กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทบาทของศูนย์บริหารงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
Advertisements

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ผู้บัญชาการ และฝ่ายข้อมูลและยุทธศาสตร์
Report การแข่งขัน.
ระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
แนวทางการพัฒนา EOC กรมควบคุมโรค
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
ระบบบัญชาการเหตุการณ์และ ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
แผนการดำเนินงาน Highlight ปี 2559
ความเชื่อมโยงนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงานควบคุมโรคติดต่อ
Rabie Free Zone สภาพปัญหา นโยบายการขับเคลื่อน เป้าหมายดำเนินการ ปี2560
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
ประชุม Video Conference ตึกสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
โรคที่เป็นปัญหา ของพื้นที่
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ระบบบัญชาการเหตุการณ์
เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ
โรคไข้เลือดออก เห็ดพิษ รณรงค์วัคซีนไข้หวัดใหญ่ คลีนิกวัคซีนผู้ใหญ่
คณะที่ 2 พัฒนาระบบบริการ (Service plan)
การวางแผน (Planning) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
มีจำนวน 1 โครงการ ลำดับ ประเภทกิจกรรม จำนวนเงิน งบประมาณ ที่ใช้ไป
กลุ่มงานควบคุมโรค (งานโรคติดต่อ).
แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลกรมอนามัย ปีงบประมาณ 2561
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
สถานการณ์วัณโรค จังหวัดมหาสารคาม
ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์(SAT) ที่สามารถปฏิบัติการได้จริง 1.
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงานฯ Cluster CD และระบบควบคุมโรค
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560
การพัฒนาระบบงานการดูแลผู้ป่วยเบาหวานแบบบูรณาการ รพ.สต.บ้านโป่ง
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2/2561
ประเด็นมุ่งเน้นยุทธศาสตร์ โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ
นายแพทย์ธนรักษ์ ผลิพัฒน์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่
การเตรียมการ มาตรการชุมชน
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
1 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้
สรุปผลการตรวจราชการฯ
1 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ
จุดที่ควรปรับปรุง SR 1 และ SR 2.
มีจำนวน 8 โครงการ ลำดับ ประเภทกิจกรรม จำนวนเงิน งบประมาณ ที่ใช้ไป
วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ ณ ห้องประชุมย่อยศูนย์สถานการณ์น้ำ
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.
รายงานผลการปฏิบัติงาน ไตรมาสที่ ๒ (มกราคม-มีนาคม๒๕๕๗)
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดฉะเชิงเทรา
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
การตรวจราชการและนิเทศงาน
นางสาวอรไท แซ่จิว สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา
ใบงานกลุ่มย่อย.
รูปภาพประกอบเกี่ยวกับ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ แผน นโยบาย และตัวชี้วัด การดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2561 กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ นายอภิสิทธิ์ สุขทรัพย์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ

ยุทธศาสตร์ที่ 1 : แผนงานที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ โครงการที่ 1 พัฒนาระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและภัยสุขภาพ PA : พัฒนาระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและภัยสุขภาพ คร./สธฉ. ร้อยละ 85 ของจังหวัดมีผู้บัญชาการฯ ระดับจังหวัดผ่านหลักสูตร ICS สำหรับผู้บริหาร ไตรมาส 1 1. พัฒนาผู้บัญชาการเหตุการณ์ฯ ระดับจังหวัด ร้อยละ 85 ของจังหวัดมีการ เฝ้าระวังและมีทีมปฏิบัติการฯ ไตรมาส 2 ตัวชี้วัดที่ 14 2. เตรียมเฝ้าระวัง/ประเมินสถานการณ์ฯ ระดับจังหวัด ร้อยละ 85 ของจังหวัด มีรายงานการประเมินสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ ร้อยละ 85 ของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง ไตรมาส 3 3. ซ้อมแผนตามระบบบัญชาการฯ ระดับจังหวัด ร้อยละ 85 ของจังหวัด มีแผนเผชิญเหตุฯ ไตรมาส 4 มาตรการ ระดับความสำเร็จ EOC = Emergency Operation Center SAT = Situation Awareness Team

