ภาพรวมพลังงาน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พลังงานทางเลือกในประเทศไทย... ฝันไม่ไกล แต่ไปไม่ถึง
Advertisements

แนวทางการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้า ศ.กิตติคุณ ดร. ดิเรก ลาวัณย์ศิริ
Primary and Final Energy
การพยากรณ์ด้านพลังงาน (Energy Forecasting) (ต่อ)
The Stock Exchange of Thailand ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – 29 กุมภาพันธ์ 2551.
สถานการณ์พลังงานไทย ม.ค. – เม.ย. 2557
ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพพลังงาน
Alternative Energy Sources and Energy Mix Policy in Thailand
Future Energy Options นาย ชาย ชีวะเกตุ.
25 กุมภาพันธ์ 2547 คริส และ ชื่นชม กรีเซน
การรับซื้อไฟฟ้าจาก VSPP (<1MW)
การใช้พลังงาน รายได้ประชาชาติ และประชากร
ดุลยภาพพลังงานของประเทศไทย(Energy Balance)
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ พลังงาน
ก๊าซธรรมชาติ 1 1.
ความมั่นคงด้านการจัดหาปิโตรเลียมและ
Governance and Power Development Planning in Thailand
Load Factor คืออะไร?.
มูลค่าการนำเข้าพลังงาน หน่วย: ล้านบาท ชนิด ม.ค. - ก.พ.อัตราการเปลี่ยนแปลง(%) *
Introduction to MRV รศ.ดร.อภิชิต เทอดโยธิน.
ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์. ภาพรวมถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ การจัดหาถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ 9,528 KTOE 7.8% 49%49% ผลิตในประเทศ 42% นำเข้า 58% (11,185 พันตัน) การใช้ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์
สถานการณ์การใช้พลังงาน และมาตรการสนับสนุนจากภาครัฐ ภาคธุรกิจท่องเที่ยว นางเอมอร ชีพสุมล รองผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน 27 พฤษภาคม 2559 การบรรยายพิเศษ.
Successful Innovation
รู้จัก...ก๊าซหุงต้ม (LPG)...ให้มากขึ้น...
ไฟฟ้า.
ภาพรวมพลังงาน.
เศรษฐกิจพอเพียงยุคเอทีเอ็ม โดย ดร
Energy Consumption and CO2 Emission of Rice Production in THAILAND
ความมั่นคงด้านพลังงานและต้นทุนพลังงานนิวเคลียร์
ธาริษา วัฒนเกส ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย 23 กุมภาพันธ์ 2550
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ธุรกิจพลังงานไทยในอนาคต
Economy Update on Energy Efficiency Activities
Natural Gas Industry Structure
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กับความมั่นคงแห่งชาติ
มองอนาคตพลังงานไทย – เราควรถกกันเรื่องอะไร
พลังงานทดแทนของประเทศไทย
ระบบส่งและจ่ายไฟฟ้า Unit 1.
โรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพที่จ่ายไฟเข้าระบบแล้ว (COD)
โครงการโรงเรียนคาร์บอนต่ำ (ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าที่โรงเรียน)
เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
ไฟฟ้า.
การเปลี่ยนจากระบบปีฐานสู่ Chain Volume Measure
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 3 ภาคกลาง นครปฐม
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โครงสร้างระบบไฟฟ้ากำลัง
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม,การจัดงาน
๓.จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
การปล่อย CO2 จากการใช้พลังงานของประเทศ
อนาคต ASEAN กับนักบริหาร ระบบสาธารณสุขมืออาชีพ
ความรู้เรื่องเครื่องปรับอากาศในอาคาร
พลังงานทดแทนของประเทศไทย
ถ่านหิน/ลิกไนต์.
น้ำมัน.
ก๊าซธรรมชาติ.
ประมาณการภาพรวมพลังงานไทย ( )
มูลค่าพลังงาน.
ดัชนีชี้วัดพลังงาน.
โรงไฟฟ้าขยะที่จ่ายไฟเข้าระบบแล้ว (COD)
ทิศทางการศึกษาเอกชน พ.ศ. 2551
ภาพรวมพลังงาน.
ดร. สุทธศรี วงษ์สมาน รองเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
พืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่
อ.ดร.จิรพรรณ โพธิ์ทอง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชนนี สุพรรณบุรี
ภาพรวมโครงสร้าง นโยบายด้านพลังงาน
QTC ENERGY PUBLIC COMPANY LIMITED
ประกาศคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน
แนวปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ “เงินนอกงบประมาณฝากธนาคารพาณิชย์”
สถานการณ์ก๊าซปิโตรเลียมเหลว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาพรวมพลังงาน

