การวางแผนควบคุมการผลิตและการควบคุม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
บทที่ 1 ความหมายและแนวคิดของการวิจัยการตลาด
ความเป็นมาของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ความหมายของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ขอบข่ายการศึกษาความเป็นไปได้ของ โครงการ การประเมินโครงการและการจัดลำดับ.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
Material requirements planning (MRP) systems
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
การบริหารโครงการ Project Management
ระดับความเสี่ยง (QQR)
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
Workshop Introduction
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
SMS News Distribute Service
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 10 วงจรรายได้.
Supply Chain Management
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตภาคใต้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวางแผนควบคุมการผลิตและการควบคุม คุณภาพ

กระบวนการวางแผนและควบคุมการผลิตยุคใหม่ หลักการพื้นฐานการวางแผนและควบคุมการผลิต(Principle of Production Planning and Control) หลักการวางแผนและควบคุมการผลิต ที่ดีคือ ความสามารถในการประสานวัตถุประสงค์ที่ขัดแย้งกันของโรงงาน ซึ่งวัตถุประสงค์ดังกล่าวประกอบด้วย 1. ระดับการให้บริการลูกค้าสูงสุด(การส่งมอบสินค้าตามกำหนด) 2. การปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพด้านโรงงาน(มีความสูญเสียด้านแรงงานและเครื่องจักรน้อย) 3. การลงทุนในของคงคลังต่ำ(มีการถือครองของคงคลังเท่าที่จำเป็น)

ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการวางแผนและควบคุมการผลิตซึ่งจะส่งผลต่อวัตถุประสงค์โดยรวมตามที่กล่าวมาแล้วได้ดีเพียงไรนั้น ผู้บริหารจะต้องค้นหาคำตอบจากคำถาม(ที่เป็นต้นเหตุพื้นฐานของความมีประสิทธิภาพหรือไม่มีประสิทธิภาพ 2 ประการ ดังต่อไปนี้ 1. เราควรจะทำอะไรต่อไป ? ซึ่งประกอบด้วยคำถามย่อยๆดังนี้ คือ จะผลิตอะไร? จำนวนเท่าไหร่? และ เมื่อไหร่? 2. เรามีขีดความสามารถที่จะทำมันได้หรือไม่?(มีกำลังการผลิตเพียงพอหรือไม่?)

กระบวนการวางแผนและควบคุมการผลิต จากรูปที่ 1 แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของกระบวนการหรือกิจกรรมต่างๆภายในระบบการวางแผนและควบคุมการผลิต ซึ่งจุดเริ่มต้นในการขับเคลื่อนระบบการวางแผนและควบคุมการผลิต คือ แผนธุรกิจ ซึ่งเป็นการวางเป้าหมายการขายของธุรกิจในช่วง 1-2 ปีข้างหน้า และสำหรับข้อมูลที่สำคัญในการจัดทำแผนธุรกิจคือค่าพยากรณ์ ภายในกรอปของระบบการวางแผนและควบคุมการผลิตและวัสดุคงคลัง จะเริ่มต้นขึ้นภายหลังจากได้รับข้อมูลแผนธุกิจหรือค่าการพยากรณ์ยอดขาย ของบริษัท ในช่วง 1-2 ปีข้างหน้า โดยภายในระบบการวางแผนและควบคุมการผลิตและวัสดุคงคลัง

การวางแผนการผลิตรวม (Aggregate Production Planning) การวางแผนการผลิตรวม คือ กระบวนการในการวางแผนเพื่อจัดสรรกำลังการผลิตให้เพียงพอต่อการตอบสนองความต้องการที่พยากรณ์ไว้ หรือ ที่ได้กำหนดเป็นเป้าหมายไว้ในแผนธุรกิจ แผนในระดับนี้จะเป็นแผนเชิงกลยุทธ์ ไม่ได้กำหนดเป้าหมายเป็นรูปธรรมชัดเจน

การกำหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling) ตารางการผลิตหลักจะกำหนดจำนวนของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดที่จะต้องทำการผลิตให้แล้วเสร็จ ตามช่วงเวลาต่าง ๆ และเช่นเดียวกันตารางการผลิตหลักนี้ก็จะต้องถูกนำไป เปลี่ยนให้เป็นคำสั่งซึ้อวัตถุดิบและชิ้นส่วนชนิดต่างๆ จากพ่อค้าภายนอก รวมทั้งรายละเอียดตารางการ ผลิตสำหรับชิ้นส่วนที่จะทำในโรงงาน

การวางแผนกำลังการผลิตขั้นต้น (Rough-Cut Capacity Planning) การวางแผนกำลังการผลิต จะเกี่ยวข้องกับการคำนวณหากำลังการผลิตของเครื่องจักร และ แรงงานที่ต้องการ สำหรับการผลิตผลิตภัณฑ์หรือชิ้นส่วนที่กำหนดไว้ในตารางการผลิตหลัก ผลจาก การคำนวณที่ได้นี้ จะต้องนำไปเปรียบเทียบกับกำลังการผลิตของเครื่องจักร และแรงงานที่มีอยู่ว่า เพียงพอหรือไม่ ถ้าไม่เพียงพอจะได้ดำเนินการหาทางปรับปรุงแก้ไขต่อไป

