรณ์สถานสึนามิบ้านน้ำเค็ม.
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย สตรีและเด็กปฐมวัย 0-5 ปี
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
โปรแกรม Thai cancer based Version 6.0
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การกรอกแบบรายงานโรคมะเร็งThai cancer based สำหรับทะเบียนมะเร็ง ระดับโรงพยาบาล โดย สโรชา ช่างปั้น พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ งานทะเบียนมะเร็ง โรงพยาบาลนครพิงค์

ข้อแตกต่างระหว่าง ทะเบียนมะเร็งระดับประชากรและระดับโรงพยาบาล ทะเบียนมะเร็งประชากร ทะเบียนมะเร็งโรงพยาบาล ใช้วันวินิจฉัยแรกสุดไม่ว่า จะได้จากรพ.ใดก็ตาม ใช้วันวินิจฉัยแรกสุดที่ได้จากในโรงพยาบาลเราเท่านั้น วันที่วินิจฉัย ใช้ระยะแรกสุดไม่ว่าจะได้จากโรงพยาบาลใดก็ตาม ใช้ระยะใหม่ที่ประเมินได้จากโรงพยาบาลเราเท่านั้น ระยะของโรค

สิ่งที่ได้การทำทะเบียนมะเร็งโรงพยาบาล ภาระงาน=เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนจัดการทรัพยากรต่างๆ ของโรงพยาบาล โอกาสในการรอดชีพของโรคมะเร็ง=คุณภาพการรักษา workload Survival time

การทำทะเบียนมะเร็งในระดับโรงพยาบาล ข้อมูลที่ใช้เก็บ ประกอบด้วย : **ดูแบบฟอร์มประกอบ** ข้อมูลบุคคล (ข้อ1-ข้อ11) ชื่อ, เลขประจำตัวประชาชน, เพศ, ว/ด/ป เกิด, ที่อยู่, สถานภาพสมรส, เชื้อชาติ, ศาสนา *** ถ้าโปรแกรมเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลผู้ป่วยในรพ.จะสะดวกรวดเร็วขึ้น *** ข้อมูลโรค(ข้อ13-ข้อ25) วันที่วินิจฉัย, วิธีการที่น่าเชื่อถือที่สุดในการวินิจฉัย, ผลชิ้นเนื้อ, Topography(ตำแหน่งอวัยวะที่เป็น), Morphology(ผลทางพยาธิวิทยา) , Behaviour, Grade, TNM Staging, Extend, Metastasis

การทำทะเบียนมะเร็งในระดับโรงพยาบาล ข้อมูลที่ใช้เก็บ ประกอบด้วย (ต่อ) ข้อมูลการรักษา (ข้อ32) วิธีการรักษาที่ได้รับ ได้แก่ การผ่าตัด, การให้ยาเคมีบำบัด, การฉายรังสี ข้อมูลการติดตาม (ข้อ26-ข้อ29) สภาพที่เป็นอยู่ล่าสุด, วันที่ติดต่อล่าสุด, วันที่เสียชีวิต, สาเหตุการเสียชีวิต

ICD-O แบบรายงานโรคมะเร็ง Topography = ข้อ 18 ตำแหน่งอวัยวะที่เป็น เป็นรหัสคู่ที่มีส่วนประกอบเป็น Topography และ Morphology Topography บอกตำแหน่งปฐมภูมิของการเกิดเนื้องอก Morphology อธิบายชนิดของเนื้องอก และคุณสมบัติทางชีววิทยาของโรค แบบรายงานโรคมะเร็ง Topography = ข้อ 18 ตำแหน่งอวัยวะที่เป็น Morphology = ข้อ 19 ผลทางพยาธิวิทยา

*** กรณีไม่ทราบตำแหน่งของโรคมะเร็ง *** Unknown primary site รหัส Topography จะเขียนในลักษณะดังนี้ C__._ โดย C = ก้อนเนื้อ __ตัวเลขตำแหน่งที่ 1 และ 2=อวัยวะที่เป็น _ ตัวเลขหลังจุดมหัพภาค = ตำแหน่งในอวัยวะนั้นๆ Upper inner quadrant ตัวอย่าง C50.2 ก้อน Breast *** กรณีไม่ทราบตำแหน่งของโรคมะเร็ง *** Unknown primary site คือ C80.9

Carcinoma (malignant) รหัส Morphology จะเขียนในลักษณะดังนี้ ____/__ โดย ตัวเลข 4 digit แรก____ = ชนิดของเนื้องอกหรือก้อนนั้นๆ ตัวเลขตัวแรกหลัง/_ =behavior พฤติกรรมของเนื้องอกหรือ ก้อนนั้นๆ ตัวเลขตัวสุดท้ายหลัง/__ = grade ความแตกต่างของเนื้องอกหรือ ก้อนนั้นๆ Well differentiated ตัวอย่าง M 8070/31 Carcinoma (malignant) Squamous cell

กรณีพบว่ามีรอยโรคมากกว่า 1 ตำแหน่ง กรณีตรวจพบโรคมะเร็งทั้งที่ปอดและสมอง ก่อนการลงรหัส จะต้องพิจารณาว่าโรคที่ พบนั้นเป็นโรคเดียวกันหรือไม่ ถ้าโรคทั้ง 2 ตำแหน่ง ไม่เกี่ยวข้องกัน แสดงว่าผู้ป่วยมี ทั้งโรคมะเร็งของปอด และเนื้องอกของสมอง C34.9 สำหรับโรคมะเร็งปอด C71.9 สำหรับเนื้องอกสมอง *** ลงใบทะเบียนเป็น 2 primary = 2 เลขทะเบียน *** กรณีที่พบว่าเป็นโรคเดียวกัน ซึ่งในกรณีตัวอย่าง ผู้ป่วยเป็นโรคมะเร็งของปอดและมี การแพร่กระจายของโรคไปยังสมอง การลงรหัสจะลงเพียงตำแหน่งเดียว(1เลข ทะเบียน) และลงรหัสเฉพาะตำแหน่งของปฐมภูมิเท่านั้น กรณีนี้ลงรหัสคือ C34.9

กรณีพบว่ามีการกลับเป็นซ้ำของโรค (Recurrent) เลขทะเบียนมะเร็ง 1 เลข กรณีผู้ป่วยเคยลงทะเบียนมะเร็งไปแล้ว และเกิด Recurrent ตำแหน่งโรคเดิม ให้เก็บเป็น Source ที่ 2

สิ่งที่จำเป็นในการลงทะเบียนมะเร็งให้มีความสมบูรณ์ มีความน่าเชื่อถือมากขึ้น ข้อมูลผู้ป่วยที่สำคัญ ได้แก่ Pathology ใช้ในการเพิ่มความสมบูรณ์ของ behaviour, grade ผล x-ray, U/S, CT ใช้ในการแปรผล Stage, Extend, Metastasis

สิ่งที่จำเป็นในการลงทะเบียนมะเร็งให้มีความสมบูรณ์ มีความน่าเชื่อถือมากขึ้น 1.รหัสที่เป็นเลข 9ทั้งหมด เช่น Stage 2.วันที่ติดต่อล่าสุด และ สถานภาพล่าสุด (Survival rate) 3.วิธีการรักษา (ทราบระยะเวลารอคอย)