ภาพรวมพลังงาน 5.5% 2.4% 1.6% 2.4% 1,449 พันบาร์เรลต่อวัน* เดือน ม.ค.-ส.ค. 2561 พลังงานขั้นต้น การนำเข้า (สุทธิ) การผลิต การใช้ 5.5% 2.4% 1.6% 1,449 พันบาร์เรลต่อวัน* 941 พันบาร์เรลต่อวัน* 2,166 พันบาร์เรลต่อวัน* การนำเข้าพลังงาน (สุทธิ) เพิ่มขึ้น โดยเพิ่มขึ้นเกือบทุกประเภท ยกเว้น การนำเข้าก๊าซธรรมชาติ การผลิตพลังงานในประเทศ ลดลง เกือบทุกประเภท ยกเว้น ไฟฟ้าพลังน้ำที่เพิ่มขึ้น เนื่องจาก ปีนี้มีปริมาณฝนมากกว่าปกติ การใช้พลังงานเพิ่มขึ้น จากการใช้น้ำมัน ถ่านหิน และพลังน้ำ/ไฟฟ้านำเข้าที่เพิ่มขึ้น ขณะที่การใช้ ก๊าซธรรมชาติและลิกไนต์ลดลง พลังงานขั้นสุดท้าย การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายเพิ่มขึ้น เกือบทุกประเภท ยกเว้นการใช้ ลิกไนต์ที่ลดลง จากปริมาณการผลิต ในประเทศที่ลดลง น้ำมันสำเร็จรูปมีสัดส่วนการใช้สูงสุด 55% รองลงมาคือการใช้ไฟฟ้า สัดส่วน 21% 55% น้ำมันสำเร็จรูป 2.4% 21% ไฟฟ้า 12% NG 1,531 พันบาร์เรลต่อวัน* 12% ถ่านหิน 0.1% *เทียบเท่าน้ำมันดิบ ลิกไนต์ หมายเหตุ: เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

พันบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน การใช้ การผลิต การนำเข้าพลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น การใช้ การผลิต การนำเข้า (สุทธิ) พันบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน * เดือน ม.ค.-ส.ค. การนำเข้า/การใช้ 67% หมายเหตุ : 1. การนำเข้า (สุทธิ) หมายถึง การนำเข้าที่หักลบการส่งออกแล้ว 2. การนำเข้า/การใช้ ไม่รวมพลังงานทดแทน

การใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น สัดส่วนการใช้ พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น ก๊าซธรรมชาติ น้ำมัน พันบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน 2561* ถ่านหินนำเข้า ลิกไนต์ ไฟฟ้าพลังน้ำ/ไฟฟ้านำเข้า รวมทั้งสิ้น 2,166 พันบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน การใช้พลังงานขั้นต้น 1.6% * เดือน ม.ค.-ส.ค.

การผลิตพลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น สัดส่วนการผลิต พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น ก๊าซธรรมชาติ พันบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน 2561* น้ำมันดิบ คอนเดนเสท พลังน้ำ ลิกไนต์ รวมทั้งสิ้น 941 พันบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน การผลิตพลังงานขั้นต้น 2.4% * เดือน ม.ค.-ส.ค.

การนำเข้า (สุทธิ) พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น สัดส่วนการนำเข้า (สุทธิ) พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น น้ำมัน พันบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน 2561* ถ่านหินนำเข้า ก๊าซธรรมชาติและ LNG ไฟฟ้า รวมทั้งสิ้น 1,449 พันบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน การนำเข้า(สุทธิ)พลังงานขั้นต้น 5.5% * เดือน ม.ค.-ส.ค.

การใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นสุดท้าย สัดส่วนการใช้ พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นสุดท้าย น้ำมัน พันบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน ไฟฟ้า 2561* ถ่านหินนำเข้า ก๊าซธรรมชาติ ลิกไนต์ รวมทั้งสิ้น 1,531 พันบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย 2.4% * เดือน ม.ค.-ส.ค.

