ระบบความเชื่อมโยงระหว่าง การแพทย์แผนปัจจุบัน การแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก และการแพทย์ดั้งเดิมประเทศสมาชิกอาเซียน อาจารย์ ดร.ศุภะลักษณ์ ฟักคำ อาจารย์แสงสิทธิ์ กฤษฎี
นิยามศัพท์ที่ควรทราบ การแพทย์แผนปัจจุบัน ( Modern Medicine , Western Medicine, Allopathic Medicine ) การแพทย์ดั้งเดิม ( Traditional Medicine ) การแพทย์แผนโบราณ ( Ancient Medicine) การแพทย์พื้นบ้าน (Indigenous Medicine ) การแพทย์ทางเลือก ( Alternative Medicine) การแพทย์ผสมผสาน (Integrated Medicine) การแพทย์เสริม ( Complementary Medicine)
National Center of Complementary and Alternative Medicine ( NCCAM) 1.Alternative Medical System(ใช้หลากหลายทั้งยาและเครื่องมือ) เช่น TCM, การแพทย์อายุรเวท, TTM 2.Mind and Body Intervention(ใช้กายและใจ) เช่นสมาธิบำบัด โยคะ ซี่กง 3.Biologically Therapies (ใช้สารชีวภาพ)เช่นสมุนไพร วิตามิน Chelation 4.Manipulative and Body –Based Methods(ใช้หัตถการ) เช่น การนวด การจัดกระดูก ( Chiropractic) 5.Energy Therapies(ใช้พลังงาน) เช่น การสวดมนต์บำบัด พลังกายทิพย์ พลังจักรวาล โยเร เรกิ
ศาสตร์การแพทย์ที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน ๑.การแพทย์แผนปัจจุบัน ๒.การแพทย์แผนจีน ๓.การแพทย์อายุรเวท ๔.การแพทย์โฮมีโอพาธี ๕.การแพทย์ยูนานิ ๖.การแพทย์แผนไทย ( การนวดไทย ) ???
วิวัฒนาการการแพทย์แผนไทย
อดีตที่ผ่านมา
Population: 65,068,149 Area: 514,000 sq km
HISTORY & BACKGROUD Rattanakosin period (from 1782) Sukhothai period (1238 - 1377) Ayutthaya period (1350 - 1767) HISTORY & BACKGROUD Rattanakosin period (from 1782)
การแพทย์แผนไทย - การแพทย์แบบองค์รวม การแพทย์แผนไทยเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตคนไทยมานับพันปีตั้งแต่ เกิด แก่ เจ็บ ตาย และเกี่ยวพันโดยตรงกับหลักพุทธศาสนา มี ทฤษฏีการแพทย์แผนไทย เชื่อว่า โรคและความเจ็บป่วยเกิดจากปัจจัยหลักพลัง ๓ ด้าน ๑. พลังจากสิ่งที่เหนือธรรมชาติ ๒. พลังจากสิ่งที่เป็นธรรมชาติ ๓. พลังของระบบสุริยะจักรวาล
๒๔๓๑ การก่อตั้งโรงพยาบาลศิริราช เป็นโรงพยาบาลและ ๒๔๓๑ การก่อตั้งโรงพยาบาลศิริราช เป็นโรงพยาบาลและ โรงเรียนแพทย์แผนตะวันตกแห่งแรกในประเทศไทย ๒๔๕๘ ยกเลิกการเรียนการสอนการแพทย์แผนไทย ในโรงพยาบาลศิริราช
การรื้อฟื้น ความสนใจในพืชสมุนไพรและยาสมุนไพร ๒๕๒๐ – กระประชุม WHO Conference ด้านการแพทย์พื้นบ้าน (Indigenous Medicine) ๒๕๒๑ – ประกาศ Alma Ata Declaration : การใช้การแพทย์ แผนดั้งเดิม (Traditional Medicine) ในงานสาธารณสุขมูลฐาน เพื่อสุขภาพดีถ้วนหน้า ปี ๒๐๐๐ (พ.ศ. ๒๕๔๓) ๒๕๒๐ - ๒๕๒๔ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๔ - การศึกษาวิจัยพืชสมุนไพร - ๖๑ ชนิด พืชสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน
สถาบันการแพทย์แผนไทย
๒ เมษายน ๒๕๕๑
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
ปัจจุบัน
ศาสตร์การแพทย์ที่มีกฎหมายรองรับในประเทศไทย การแพทย์แผนปัจจุบัน การแพทย์แผนไทย การแพทย์แผนจีน การแพทย์ไคโรแพคติก
สถานการณ์การบริการการแพทย์แผนไทย
ปี พศ.๒๕๕๔ ร้อยละของประชาชนที่มีหลักประกันสุขภาพได้รับการรักษาพยาบาลและฟื้นฟูสภาพ ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกใน สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ ร้อยละ 9.03
ปี พศ.๒๕๕๔ ร้อยละของมูลค่าการใช้ยาสมุนไพรไทยในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ รพท./รพศ. ร้อยละ ๐.๒ รพช./รพ.สต ร้อยละ ๔.๒
