บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
Advertisements

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
System Database Semester 1, 2009 Worrakit Sanpote 1.
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
Database & DBMS Architecture วรวิทย์ พูลสวัสดิ์. 2 2 ฐานข้อมูล (Database) - Data and its relation - Databases are designed to offer an organized mechanism.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
MS-Access. SQL สามารถเรียกใช้ฐานข้อมูล ได้ทุกค่าย Access MySQL Foxpro DBF DB2Oracle MS SQL.
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ฐานข้อมูล.
Material requirements planning (MRP) systems
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
BC320 Introduction to Computer Programming
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 ระบบจัดการฐานข้อมูล
Seminar 1-3.
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
บทที่ 4 ความรู้เกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
Chapter 3 Executive Information Systems : EIS
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
หน่วยที่ 3 การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทสรุป ระดับของข้อมูล มีการจัดแบ่งระดับของข้อมูลเป็น 3 ระดับ
SMS News Distribute Service
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
รูปนิสิต บทคัดย่อ ผลการทดลอง วัตถุประสงค์ วิธีการที่นำเสนอ บทนำ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture) โดย อ.อภิพงศ์ ปิงยศ รายวิชา สธ312 ระบบการจัดการฐานข้อมูลทางธุรกิจ

Overview สถาปัตยกรรม ANSI/SPARC สถาปัตยกรรมในระดับ External สถาปัตยกรรมในระดับ Conceptual สถาปัตยกรรมในระดับ Internal Mapping สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูลกับ Database Administrator สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูลกับ Database Management Systems

บทนำ สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล เป็นการอธิบายถึง รูปแบบและโครงสร้างของข้อมูลภายในระบบฐานข้อมูล ทั่วไปในระดับแนวความคิด สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูลที่นิยมใช้ได้แก่ สถาปัตยกรรม ANSI/SPARC

สถาปัตยกรรม ANSI/SPARC ANSI/SPARC (American National Standard Institute / System Planning and Requirements Committee) ได้ แบ่งสถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูลเป็น 3 ระดับ คือ ระดับ Internal: เป็นระดับที่กล่าวถึงวิธีในการจัดเก็บข้อมูล ระดับ External: เป็นระดับที่กล่าวถึงมุมมองที่มีต่อผู้ใช้แต่ละคน ระดับ Conceptual: เป็นระดับที่อยู่ระหว่าง Internal และ External ซึ่งระดับนี้จะเกี่ยวข้องกับ กลุ่มของผู้ใช้

โครงสร้างของสถาปัตยกรรม ANSI/SPARC

สถาปัตยกรรมในระดับ External เป็นสถาปัตยกรรมที่กล่าวถึงข้อมูลภายนอกที่ไม่ได้เป็น โครงสร้างข้อมูลที่แท้จริง ข้อมูลในระดับนี้จะเปลี่ยนไปตามข้อมูลของผู้ใช้ที่จะ นำไปใช้งาน เช่น โปรแกรมเมอร์จะใช้ข้อมูลใน โครงสร้างตาราง ผู้ใช้ฝ่ายการตลาดมีความสนใจเฉพาะ ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า

สถาปัตยกรรมในระดับ External: ภาษา การทำให้ข้อมูลชุดเดียวกันสามารถแสดงผลออกมาเป็น หลายมุมมองตามการใช้งานของผู้ใช้ ต้องอาศัยการเขียน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น ภาษา SQL เป็นต้น ภาษาที่เกี่ยวข้องกับฐานข้อมูลจะมี 2 ส่วน คือ Data Sublanguage (DSL) และ Host Language DSL จะประกอบไปด้วยกลุ่มคำสั่ง Data Definition Language (DDL) และ Data Manipulation Language (DML) DDL ใช้กำหนดโครงสร้างของฐานข้อมูลระดับ External DML ใช้จัดการกับข้อมูลที่อยู่ในฐานข้อมูลระดับ External

รูปแบบภาษาที่ใช้ในสถาปัตยกรรมระดับ External ภาษาที่ใช้จัดการฐานข้อมูล Host Language Data Sublanguage (DSL) Data Manipulation Language (DML) Data Definition Language (DDL)