ปริมาณสำรองปิโตรเลียมในประเทศไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ปริมาณสำรอง การผลิต ปี 2560 ใช้ได้นาน(ปี) P1 P1+P2 P1+P2+P3 น้ำมันดิบ (ล้านบาร์เรล) 156 276 366 51 3 5 7 คอนแดนเสท 166 319 412 36 9 11 ก๊าซธรรมชาติ (พันล้าน ล.บ.ฟุต) 6,410 11,050 13,389 1,321 8 10 หมายเหตุ : ปริมาณสำรอง P1 คือ Proved Reserves P2 คือ Probable Reserves และ P3 คือ Possible Reserves ปริมาณสำรองและการผลิตปิโตรเลียมของประเทศไทยรวมพื้นที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซีย ที่มา : กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ

น้ำมัน

น้ำมันดิบและคอนเดนเสท เดือน ม.ค.-ส.ค. 2561 การจัดหาน้ำมันดิบ 1,093 พันบาร์เรลต่อวัน 5.6% ผลิตในประเทศ นำเข้า ตะวันออกกลาง 62% ตะวันออกไกล 15% อื่นๆ 23% 12% 88% การจัดหาน้ำมันดิบเพิ่มขึ้น จากการนำเข้าจากตะวันออกกลางและแหล่งอื่นๆ ที่เพิ่มขึ้น ขณะที่การผลิตในประเทศลดลง 129 พันบาร์เรลต่อวัน 963 พันบาร์เรลต่อวัน 9.6% 8.1% การใช้กำลังการกลั่น การผลิตคอนเดนเสท กำลังการกลั่น 1,235 พันบาร์เรลต่อวัน 88% 98 พันบาร์เรลต่อวัน ใช้น้ำมันในการกลั่น 1,086 พันบาร์เรลต่อวัน 1.7% หมายเหตุ: เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

น้ำมันสำเร็จรูป 5.4% 11.3% 2% 16.8% 187 ล้านลิตรต่อวัน เดือน ม.ค.-ส.ค. 2561 น้ำมันสำเร็จรูป หมายเหตุ: เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน การผลิต 187 ล้านลิตรต่อวัน การนำเข้า 10.3 ล้านลิตรต่อวัน การใช้ 143 ล้านลิตรต่อวัน 32 ล้านลิตรต่อวัน การส่งออก 5.4% 11.3% 2% 16.8% LPG การจัดหา 579 พันตันต่อเดือน 6.8% อุตสาหกรรม 10% ใช้เอง 2% ครัวเรือน 33% ปิโตรเคมี 37% ขนส่ง 18% นำเข้า 8% นำเข้า โรงกลั่นน้ำมัน 34% ในประเทศ โรงแยกก๊าซ 58% การใช้ 549 พันตันต่อเดือน 10.1%

การจัดหาน้ำมันดิบ 2561* สัดส่วนการจัดหาน้ำมันดิบ พันบาร์เรล/วัน 20% 12% 16% 12% 20% 2561* 17% 13% 16% 17% 8% (963 พันบาร์เรล/วัน) (129 พันบาร์เรล/วัน) พันบาร์เรล/วัน 8.1% 9.6% 56% 56% 53% 55% 57% 15% 15% 16% 14% 12% ผลิตในประเทศ ตะวันออกกลาง ตะวันออกไกล แหล่งอื่นๆ การจัดหาน้ำมันดิบ 1,093 พันบาร์เรล/วัน 5.6% การจัดหาน้ำมันดิบเพิ่มขึ้น จากการนำเข้าจากตะวันออกกลาง และแหล่งอื่นๆ ที่เพิ่มขึ้น ขณะที่การผลิตในประเทศลดลง * เดือน ม.ค.-ส.ค.