เป้าหมาย สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ เอกชน ชุมชนและประชาชนมีการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยอย่างเหมาะสม เพื่อการพัฒนาสุขภาพอย่างยั่งยืน และเพื่อการพึ่งพาตนเองของประชาชนและของประเทศ
ปัญหาอุปสรรคด้านการแพทย์แผนไทย
1.องค์ความรู้ที่ใช้ ขาดความน่าเชื่อถือ ขาดการการศึกษาวิจัยพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์ 2.การบริการและผลิตภัณฑ์ที่ใช้ ขาดคุณภาพ ,มาตรฐาน 3.บุคลากรผู้ให้บริการ ขาดการยอมรับ ขาดแคลนบุคลากรแพทย์แผนไทยที่เชี่ยวชาญ(ทั้งแพทย์แผนไทยและเจ้าหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง) ขาดความเป็นเอกภาพด้านวิชาชีพ
ปัจจัยสู่ความสำเร็จ ๑.องค์ความรู้ ถูกต้อง น่าเชื่อถือ ๒.ผลิตภัณฑ์และบริการ ดี มีมาตรฐาน ๓.บุคลากร เก่งและมีคุณธรรม
กรอบและทิศทางการดำเนินงาน พัฒนาการแพทย์แผนไทย
นโยบายการบริหารงานกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (นพ นโยบายการบริหารงานกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (นพ.ประดิษฐ์ สินธวณรงค์) วิสัยทัศน์ - ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้น เพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน กลยุทธ์ในการทำงาน ข้อ ๙ – สนับสนุนนโยบายการเสริมสร้างรายได้สุขภาพของประเทศ ทั้งด้านยาสมุนไพรไทย อาหาร สินค้าพื้นเมือง รวมถึงการเป็นศูนย์กลางสุขภาพ โดยไม่ให้เกิดผลกระทบทางลบต่อระบบบริการภาครัฐ เป้าหมายตัวชี้วัดระดับกระทรวง( KPI ) :ประชาชนใช้บริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในสถานบริการสาธารณสุขไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๔
WHO Traditional Medicine Strategy 2002 - 2005 Policy: integrate TM/CAM with national health care systems 1 Safety, efficacy and quality: provide evaluation, guidance and support for effective regulation 2 Access: ensure availability and affordability of TM/CAM, including essential herbal medicines 3 Rational use: promote therapeutically-sound use of TM/CAM by providers and consumers 4
WHO Congress on Traditional Medicine Beijing, China, 7-9 November 2008 Beijing Declaration (8 November 2008 ) WHO Congress on Traditional Medicine Beijing, China, 7-9 November 2008
WHO Congress on Traditional Medicine Beijing, China, 7-9 November 2008 Beijing Declaration (8 November 2008 ) WHO Congress on Traditional Medicine Beijing, China, 7-9 November 2008
๑ ด้วยการแพทย์ดั้งเดิม ควรได้รับความเคารพ อนุรักษ์ ส่งเสริม และสื่อสารกันอย่างกว้างขวางและเหมาะสมกับบริบทของแต่ละประเทศ รัฐบาลมีความรับผิดชอบต่อสุขภาพของประชาชนในประเทศ และควรจะจัดทำนโยบาย กฎ ระเบียบ และมาตรฐานต่าง ๆ ของการแพทย์ดั้งเดิม โดยเป็นส่วนหนึ่งระบบสาธารณสุขโดยรวมของประเทศ เพื่อสร้างความมั่นใจในการใช้การแพทย์ดั้งเดิมอย่างเหมาะสม ปลอดภัย และได้ผล ๒ ที่ประชุมตระหนักถึงความก้าวหน้าของรัฐบาลของหลายประเทศในปัจจุบันที่ได้บูรณาการการแพทย์ดั้งเดิมเข้าสู่ระบบสุขภาพของประเทศ และขอเรียกร้องให้ประเทศที่ยังไม่ได้ดำเนินการ ให้เริ่มต้นดำเนินการดังกล่าว ๓
ควรมีการพัฒนาการแพทย์ดั้งเดิมต่อไปบนพื้นฐานของการวิจัยและนวัตกรรมในแนวทางของ “Global Strategy and Plan of Action on Public Health, Innovation and Intellectual Property” ซึ่งรับรองในการประชุมสมัชชาสุขภาพโลกครั้งที่ ๖๑ เมื่อปี ค.ศ. ๒๐๐๘ ทั้งนี้ รัฐบาล องค์กรระหว่างประเทศ และผู้มีส่วนได้เสีย อื่น ๆ ควรจะร่วมมือกันในการนำยุทธศาสตร์โลกและแผนปฏิบัติการนี้ไปสู่การปฏิบัติ ๔ ๕ รัฐบาลควรจัดให้มีระบบสำหรับการสอบคุณสมบัติ, การรับรองคุณวุฒิ หรือการขึ้นทะเบียนผู้ประกอบโรคศิลปะแผนดั้งเดิม และผู้ประกอบโรคศิลปะแผนดั้งเดิมควรเพิ่มพูนความรู้และทักษะตามเกณฑ์ที่กำหนดของแต่ละประเทศ ๖ ควรมีการสื่อสารกันระหว่างผู้ให้บริการการแพทย์แผนปัจจุบันและแผนดั้งเดิมให้มากขึ้น และจัดให้มีโปรแกรมการฝึกอบรมด้านการแพทย์ดั้งเดิมที่เหมาะสมแก่บุคลากรสาธารณสุข นักศึกษาแพทย์ และนักวิจัยที่เกี่ยวข้อง