รายละเอียดการดำเนินงาน ขั้นตอน ที่ รายละเอียดการดำเนินงาน ระดับคะแนน เอกสาร/หลักฐาน ประกอบการประเมินผล เป้าหมาย 1 ผู้บัญชาการและรองผู้บัญชาการเหตุการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุข ระดับจังหวัด ได้รับการอบรมหลักสูตร ICS สำหรับผู้บริหาร ทุกจังหวัดต้องผ่านเกณฑ์ 5 ขั้นตอน (1-5 คะแนน) - หลักฐานรายชื่อ นพ.สสจ. หรือ รอง นพ.สสจ. ที่รับผิดชอบจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ผ่านการฝึกอบรม ICS สำหรับผู้บริหาร (จำนวน 9 ชั่วโมง จัดโดยกรมควบคุมโรค) อย่างน้อยจังหวัดละ 2 คน ไตรมาสที่ 1 (รอบ 3 เดือน) 2 จัดทีมปฏิบัติการระดับจังหวัดในส่วนภารกิจปฏิบัติการ (Operation Section) - รายชื่อการจัดตั้งทีมปฏิบัติการระดับจังหวัด เช่น MERT,mini MERT, EMS, MCAT, CDCU/SRRT ฯ ไตรมาสที่ 2 (รอบ 6 เดือน) 3 จัดทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ระดับจังหวัดเพื่อเฝ้าระวัง ตรวจจับ และประเมินสถานการณ์การเกิดโรคและภัยสุขภาพ (ภาวะปกติมีชื่อผู้ปฏิบัติงานตระหนักรู้สถานการณ์อย่างน้อยจังหวัดละ 3 คน และ ภาวะฉุกเฉินจังหวัดละ 4 คน) - รายชื่อการจัดเวร SATภาวะปกติ/ฉุกเฉินประจำเดือน/ ปีงบ ประมาณ 2561 - สามารถจัดทำ Outbreak Verification list - สามารถจัดทำ Spot Report - ผู้มีรายชื่อปฏิบัติงานตระหนักรู้สถานการณ์อย่างน้อย ร้อยละ 50 ผ่านการฝึกปฏิบัติ SA 4 วิเคราะห์ระดับความเสี่ยงสำคัญของโรคและ ภัยสุขภาพระดับจังหวัด - มีรายงานการวิเคราะห์ระดับความเสี่ยงสำคัญของโรคและภัยสุขภาพระดับจังหวัด ตาม templateที่กรมควบคุมโรคกำหนด ไตรมาสที่ 3 (รอบ 9 เดือน) 5 ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC)ระดับจังหวัด มีการซ้อมแผน หรือมีการยกระดับเปิดปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขในพื้นที่ - มี Incident Action Plan (IAP) ของเหตุการณ์ที่สำคัญที่อาจเกิดขึ้นในจังหวัด เพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) หรือซ้อมแผน โดยกำหนดวิธีปฏิบัติการ พร้อมทั้งข้อสั่งการไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ไตรมาสที่ 4 (รอบ 12 เดือน)

สถานการณ์การดำเนินงานศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน ปี 2560 1. จัดทำโครงสร้างระบบบัญชาการเหตุการณ์ฉุกเฉิน (ICS) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) 2. จัดเตรียมสถานที่ และอุปกรณ์เพื่อรองรับการเปิดศูนย์ EOC 3. อบรมเตรียมความพร้อมปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและทีมตระหนักรู้สถานการณ์(SAT) ระดับจังหวัด 4. ซ้อม Table top ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินโรคไข้หวัดนก 5. จังหวัดมีการเปิดศูนย์ EOC เพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน - ช่วงเทศกาลสงกานต์ - โรคไข้หวัดนก (ช่วงมีสัตว์ปีกป่วยตายผิดปกติ) - โรคติดเชื้อไวรัสซิกา โดยมีการขยายการเปิด ศูนย์ EOCไปยังระดับอำเภอที่มีการระบาด

มาตรการดำเนินงานศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน ปี 2561 1. อบรมฟื้นฟูระบบบัญชาการเหตุการณ์(ICS)และระบบ EOC ให้กับหัวหน้ากลุ่มงานระดับจังหวัด และระดับอำเภอ 2. พัฒนาทีมตระหนักรู้สถานการณ์(SAT) ระดับจังหวัดเพื่อเฝ้าระวังตรวจจับและประเมินสถานการณ์การเกิดโรคและภัยสุขภาพ 3. จัดทีมปฏิบัติการระดับจังหวัด/อำเภอในส่วนภารกิจปฏิบัติการ(Operation Section) เพื่อปฏิบัติการในภาวะปกติและฉุกเฉิน (มีรายชื่อMERT,mini MERT,EMS,MCAT, CDCU/SRRT ในคำสั่งEOC) 4. เปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน(EOC) เพื่อดำเนินงานด้านการแพทย์และสาธารณสุข - งานพระราชพิธีถวายเพลิงพระบรมศพ - ช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากน้ำท่วม - รองรับอุบัติเหตุช่วงเทศกาลปีใหม่และสงกรานต์ 5. วิเคราะห์ระดับความเสี่ยงสำคัญของโรคและภัยสุขภาพ และจัดทำแผนปฏิบัติการ ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน(Incident Action Plan : IAP) เพื่อรองรับการเปิดศูนย์EOC 6. ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน(EOC)จังหวัดและอำเภอ มีการซ้อมแผนหรือมีการยก ระดับเปิดปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินในพื้นที่

ตัวชี้วัดที่ 17 อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็ก < 15 ปี ตัวชี้วัดที่ 17 อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็ก < 15 ปี เป้าหมาย: อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ต่อประชากรเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี แสนคน ไม่เกิน 4.5 เกณฑ์การประเมิน : จำนวนการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เป้าหมายจำนวนการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี(คน) รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน 1 2 3 6

สถานการณ์การเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี จังหวัดกำแพงเพชร ข้อมูลเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เสียชีวิตจากการจมน้ำ ย้อนหลัง 5 ปี พ.ศ. 2556 - 2560 ปี 2556 2557 2558 2559 2560 2561(ต.ค.) กำแพงเพชร 15 10.8 14 10.3 6 4.5 8 6.1 12 9.7 1 0.8 รายอำเภอ 2559 2560 รวม เมืองกำแพงเพชร 4 2 6 ไทรงาม คลองลาน 1 ขาณุวรลักษบุรี 3 คลองขลุง พรานกระต่าย ลานกระบือ ทรายทองวัฒนา ปางศิลาทอง บึงสามัคคี โกสัมพีนคร 12 18

การป้องกันและแก้ไขปัญหาการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี แยกรายอำเภอ เป้าหมาย/ผลงาน เมือง ทุ่งโพธิ์ ขาณุฯ คลองขลุง ไทรงาม พรานกระต่าย 1.ทีม Merit Maker ตำบลละ 1 ทีม 15/2 1/0 11/5 10/6 7/0 10/0 2.ทีม Merit Maker ผ่านระดับทองแดง/เงิน/ทอง 2/1  5/1  6/1  0  3.พัฒนาทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำในเด็ก 6-15 ปี 26970/NA 1089/0 12705/510 6689/650 5353/0 8576/0 4.การจัดการแหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชน N/A  คลองลาน ลานกระบือ ทรายทองฯ บึงสามัคคี ปางศิลาทอง โกสัมพีฯ 1.ทีม Merit Maker ตำบลละ 1 ทีม 4/4 7/0 3/0 4/0 3/2 2.ทีม Merit Maker ผ่านระดับทองแดง/เงิน/ทอง 4/1  0  2/1  3.พัฒนาทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำในเด็ก 6-15 ปี  8120/2563  5502/0  2643/0  3005/0 3521/710  3694/ 0 4.การจัดการแหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชน N/A  หมายเหตุ การจัดการแหล่งน้ำเสี่ยงอยู่ระหว่างการสำรวจและการจัดทำฐานข้อมูล โดยเครือข่าย อปท.