รวมนำเข้า 963 พันบาร์เรล/วัน การนำเข้าน้ำมันดิบแยกตามแหล่งผลิต สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ซาอุดิอาระเบีย กาตาร์ คูเวต อื่นๆ (ตะวันออกกลาง) ตะวันออกกลาง มาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน อื่นๆ (ตะวันออกไกล) ตะวันออกไกล สหพันธรัฐรัสเซีย ออสเตรเลีย อื่นๆ (แหล่งอื่นๆ) แหล่งอื่นๆ 43.3% 8.5% 2561* 22.6% * เดือน ม.ค.-ส.ค. การนำเข้าน้ำมันดิบ 8.1% รวมนำเข้า 963 พันบาร์เรล/วัน หรือคิดเป็น 37,220 ล้านลิตร

รวมทั้งสิ้น 98 พันบาร์เรล/วัน การผลิตคอนเดนเสท สัดส่วน การผลิตคอนเดนเสท เอราวัณ พันบาร์เรล/วัน 2561* บงกช ไพลิน บงกชใต้ อาทิตย์ ภูฮ่อม รวมทั้งสิ้น 98 พันบาร์เรล/วัน การผลิตคอนเดนเสท 1.7% * เดือน ม.ค.-ส.ค.

การใช้กำลังการกลั่นของประเทศ Capacity Intake 1,235 พันบาร์เรล/วัน 1,086 พันบาร์เรล/วัน พันบาร์เรล/วัน (KBD) ปี 2561* FANG TOP BCP ESSO IRPC PTTGC SPRC รวม สัดส่วนการใช้ กำลังการกลั่น (%) 34 107 77 83 97 65 96 88 หมายเหตุ : กำลังการกลั่นของ PTTGC เป็นกำลังการกลั่นน้ำมันดิบ 145 KBD และคอนเดนเสท 135 KBD * เดือน ม.ค.-ส.ค.

การผลิตน้ำมันสำเร็จรูป รวมทั้งสิ้น 187 ล้านลิตร/วัน สัดส่วน การผลิตน้ำมันสำเร็จรูป ดีเซล ล้านลิตร/วัน เบนซิน 2561* LPG เครื่องบิน น้ำมันเตา น้ำมันก๊าด รวมทั้งสิ้น 187 ล้านลิตร/วัน การผลิตน้ำมันสำเร็จรูป 5.4% * เดือน ม.ค.-ส.ค.

การใช้น้ำมันสำเร็จรูป รวมทั้งสิ้น 143 ล้านลิตร/วัน การใช้น้ำมันสำเร็จรูป (ล้านลิตร/วัน) สัดส่วน การใช้น้ำมันสำเร็จรูป ดีเซล ล้านลิตร/วัน เบนซิน 2561* LPG เครื่องบิน น้ำมันเตา น้ำมันก๊าด รวมทั้งสิ้น 143 ล้านลิตร/วัน การใช้น้ำมันสำเร็จรูป 2.0% * เดือน ม.ค.-ส.ค. หมายเหตุ : LPG ไม่รวมที่ใช้เป็นวัตถุดิบในปิโตรเคมี

การใช้น้ำมันสำเร็จรูป รวมทั้งสิ้น 898 พันบาร์เรล/วัน การใช้น้ำมันสำเร็จรูป (พันบาร์เรลต่อวัน) สัดส่วน การใช้น้ำมันสำเร็จรูป ดีเซล พันบาร์เรล/วัน 2561* เบนซิน LPG เครื่องบิน น้ำมันเตา น้ำมันก๊าด รวมทั้งสิ้น 898 พันบาร์เรล/วัน * เดือน ม.ค.-ส.ค. การใช้น้ำมันสำเร็จรูป 2.0% หมายเหตุ : LPG ไม่รวมที่ใช้เป็นวัตถุดิบในปิโตรเคมี

การนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูป รวมทั้งสิ้น 10.3 ล้านลิตร/วัน สัดส่วน การนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูป LPG ล้านลิตร/วัน 2561* เบนซิน ดีเซล น้ำมันเตา เครื่องบิน รวมทั้งสิ้น 10.3 ล้านลิตร/วัน * เดือน ม.ค.-ส.ค. การนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูป 11.3% หมายเหตุ : ปี 2558-2559 การนำข้า LPG ลดลง เนื่องจากความต้องการใช้ ลดลง ประกอบกับมีการผลิตจากโรงกลั่นและโรงแยกก๊าซ ภายในประเทศเพิ่มขึ้น

การส่งออกน้ำมันสำเร็จรูป รวมทั้งสิ้น 32 ล้านลิตร/วัน สัดส่วน การส่งออกน้ำมันสำเร็จรูป ดีเซล น้ำมันเตา ล้านลิตร/วัน 2561* เบนซิน เครื่องบิน LPG น้ำมันก๊าด รวมทั้งสิ้น 32 ล้านลิตร/วัน การส่งออกน้ำมันสำเร็จรูป 16.8% * เดือน ม.ค.-ส.ค.