on Traditional Medicine in ASEAN Countries ครั้งที่ 1 Bangkok Declaration Conference on Traditional Medicine in ASEAN Countries ครั้งที่ 1 31 AUG-2 SEP 2009,BKK
๑ สร้างและแลกเปลี่ยนข้อมูลที่มีหลักฐานของการแพทย์ดั้งเดิมและเวชปฏิบัติในสมาชิกอาเซียนโดยการส่งเสริมและสื่อสารความรู้ อย่างกว้างขวาง และเหมาะสมทั่วภูมิภาครวมทั้งในประเทศพันธมิตร ๒ บรรสานข้อกำหนดทั้งทางวิชาการและกฎหมาย ระดับชาติ โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของพันธกรณีของอาเซียน เพื่อสร้างความมั่นใจเรื่องความปลอดภัย ประสิทธิผล และคุณภาพของการแพทย์ดั้งเดิม
ส่งเสริมการบูรณาการการแพทย์ดั้งเดิม การแพทย์เสริมและการแพทย์ทางเลือก เข้าสู่การบริการในระบบสาธารณสุข โดยเป็นส่วนหนึ่งของระบบสุขภาพเบ็ดเสร็จของประเทศ รวมทั้งการใช้การแพทย์ดั้งเดิมในการสาธารณสุขมูลฐาน ๓ พัฒนากิจกรรมเฉพาะต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการแพทย์ดั้งเดิมโดยดำเนินการเกี่ยวข้องกับผู้ประกอบโรคศิลปะและผู้ให้บริการ, ภาคอุตสาหกรรม, องค์กรที่ไม่หวังผลกำไร และองค์กรวิชาชีพ, นักวิชาการ, ชุมชน รวมทั้งองค์กรภาคี ในฐานะภาคีหลัก ๔
กรอบความร่วมมือของอาเซียนด้านการแพทย์ดั้งเดิมภายใต้การปฏิบัติงาน ( Road Map) ของ Ad Hoc ASEAN Task Force on Traditional Medicine (ATFTM)
การแพทย์พื้นบ้านลุ่มน้ำโขง แผนความร่วมมือ การแพทย์พื้นบ้านลุ่มน้ำโขง ( ๒๕๕๖-๕๙)
มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่๒ (๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๒) มติ๗ การพัฒนาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก ให้เป็นระบบบริการสุขภาพหลักของประเทศคู่ขนานกับการแพทย์แผนปัจจุบัน
การแพทย์แผนไทยฯ-การแพทย์คู่ขนาน(๑๖พย.๕๒) ๑.คณะกรรมการภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ กรมพัฒน์ฯดำเนินการ ๑.๑ส่งเสริม อปท.ร่วมกับภาคี ให้ดำเนินการ ๑.๑.๑รวมกลุ่มเครือข่ายหมอพื้นบ้านสภาการแพทย์พื้นบ้าน ๑.๑.๒ส่งเสริมจัดทำแผนพัฒนาและส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ ๑.๒ ส่งเสริมเครือข่ายแพทย์แผนไทย สภาวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ๑.๓ สนับสนุนหน่วยงานดำเนินการ ๑.๓.๑ศึกษาการออกกฎหมาย ยาแผนไทยและยาสมุนไพร ๑.๓.๒พัฒนายาตำรับระดับชาติ ๑๐๐ตำรับภายใน๓ ปี ๑.๓.๓บรรจุยาแผนไทย ๒๐รายการ ใน๓ปี ๑.๓.๔ส่งเสริมการดำเนินการแพทย์แผนไทยใน รพ.สต. ๑.๓.๕พัฒนา รพ .แพทย์แผนไทย ภาคละ๑ แห่ง
การพัฒนาภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท ฉบับที่๒(๒๕๕๕-๕๙) แผนยุทธศาสตร์ชาติ การพัฒนาภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท ฉบับที่๒(๒๕๕๕-๕๙) ( มติ ครม. ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๕) ► การสร้างและจัดการความรู้ ► การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนและระบบบริการสาธารณสุข ► การพัฒนากำลังคน ► การพัฒนาระบบยาและผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร ► การพัฒนาด้านกฎหมายและคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ► การสื่อสารสาธารณะ
มติสมัชชาเฉพาะประเด็น (พ.ศ.๒๕๕๖-๕๙) แผนยุทธศาสตร์การนวดไทย มรดกไทย-สู่มรดกโลก (เตรียมเสนอ ครม.)