มาตรการในการดำเนินงานป้องกันเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ำ 1. สร้างทีม Merit Maker ครบทุกตำบล โดยประสานกับ อปท.ในพื้นที่ 2. สร้าง ครู ข เพื่อไปดำเนินกิจกรรมการป้องกันเด็กจมน้ำ ร่วมกับ ครู ก 3. พัฒนาทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำในเด็กต่ำกว่า๑๕ ปี โดยการสร้างเสริมทักษะการ ว่ายน้ำเอาชีวิตรอด ร่วมกับเครือข่าย ครู ก ครู ข 4. พัฒนาทีม Merit Maker ให้ผ่านระดับทองแดง/เงิน 5. จัดการแหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชน/หมู่บ้าน โดยการติดตั้งป้ายเตือน ติดตั้งอุปกรณ์ในการช่วยเหลือคนตกน้ำ 6. ส่งเสริมการใช้และสร้างคอกกั้นเด็ก(Playpen) ในกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ให้แก่ ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กในชุมชน/ศูนย์เด็กเล็ก

ตัวชี้วัดที่ 18 อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน ตัวชี้วัดที่ 18 อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน อัตราตายจากอุบัติเหตุจราจรทางบก ไม่รวมทางน้ำ และ ทางอากาศ ไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน เป้าหมาย A = จำนวนผู้เสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนนทั้งหมด B = จำนวนประชากรกลางปี = (A/B) x 100,000 Template Company Logo

สถานการณ์อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน แยกรายอำเภอ ปี 2560

มาตรการในการดำเนินงานป้องกันและลดการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน 1. การนำเสนอข้อมูลตายจากบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนของสาธารณสุขให้กับ ศปถ.อำเภอ 2. การดำเนินงานแก้ไขปัญหาในอำเภอ ผ่านอำเภอ District – RTI 3. การเสนอข้อมูลจุดเสียงที่เกิดอุบัติเหตุบ่อย/เสียชีวิต 4. การดำเนินงานมาตรการด่านชุมชน โดยให้ชุมชนจัดการแก้ไขปัญหาภายในด้วยตนเอง ใน การป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนภายในชุมชน Company Logo

งานที่เป็นปัญหาของพื้นที่ งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค โรคติดต่อนำโดยยุงลาย งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตัวชี้วัด: ร้อยละของระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในประชากร กลุ่มเป้าหมาย ไม่น้อยกว่า 90 (ยกเว้น MMR และวัคซีน ในโรงเรียนไม่น้อยกว่า 95 รายโรงเรียน) Company Logo

ข้อมูลจาก HDC

แนวทางปฏิบัติ 1. รักษาระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในกลุ่มเป้าหมาย (routine) 2. เฝ้าระวังโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน รวมทั้งอาการภายหลังได้รับการสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค (AEFI) 3. สอบสวนและควบคุมโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 4 รณรงค์ให้วัคซีนที่จำเป็นแก่ประชากรกลุ่มเสี่ยง วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่   Company Logo

โรคติดต่อนำโดยยุงลาย

ผลการดำเนินงาน ปี 2560 ระดับจังหวัดกำแพงเพชร ผลการดำเนินงาน ปี 2560 ระดับจังหวัดกำแพงเพชร 1. อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ลดลงไม่น้อยกว่า ร้อยละ 16 ของ Median 5 ปี (ปี2555-ปี2559) ระดับจังหวัด Median (ปี55-59) อัตราป่วย ปี2560 ลด / เพิ่ม เทียบ MD จ.กำแพงเพชร 103.96 67.79 ลดลง ร้อยละ 34.79 (ผ่านเป้าหมาย) 2. อัตราป่วยตาย ไม่เกินร้อยละ 0.10 ระดับจังหวัด ผู้ป่วย ปี 2560 ผู้ป่วยเสียชีวิต อัตราป่วยตาย จ.กำแพงเพชร 495 ราย 2 ราย ร้อยละ 0.40 (ไม่ผ่านเป้าหมาย)