น้ำมันสำเร็จรูปรายประเทศ การส่งออกน้ำมันสำเร็จรูปของไทยแยกรายประเทศ สัดส่วนการส่งออก น้ำมันสำเร็จรูปรายประเทศ สิงคโปร์ ล้านลิตร/วัน กัมพูชา 2561* ลาว เวียดนาม มาเลเซีย เมียนมา เขตต่อเนื่อง อื่นๆ*** ฟิลิปปินส์ ** เขตต่อเนื่อง หมายถึงพื้นที่เขตต่อเนื่องที่เกินกว่า 12 ไมล์ทะเล *** อื่นๆ ได้แก่ จีน เกาหลีใต้ ฯลฯ 90% ส่งออกประเทศในอาเซียน ได้แก่ สิงคโปร์ กัมพูชา ลาว เวียดนาม มาเลเซีย เมียนมา และฟิลิปปินส์ * เดือน ม.ค.-ส.ค.

รวมทั้งสิ้น 584 พันตัน/เดือน การจัดหา LPG สัดส่วนการจัดหา LPG โรงแยกก๊าซ โรงกลั่นน้ำมัน 2561* พันตัน/เดือน นำเข้า รวมทั้งสิ้น 584 พันตัน/เดือน * เดือน ม.ค.-ส.ค. หมายเหตุ : 1. LPG หมายถึง LPG โพรเพน และบิวเทน 2. ปี 2558-2559 การนำข้า LPG ลดลง ตามความต้องการใช้ในประเทศที่ลดลง 3. ปี 2560 การนำเข้าเริ่มเพิ่มขึ้น จากนโยบายเปิดเสรีธุรกิจ LPG ทั้งระบบ ตั้งแต่ 1 ส.ค. 2560 ทำให้มีบริษัทเอกชนเริ่มนำเข้า LPG มากขึ้น การจัดหา LPG 6.8%

รวมทั้งสิ้น 549 พันตัน/เดือน การใช้ LPG สัดส่วนการใช้ LPG ปิโตรเคมี ครัวเรือน 2561* พันตัน/เดือน ขนส่ง อุตสาหกรรม ใช้เอง รวมทั้งสิ้น 549 พันตัน/เดือน * เดือน ม.ค.-ส.ค. LPG หมายเหตุ : 1. LPG หมายถึง LPG โพรเพน และบิวเทน 2. ใช้เอง หมายถึง ผู้ผลิตใช้เป็นเชื้อเพลิงในกระบวนการผลิตเอง 3. ปี 2556 – 2557 การใช้ LPG ภาคครัวเรือนลดลง โดยเพิ่มขึ้นในภาคขนส่งจากมาตรการสกัดกั้นการลักลอบ จำหน่าย LPG ผิดประเภท และจำกัดโควต้าโรงบรรจุ LPG 4. ปี 2558-2559 การใช้ LPG ภาคขนส่ง และปิโตรเคมีลดลง จากมาตรการปรับโครงสร้างราคา LPG ให้สะท้อน ต้นทุนที่แท้จริง โดยการใช้ LPG ในภาคขนส่งลดลงเนื่องจากผู้ใช้รถยนต์บางส่วนกลับไปใช้น้ำมันซึ่งมีราคาถูกลง ทดแทน ด้านภาคปิโตรเคมีลดลงเนื่องจากมีการเปลี่ยนไปใช้แนฟทาในการทำ cracking แทน LPG การใช้ LPG 10.1%