สถาปัตยกรรมในระดับ Conceptual เป็นระดับที่กล่าวถึงโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวความคิด ใช้แทนโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลที่แท้จริงที่จัดเก็บ อยู่ในฐานข้อมูล เพื่อให้ง่ายต่อการอธิบายถึงโครงสร้าง ข้อมูลจริง การนำเสนอโครงสร้างข้อมูล Conceptual Record เรียกว่า Conceptual Schema ภาษาที่ใช้ต้องมีคุณสมบัติ Data Independence ในสถาปัตยกรรมระดับนี้จะรวมถึง ความปลอดภัย กฎที่ ใช้ควบคุมความถูกต้องของข้อมูล การนำข้อมูลไปใช้งาน ความสัมพันธ์และทิศทางการไหลของข้อมูล และผู้มีสิทธิ์ ใช้ข้อมูลในส่วนต่างๆ

สถาปัตยกรรมในระดับ Internal เป็นระดับของสถาปัตยกรรมฐานข้อมูลที่กล่าวถึงโครงสร้าง ในระดับต่ำสุด กล่าวถึงโครงสร้างข้อมูลในระดับที่ ใกล้เคียงกับที่จัดเก็บอยู่ในหน่วยความจำสำรองของ คอมพิวเตอร์ โครงสร้างของ Internal record เป็นการนำเสนอเนื้อที่ที่ ใช้ในการจัดเก็บ ลำดับที่ ประเภทข้อมูล และ Index ที่ ใช้ ซึ่งเป็นข้อมูลที่นำไปกำหนดโครงสร้างทางกายภาพที่ แท้จริง

Schema ทั้งสามระดับ

Mapping Mapping คือมุมมองที่มีต่อสถาปัตยกรรมในระดับที่สูงกว่า สามารถถ่ายทอดมุมมองนั้น ไปยัง สถาปัตยกรรมในระดับที่ต่ำกว่าได้ ซึ่งเป็นหน้าที่ของ Database Administrator ในการทำ Mapping เช่น การถ่ายทอดมุมมองจากระดับ Conceptual ไปยัง ระดับ Internal เพื่อนำโครงสร้างข้อมูลระดับ Conceptual Schema แปลงเป็นโครงสร้างระดับกายภาพ เพื่อใช้ในการจัดเก็บข้อมูล การทำ Mapping มี 2 แบบ คือ Conceptual/Internal Mapping External/Conceptual Mapping

สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูลกับ Database Administrator DBA เป็นผู้กำหนดโครงสร้างในระดับ Conceptual DBA เป็นผู้กำหนดโครงสร้างในระดับ Internal DBA เป็นผู้ตรวจสอบโครงสร้างข้อมูลว่าสามารถตอบโจทย์ ความต้องการของผู้ใช้หรือไม่ DBA เป็นผู้กำหนดการรักษาความปลอดภัย และกฎที่ใช้ ควบคุมความถูกต้องของข้อมูล DBA เป็นผู้กำหนดวิธีการสำรองข้อมูล และการกู้คืน ข้อมูล DBA เป็นผู้ควบคุมให้ระบบฐานข้อมูลมีประสิทธิภาพและ ทันสมัยเท่าทันการเปลี่ยนแปลง

สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูลกับ Database Management Systems (DBMS) DBMS มีความสัมพันธ์กับสถาปัตยกรรมของระบบ ฐานข้อมูล เนื่องจากต้องทำหน้าที่รับคำสั่งทั้งในกลุ่ม DML และ DDL ที่ผู้ใช้กำหนดในระดับ External ไป กระทำกับฐานข้อมูลในระดับ Internal เมื่อได้ข้อมูลจากฐานข้อมูลระดับ Internal แล้ว DBMS จะแปลงข้อมูลให้อยู่ในระดับ Conceptual และ External ตามลำดับ เพื่อนำมาแสดงผลต่อผู้ใช้งาน

ความสัมพันธ์ของ DBMS กับสถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมูล

สรุป สถาปัตยกรรม ANSI/SPARC เป็นสถาปัตยกรรมที่ใช้ กำหนดโครงสร้างให้กับข้อมูลตามมุมมองของผู้ใช้ที่มีต่อ ข้อมูลที่แตกต่างกัน แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ Internal, Conceptual และ External มุมมองในสถาปัตยกรรมระดับสูงกว่าสามารถถ่ายทอดไปยัง มุมมองในระดับที่ต่ำกว่าได้ ทำให้ระบบ ฐานข้อมูลสามารถรองรับผู้ใช้ได้หลายระดับ