ศักยภาพประเทศไทย ๑.ระบบการแพทย์และสาธารณสุขที่ดี ๒.ระบบวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ดี ๓.ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย หมอพื้นบ้าน ๔.ทรัพยากรธรรมชาติ พืชสมุนไพร
ประเทศไทย ประเทศไทย การพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน และเป็นผู้นำด้านการแพทย์ดั้งเดิมในภูมิภาค ปี ๒๐๑๕
การแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทย ประชาคมอาเซียนและผลกระทบ กับการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนและผลกระทบ
ประชาคมอาเซียน ปี ๒๕๕๘ (ASEAN COMMUNITY 2015) กฎบัตรอาเซียน ► ประชาคมความมั่นคงอาเซียน ( ASC ) ► ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC ) ► ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน ( ASCC ) “AEC Blueprint (พิมพ์เขียวAEC)”
ตารางดำเนินการ Strategic Schedule ประชาคมอาเซียน ปี 2558 ASEAN COMMUNITY 2015 กฎบัตรอาเซียน AEC Blueprint (พิมพ์เขียว AEC) ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน (ASC) ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ตารางดำเนินการ Strategic Schedule ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC) 44
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ความเป็นมาของ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ปี 2540 ปี 2542 ปี 2538 สมาชิกใหม่ CLMV ปี 2510 ปี 2527 อาเซียน 6 45 45 45
ตลาดส่งออกหลักของไทย ปี 2535 กับปี 2553 ASEAN 22.7% ส่งออกรวม 32,609.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ส่งออกรวม 195,311.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ Note AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 ม.ค.2553 (2010) 46
แหล่งนำเข้าหลักของไทย ปี 2535 กับปี 2553 ASEAN 16.6% นำเข้ารวม 40,615.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ นำเข้ารวม 182,406.54 ล้านเหรียญสหรัฐฯ Note AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 ม.ค.2553 (2010) 47
การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC:Asean Economic Community ) ปี ๒๕๕๘ (AEC:Asean Economic Community ) เป้าหมาย ๑.เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม ๒.เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ๓.การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ๔.การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC ) 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี e-ASEAN AEC นโยบายภาษี เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น ปี 2015 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย สนับสนุนการพัฒนา SMEs จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค 49
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่สำคัญของอาเซียน AEC Blueprint ความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่สำคัญของอาเซียน ASEAN Free Trade Area: AFTA ความตกลงการค้าสินค้า ASEAN Framework Agreement on Services: AFAS กรอบความตกลงด้านบริการอาเซียน ASEAN Comprehensive Investment Agreement: ACIA ความตกลง ว่าด้วยการลงทุนอาเซียน ASEAN Economic Community: AEC 50 50