ก๊าซธรรมชาติ

การจัดหาก๊าซธรรมชาติ เดือน ม.ค.-ส.ค. 2561 การจัดหาก๊าซธรรมชาติ 4,944 MMSCFD 1.0% ผลิตในประเทศ นำเข้า เมียนมา ยาดานา 9% เยตากุน 3% ซอติก้า 5% การจัดหาก๊าซธรรมชาติลดลง ทั้งจากการผลิต ของแหล่งก๊าซส่วนใหญ่ ในประเทศ อาทิ แหล่งเอราวัณ บงกช ทานตะวัน เป็นต้น เช่นเดียวกับการนำเข้าที่ลดลง 71% 29% 17% 3,531 MMSCFD 1,412MMSCFD LNG 0.8% 1.5% 12% 4,695 MMSCFD 0.5% การใช้ก๊าซธรรมชาติ 1 ภาพ = 400 MMSCFD NGV 5% การใช้ก๊าซธรรมชาติเพิ่มขึ้นจากการใช้ในภาคอุตสาหกรรม และการใช้ในโรงแยกก๊าซ ที่เพิ่มขึ้น ขณะที่การใช้เพื่อผลิตไฟฟ้า และการใช้ใน ภาคขนส่ง (NGV) ลดลง อุตสาหกรรม 16% โรงแยกก๊าซ 22% ผลิตไฟฟ้า 57% หมายเหตุ: เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

สัดส่วนการจัดหาก๊าซธรรมชาติ ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน (MMSCFD) 1.5% ผลิตในประเทศ ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน (MMSCFD) 2561* นำเข้าจากเมียนมา นำเข้า LNG 0.8% รวมทั้งสิ้น 4,944 MMSCFD * เดือน ม.ค.-ส.ค. การจัดหาก๊าซธรรมชาติ 1.0% หมายเหตุ : นำเข้า LNG ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2554 นำเข้า NG จากแหล่งซอติกา ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2557

การใช้ก๊าซธรรมชาติรายสาขา ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน (MMSCFD) สัดส่วน การใช้ก๊าซธรรมชาติรายสาขา ผลิตไฟฟ้า ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน (MMSCFD) 2561* โรงแยกก๊าซ อุตสาหกรรม NGV รวมทั้งสิ้น 4,695 MMSCFD การใช้ก๊าซธรรมชาติ 0.5% * เดือน ม.ค.-ส.ค.

การใช้ NGV หน่วย : MMSCFD หน่วย : ตัน/วัน 2557 2557 2558 2558 2559 2560 2560 2561 220 MMSCFD 2561 6,120 ตัน/วัน การใช้ NGV ลดลงต่อเนื่องตั้งแต่ไตรมาสสามของปี 2558 เนื่องจากราคาขายปลีกน้ำมันลดลง ผู้ใช้รถยนต์จึงหันไปใช้น้ำมันแทน โดยการใช้ในช่วง 8 เดือนแรกของปี 2561 ลดลง 8.9%

ถ่านหิน/ลิกไนต์

การจัดหาถ่านหิน/ลิกไนต์ การใช้ถ่านหิน/ลิกไนต์ เดือน ม.ค.-ส.ค. 2561 การจัดหาถ่านหิน/ลิกไนต์ 26,851 พันตัน 1.6% 9,545 พันตัน 37% 11.6% ผลิตในประเทศ 63% นำเข้า การจัดหาถ่านหิน/ลิกไนต์เพิ่มขึ้น โดยเป็นการเพิ่มขึ้นของการนำเข้าถ่านหินตามความต้องการใช้ที่เพิ่มขึ้น แม่เมาะ 36% อื่นๆ 1% 17,053 พันตัน 11.1% 12,824 KTOE 4.7% การใช้ถ่านหิน/ลิกไนต์ 1 ภาพ = 800 KTOE การใช้ถ่านหิน/ลิกไนต์เพิ่มขึ้น โดยเพิ่มขึ้นจาก การใช้ถ่านหินทั้งในภาค การผลิตไฟฟ้าและภาค อุตสาหกรรม ขณะที่การใช้ลิกไนต์ลดลง 51% อุตสาหกรรม ผลิตไฟฟ้า 49% หมายเหตุ: เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ การจัดหาถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ สัดส่วนการจัดหา ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ 54% 56% 58% 50% 59% พันตัน 2561* 3% 2% 1% 1% 2% 63% 47% 44% 43% 41% 39% 1% 36% รวมทั้งสิ้น 26,851 พันตัน * เดือน ม.ค.-ส.ค. การจัดหาถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ 1.6 % หมายเหตุ : อื่นๆ หมายถึง ลิกไนต์ของเหมืองเอกชน ภายในประเทศที่ไม่ใช่เหมืองแม่เมาะ

ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ (KTOE) การใช้ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ สัดส่วนการใช้ ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ 46% 48% 51% 44% 50% พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ (KTOE) 2561* 51% 54% 52% 56% 50% 49% 49% รวมทั้งสิ้น 12,824 KTOE การใช้ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ 4.7% * เดือน ม.ค.-ส.ค.