ผลการดำเนินงาน ปี 2560 ระดับอำเภอ ผลการดำเนินงาน ปี 2560 ระดับอำเภอ 1. อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ลดลงไม่น้อยกว่า ร้อยละ 16 ของ Median 5 ปี (ปี2555-ปี2559) ที่ อำเภอ Median 5 ปี (ต่อแสน ปชก.) ปี 2560 (ต่อแสนปชก.) ลด / เพิ่ม MD (ร้อยละ) 1 เมือง 180.25 128.59 - 28.66 2 ไทรงาม 86.68 45.06 - 48.02 3 คลองลาน 42.76 26.72 - 37.51 4 ขาณุวรลักษบุรี 42.00 10.32 - 75.43 5 คลองขลุง 51.60 67.81 + 31.41 6 พรานกระต่าย 60.69 11.28 - 81.41 7 ลานกระบือ 45.02 118.36 + 162.91 8 ทรายทองวัฒนา 75.50 55.18 - 26.91 9 ปางศิลาทอง 89.39 26.07 - 70.84 10 บึงสามัคคี 33.85 15.13 - 55.30 11 โกสัมพีนคร 177.91 - 27.72

อัตราป่วย(ต่อแสนปชก) เป้าหมายลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2561 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของ median อำเภอ Median 5 ปี เป้าหมาย ปี 2561 (ปี2556-2560) ลด 10 % จาก MD 5 ปี อัตราป่วย(ต่อแสนปชก) จำนวน (ราย) 1.เมือง 133.66 285 120.29 257 2.ไทรงาม 45.06 23 40.55 21 3.คลองลาน 34.58 22 31.12 20 4.ขาณุวรลักษบุรี 15.95 17 14.36 15 5.คลองขลุง 52.59 38 47.33 34 6.พรานกระต่าย 23.97 21.58 7.ลานกระบือ 44.09 19 39.68 8.ทรายทองวัฒนา 72.16 64.94 9.ปางศิลาทอง 58.66 18 52.79 16 10.บึงสามัคคี 34.05 9 30.65 8 11.โกสัมพีนคร 173.77 50 156.40 45 จ.กำแพงเพชร 70.53 515 63.48 464

3. ลดการติดเชื้อไวรัสซิกาในหญิงตั้งครรภ์ ร้อยละ 50 ของ ปี 2560 ปี 2560 จ.กำแพงเพชร หญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อไวรัสซิกา จำนวน 3 ราย เป้าหมาย ปี 2561 ไม่เกิน 1 ราย ที่ อำเภอ จำนวนผู้ป่วย ปี 2560 (ราย) พื้นที่พบผู้ป่วย หญิงตั้งครรภ์ กลุ่มอื่นๆ รวม 1 โกสัมพีนคร 15 16 ต.ลานดอกไม้ (ม.1,2,8) ต.โกสัมพี (ม.1) 2 พรานกระต่าย ต.เขาคีรีส (ม.6) 3 ขาณุวรลักษบุรี ต.สลกบาตร (ม.1 , 7) ต.บ่อถ้ำ (ม.6) 4 เมือง 6 ต.ในเมือง (ชช.โพธิ์เงิน) ต.สระแก้ว (ม.6) ต.นาบ่อคำ (ม.1) 5 คลองลาน ต.คลองลาน (ม.9) ไทรงาม 11 ต.มหาชัย (ม.9) ต.หนองแม่แตง (ม.2,3,10) ต.หนองทอง (ม.7) 7 คลองขลุง ต.คลองขลุง (ม.10) จ.กำแพงเพชร 37 40 7 อำเภอ / 13 ตำบล /18 มบ.