การควบคุมกิจกรรมการผลิต ( Production Activity Control) การควบคุมกิจกรรมการผลิต(Production Activity Control) หรืออีกชื่อหนึ่งที่รู้จักกันก็คือ การควบคุมการผลิตระดับโรงงาน(Shop Floor Control) เป็นขั้นตอนที่เชื่อมต่อระหว่างกิจกรรมด้านการวางแผน การผลิต และกิจกรรมด้านการปฎิบัติงานผลิตในโรงงาน ซึ่งภายหลังจากรับข้อมูลใบสั่งผลิตชิ้นส่วน ต่าง ๆ จากระบบ การบริหารวัสดุคงคลังแล้ว ในส่วนที่ต้องดำเนินการต่อไป ของระบบการควบคุมการผลิตระดับ โรงงาน ประกอบด้วยหน้าที่หลัก ดังนี้คือ การกำหนดตารางการผลิต (Production Scheduling) การส่งงานเข้าสู่ช่วงการผลิต (Dispatching) และ การเร่งงาน (Expedition)

การควบคุมการจัดซื้อ (Purchasing Contro ในการผลิตผลิตภัณฑ์ของบริษัทนั้น ชิ้นส่วนบางชิ้นบริษัทอาจจะตัดสินใจผลิตขึ้นเองในโรงงาน ในขณะที่ชิ้นส่วนบางชิ้นบริษัทต้องสั่งซื้อจากภายนอก การตัดสินใจเกี่ยวกับทางเลือกทั้งสองนั้น คุ้นเคยกันในชื่อของ การตัดสินใจผลิตหรือซื้อ (‘make of buy’ decesion) สำหรับชิ้นส่วนที่จะทำ การผลิตขึ้นเองนั้น วัตถุดิบที่ต้องการใช้จะต้องถูกสั่งเข้ามา การสั่งซื้อวัตถุดิบและสั่งซื้อชิ้นส่วนต่าง ๆ เป็นหน้าที่ของฝ่ายจัดซื้อ การสั่งซื้อและการรับวัสดุต่างๆ ที่ทำการสั่งซื้อนั้นจะต้องควบคุมให้มีการส่งมอบตามกำหนดเวลาที่กำหนดขึ้นระหว่างการวางแผนการสั่งซื้อวัสดุ

การวางแผนและควบคุมการผลิตโดยใช้ MS Access 97 หลังจากการวางแผนการผลิตหลัก โดยหลักการแล้วขั้นต่อไปก็คือการวางแผนความต้องการวัสดุ (MRP) และการวางแผนการ ผลิตย่อย แต่สํ าหรับกระบวนการผลิตที่ไม่ซับซ้อนและมีปริมาณไม่มากเช่นในโรงงานขนาดเล็กที่ Product อาจมีการเปลี่ยน แปลงอยู่เสมอ การควบคุมวัสดุโดยใช้เทคนิคทางสถิติ (หรืออาศัยความชํ านาญ) ในการวางแผนควบคุมวัตถุดิบคงคลังอาจจะ เหมาะสมกว่าการทํ า MRP พิจารณาจาก ส่วนได้คือปริมาณ Inventory ที่ลดลง เทียบกับส่วนเสียคือการเตรียมการเพื่อที่จะทํ า

MRP การวางแผนการผลิตย่อยก็เช่นกัน ถ้ากระบวนการไม่ซับซ้อน และในแต่ละ Process กินเวลาไม่มากบางครั้งก็ไม่จํ าเป็น ต้องวางแผน เนื่องจากผู้ปฏิบัติงานรู้โดยอัตโนมัติว่า ต้องไปนํ าวัสดุหรือชิ้นส่วนมาจากที่ใด (Input), ต้องทํ าอะไร (Process), และ ต้องส่งต่อให้ใคร (Output) ดังนั้นส่วนที่จํ าเป็นสํ าหรับผู้ควบคุมการผลิตคือการดูแล (Monitor) ให้ระบบทั้งหมดทํ างาน อย่างต่อเนื่อง (Flow) และเมื่อมีการสะดุดที่จุดใดก็สามารถรู้ได้ก่อนที่จะกลายเป็นปัญหาใหญ่ คือส่งของให้ลูกค้าไม่ได้ตาม กํ าหนด นั่นคือวัตถุประสงค์ของ Module ที่สอง หรือ POTRX (Production Output Transaction)

POTRX Module ใช้รวบรวมข้อมูลผลผลิตใน Shop Floor โดยการรายงานผลผลิตจะรายงานตามใบสั่งซื้อของลูกค้า (Order- Item) แยกตามกระบวนการ (Process) การทํ างาน ช่วงเวลาที่จะต้องรายงานไม่ได้กํ าหนดตายตัว อาจจะวันละครั้ง หรือ ชั่ว โมงละครั้งก็ได้ ขั้นอยู่กับความเหมาะสมของแต่ละโรงงาน เมื่อผู้วางแผนต้องการทราบว่า Status ของแต่ละ Order เป็นอย่าง ไรก็เพียงแต่สั่งพิมพ์รายงานผลผลิต โปรแกรมจะทํ าการรวบรวมผลผลิตที่มีการรายงานทั้งหมดมาแสดง ในกรณีที่การผลิตมี หลายชิ้นส่วนที่ต้องผ่านกระบวนการเดียวกัน โดยหลักการแล้วต้องมีการทํ า Product Structure เพื่อแยก Item ที่เป็นชิ้นส่วน

ออกจาก Item ที่เป็นสินค้าสํ าเร็จ แต่มีวิธีหลบเลี่ยงที่จะไม่ต้องทํ า Product Structure คือ การสร้าง ProcessID ที่ต่างกันให้กับ ชิ้นส่วนนั้นๆ เช่น โรงงานผลิตตุ๊กตา อาจต้องทํ าการฉีด ส่วนหัว และ ลํ าตัวจากเครื่องเดียวกัน ก็ให้ตั้ง ProcessID แยกกันเป็น INJ-Body สํ าหรับการฉีดส่วนลํ าตัว และ INJ-Head สํ าหรับส่วนหัว เป็นต้น เมื่อแสดงในรายงานผู้ควบคุมก็สามารถเห็น Status ของแต่ละชิ้นส่วนได้เช่นกัน

สวัสดี