ไฟฟ้า

ไฟฟ้า 0.9% 42,715 MW* 0.7% 1.1% 136,385 GWh* 29,968 MW 124,987 GWh เดือน ม.ค.-ส.ค. 2561 การจัดหาไฟฟ้า การผลิตไฟฟ้า กำลังผลิตตามสัญญา EGAT 37% IPP 35% SPP 19% Import 9% 0.9% การผลิตไฟฟ้าเพิ่มขึ้นจากปีก่อน โดยใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าเพิ่มขึ้นเกือบทุกประเภท ยกเว้นการผลิตไฟฟ้า จากก๊าซธรรมชาติและน้ำมันที่ลดลง 42,715 MW* 136,385 GWh* ณ เดือน ส.ค. 2561 *ไม่รวมผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (VSPP) และผู้ผลิตไฟฟ้าใช้เอง (IPS) *ไม่รวมการผลิตไฟฟ้าของ IPS การใช้ไฟฟ้า Peak ในระบบ 3 การไฟฟ้า 24 25 47 0.1 0.2 2 Share (%)  2.1  0.2  3.6 Growth  3.8 ครัวเรือน ธุรกิจ อุตสาหกรรม องค์กรไม่แสวงหากำไร เกษตรกรรม ประเภท ไฟไม่คิดมูลค่า อื่นๆ (คือ ไฟฟ้าชั่วคราว และอื่นๆ) การใช้ไฟฟ้า 29,968 MW  0.5 0.7% ณ วันที่ 24 เม.ย. 2561 เวลา 13.51 น. ไม่รวม Peak ของ IPS 1.1% 124,987 GWh  1.2 ไม่รวมการใช้ไฟฟ้าของ IPS  5.1 การใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นจากภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจ ตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวของประเทศ ทั้งนี้ปัจจัยที่ทำให้การใช้ไฟฟ้าไม่สูงมากนัก เนื่องจากสภาพอากาศหนาวเย็นต่อเนื่องในช่วงต้นปี และมีฝนตกชุก ประกอบกับมีผู้ผลิตไฟฟ้าใช้เอง (IPS) และ SPP นอกระบบเพิ่มขึ้น หมายเหตุ: เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

กำลังผลิตตามสัญญาในระบบไฟฟ้า ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2561 9% 9% 9 % 9% 15% 18% 19% 7% 13% 10% เมกะวัตต์ (MW) 36% 35% 35% 38% 38% 2561* 45% 40% 40% 38% 37% รวมทั้งสิ้น 42,715 MW หมายเหตุ : กำลังผลิตตามสัญญาในระบบไฟฟ้า ในที่นี้ยังไม่รวมข้อมูลของผู้ผลิตไฟฟ้า ขนาดเล็กมาก (VSPP) และผู้ผลิตไฟฟ้า ใช้เอง (IPS) กำลังผลิตตามสัญญาในระบบไฟฟ้า ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2561 เพิ่มขึ้น เนื่องจากมีผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) เข้าระบบเพิ่มเติม ได้แก่ บริษัท มิตรผล ไบโอ-พาวเวอร์ (ภูหลวง) จํากัด โครงการ 2 กำลังการผลิตตามสัญญา 21 MW ใช้กากอ้อยเป็นเชื้อเพลิง * เดือน ส.ค.