มาตรการสำคัญ โรคไข้เลือดออก กิจกรรม เป้าหมาย 1.วิเคราะห์พื้นที่เสี่ยง(รายตำบล) ตามเกณฑ์ของอำเภอ หรือเทียบรายงานพยากรณ์โรคของสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2561 ปี ละ 1 ครั้ง 2.เฝ้าระวังทางกีฏวิทยา โดยสุ่มประเมินค่าดัชนี Seting 6 ร. เดือนละ 1 ครั้ง 2.1 รพ.สต./รพ. สุ่มประเมิน 2 หมู่บ้าน หรือชุมชน 2.2 ทีมอำเภอ สุ่มประเมิน 2 รพ.สต. ๆ ละ 1 มบ./ชุมชน 2.3 ทีมจังหวัด สุ่มประเมิน 2 อำเภอ / 2 รพ. / 2 รพ.สต.ๆ ละ 1 มบ. ร้อยละ 80 ของ seting 6 ร. (ที่สุ่มประเมิน) มีค่าดัชนีตามเกณฑ์ คือ 1.โรงเรือน HI<10 ,2.โรงแรม/3.โรงงาน CI< 5 4. โรงเรียน 5.โรงพยาบาล 6.โรงธรรม CI=0 3.มีการประสานแผน และจัดกิจกรรมรณรงค์ Big cleaning ตามแผน ร่วมกับภาคีเครือข่าย มาตรการ 5 ส 3 เก็บ 3 โรค (มาตรการ 5 ป. 1 ข.) ก่อนการระบาด (ก.พ. – เม.ย.) ฤดูกาลระบาด (พ.ค. – ส.ค.) มีแผนงาน โครงการ Big cleaning และมีการจัดกิจกรรมตามแผน 4.มีการจัดตั้ง Dengue corner ในสถานบริการ ร้อยละ 100 ของสถานบริการ 5.สอบสวนและควบคุมโรคมีประสิทธิภาพ (มาตรการ 331)และ(Day 1 3 7) ไม่เกิด second generation (ไม่มีผู้ป่วยรายใหม่เกิดขึ้นภายหลัง 28 วัน นับจากพบผู้ป่วยรายแรก หรือ Index case) Second generation ไม่เกินร้อยละ 10 ของหมู่บ้าน / ชุมชน เกิดโรค 6.มีการใช้ CPG และจัดทำ Monitor shock ในกรณีผู้ป่วย admit ทุกราย ร้อยละ 100 ของผู้ป่วย Admit

มาตรการสำคัญ โรคติดเชื้อไวรัสซิกา กิจกรรม เป้าหมาย 1.มีการเฝ้าระวัง และส่งตรวจผู้ที่มีอาการสงสัย (PUI) 4 กลุ่ม ตามนิยาม 1.หญิงตั้งครรภ์ 2.ผู้มีอาการผื่น/ไข้ 3.ทารกศีรษะเล็ก 4.GBS PUI ทุกราย ส่งตรวจ PCR 2.กรณีพบผู้ป่วยยืนยัน ให้อำเภอ Activate EOC ทุกราย 3.ค้นหาผู้ป่วยและเฝ้าระวังหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน 3.1 หญิงตั้งครรภ์ ในพื้นที่พบผู้ป่วยยืนยัน (2 ครั้ง ห่างกัน 14 วัน) 3.2 ผู้มีอาการสงสัย (PUI) รัศมี 100 เมตร หรือ ในชุมชน หญิงตั้งครรภ์ทุกรายทั้งตำบล PUI ทุกราย 4.การควบคุมโรค มาตรการ Day 0 1 3 7 14 21 28 4.1 การสำรวจและกำจัดลูกน้ำยุงลาย 6 ครั้ง (Day 1 3 7 14 21 28) 4.2 การพ่นสารเคมีกำจัดยุงลาย รัศมี 100 เมตร หรือทั้งชุมชน Day 7 รัศมี 100 ม. : HI ,CI = 0 Day 14 ชุมชน : HI ,CI < ร้อยละ 5 อย่างน้อย 3 ครั้ง (Day 1 3 7) 5.การควบคุมโรคมีประสิทธิภาพ ไม่เกิด second generation ไม่มีผู้ป่วยรายใหม่ เกิดขึ้นภายหลัง 28 วัน นับจากพบผู้ป่วยรายแรก หรือ Index case

Company Logo