ACE Blueprint ความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่สำคัญของอาเซียน ๑ ความตกลงการค้าสินค้า : AFTA ๒ กรอบความตกลงด้านบริการอาเซียน : AFAS ๓ ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน :ACIA
เขตการค้าเสรีอาเซียน ( AFTA: ASEAN Free Trade Area )
ผลกระทบที่เกี่ยวข้องจาก AFTA ๑.การลดต้นทุนการนำเข้าวัตถุดิบหรือสารสกัดสมุนไพร(ลดภาษี) ๒.การเปิดโอกาสการร่วมลงทุน/ความร่วมมือทางการค้าไทยกับตปท. ๓.การแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีการผลิตและองค์ความรู้ ๔.การปรับกฎระเบียบและมาตรฐานเดียวกันทั้งภูมิภาค ( Asean Harmonization) เช่น ๔.๑ข้อกำหนดด้านมาตรฐานการขึ้นทะเบียนตำรับยา (ACTD) ๔.๒ข้อกำหนดด้านคุณภาพมาตรฐานของยา(ACTR) ๔.๓มาตรฐานการผลิตยาที่ดี(GMP)ตามหลักเกณฑ์ PIC/S ( Pharmaceutical Inspection Co-operation Scheme )
ผลกระทบAFTA ต่ออุตสาหกรรมสมุนไพรไทย ๑.อุสาหกรรมสมุนไพร๘ สาขา ประกอบ ๑.๑สาขาผู้ผลิตและค้าส่งสมุนไพรวัตถุดิบ(ประเทศป่าสมบูรณ์ ลาว พม่า อินโดนีเซีย) ๑.๒สาขาสารสกัดสมุนไพร(ประเทศเทคโนโลยีการผลิตสูง มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์) ๑.๓สาขายาสมุนไพร ( พัฒนาคุณภาพมาตรฐานสนองความต้องการภายในประเทศ) ๑.๔สาขาสมุนไพรเพื่อการผลิตสัตว์( พัฒนาคุณภาพมาตรฐานสนองความต้องการภายในประเทศ) ๑.๕สาขาสมุนไพรเพื่อการเกษตร( พัฒนาคุณภาพมาตรฐานสนองความต้องการภายในประเทศ) ๑.๖สาขาอาหารและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจากสมุนไพร (ไทยสู่ตลาดอาเซียน) ) ๑.๗สาขาเครื่องสำอางสมุนไพร(ไทยสู่ตลาดอาเซียน) ) ๑.๘สาขาผลิตภัณฑ์สปาและอุปกรณ์สมุนไพรเพื่อการแพทย์ทางเลือก(ไทยสู่ตลาดอาเซียน)
สถานการณ์อุตสาหกรรมยาสมุนไพร ๑.สถานการณ์ปัจจุบัน โรงงานผลิตยาสมุนไพร ๑๐๑๗ (มาเลเซีย ๕๐ แห่ง สิงคโปร์๒๐ แห่ง อินโดเนเซีย ๑๘๐๐ แห่ง)ASEAN GMP ๑๙ แห่ง Thai GMP ๒๔ แห่ง ๒..ACCSQ ( Asean Consultative Committee for Standards and Quality) of Traditional Medicine and Health Supplement กำหนด Asean GMP - PIC/S ( คาดการณ์เหลือประมาณ ๒๐๐ แห่ง) ๓.กำลังซื้อในประเทศ ๒๐๐๐ ล้านบาท/ปี ขณะที่ยาแผนปัจจุบันราว๑๐๐,๐๐๐ ล้านบาท/ปี (มาเลย์ ๔๐๐๐๐ล้านบาท/ปี) ทำให้ไม่คุ้มลงทุน ( สร้างใหม่๒๐ ล้านต่อแห่ง ปรับปรุง ๒ ล้านต่อแห่ง) ๓.เป้าหมายการใช้ยาสมุนไพรในสถานบริการ (ร้อยละ๑ใน รพศ/ร้อยละ๓ในรพท/ร้อยละ๕ในรพช./ร้อยละ๑๐ใน รพ.สต) ๔.มูลค่าการใช้ยาสมุนไพรแลผลิตภัณฑ์สมุนไพร ร้อยละ๒๕ เปรียบเทียบกับยาแผนปัจจุบัน( ๖๐,๐๐๐ ล้านบาทต่อปี)
ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมยาสมุนไพรไทย ถ้าไม่สามารถเข้าสู่มาตรฐานที่กำหนด ๑. หยุดดำเนินกิจการ ๒. การผลิตลดลง ต้องนำเข้ายาสมุนไพรมากขึ้น ๓. ลดการพึ่งพาตนเอง การดูแลสุขภาพในชุมชนอ่อนแอลง ๔. ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรถูกทอดทิ้งไม่ได้รับการสานต่อใช้ประโยชน์ ๕. เกษตรในชนบทผู้ประกอบอาชีพปลูกสมุนไพรจะสูญหาย ถ้าสามารถเข้าสู่มาตรฐานที่กำหนดได้ “การเพิ่มศักยภาพการแข่งขันทั้งในและต่างประเทศ”