จากเชื้อเพลิงชนิดต่างๆ กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) การผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงชนิดต่างๆ สัดส่วนการผลิตไฟฟ้า จากเชื้อเพลิงชนิดต่างๆ พลังงานหมุนเวียน นำเข้า ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) 2561* ก๊าซธรรมชาติ รวมทั้งสิ้น 136,385 GWh หมายเหตุ : การผลิตไฟฟ้าในที่นี้ยังไม่รวมการผลิต ไฟฟ้าของผู้ผลิตไฟฟ้าใช้เอง (IPS) การผลิตไฟฟ้า 0.9% จากการผลิตไฟฟ้าจากพลังน้ำ พลังงานหมุนเวียน ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ และไฟฟ้านำเข้าที่เพิ่มขึ้น ขณะที่การผลิตไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติ และน้ำมันลดลง * เดือน ม.ค.-ส.ค.

การใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้า EGAT ลดลงทุกประเภทเชื้อเพลิง การใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าของ กฟผ. 5.7% 12.1% 31.1% 56.7% น้ำมันเตา ดีเซล ก๊าซธรรมชาติ ลิกไนต์ (ล้านลิตร) (ล้านลิตร) (MMSCFD) (ล้านตัน) * เดือน ม.ค.-ส.ค. การใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้า EGAT ลดลงทุกประเภทเชื้อเพลิง

ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดในระบบ 3 การไฟฟ้า 24 เม.ย. 2561 เวลา 13.51 น. 29,968 MW 1.1% Peak 4 พ.ค. 2560 เวลา 14:20 น. 30,303 MW 2561 2560 เมกะวัตต์ (MW) 2559 หมายเหตุ : ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดในระบบ 3 การไฟฟ้า ยังไม่รวมผู้ผลิตไฟฟ้าใช้เอง (IPS)

กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) การใช้ไฟฟ้าในระบบ 3 การไฟฟ้า สัดส่วนการใช้ไฟฟ้า กฟภ. (PEA) 8.7% 0.6% กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) 2561* กฟน. (MEA) 1.4% ลูกค้าตรง EGAT รวมทั้งสิ้น 124,987 GWh การใช้ไฟฟ้า 0.73% หมายเหตุ : การใช้ไฟฟ้าในที่นี้ยังไม่รวมการใช้ไฟฟ้า ของผู้ผลิตไฟฟ้าใช้เอง (IPS) * เดือน ม.ค.-ส.ค.

กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) ปริมาณการใช้ไฟฟ้ารายสาขา ปี 2561* ประเภท Growth (%) Share (%) ครัวเรือน  0.5 24 ธุรกิจ  2.1 25 อุตสาหกรรม  0.2 47 องค์กรไม่แสวงหากำไร**  1.2 0.1 เกษตรกรรม***  5.1 0.2 อื่นๆ****  3.6 2 ไฟฟ้าไม่คิดมูลค่า  3.8 อุตสาหกรรม กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) 2561* ธุรกิจ ครัวเรือน ส่วนราชการฯ เกษตรกรรม*** ไฟฟ้าไม่คิดมูลค่า อื่นๆ**** ** ตั้งแต่เดือน ต.ค. 2555 เป็นต้นไป ผู้ใช้ไฟฟ้าที่เป็นหน่วยงานราชการจะถูกจัดเข้าประเภทธุรกิจ/กิจการขนาดเล็ก แล้วแต่กรณี *** การใช้ไฟฟ้าในสาขาเกษตรกรรม ได้แก่ การใช้ไฟฟ้าในการสูบน้ำเพื่อการเกษตร **** อื่นๆ ได้แก่ ไฟฟ้าชั่วคราว และอื่นๆ หมายเหตุ : ไม่รวมการใช้ไฟฟ้าของผู้ผลิตไฟฟ้าใช้เอง (IPS) * เดือน ม.ค.-ส.ค.

กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) การจำหน่ายไฟฟ้าจำแนกตามประเภทอัตราค่าไฟฟ้า ปี 2561* ประเภท Growth (%) Share (%) บ้านอยู่อาศัย  0.5 24 กิจการขนาดเล็ก  0.7 11 กิจการขนาดกลาง  1.5 16 กิจการขนาดใหญ่ 40 กิจการเฉพาะอย่าง 3 องค์กรไม่แสวงหากำไร**  1.2 0.1 สูบน้ำการเกษตร  5.1 0.2 ไฟฟ้าชั่วคราว  3.2 1 อื่นๆ***  1.6 ลูกค้าตรง กฟผ.  8.7 กิจการขนาดใหญ่ กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) กิจการขนาดกลาง กิจการขนาดเล็ก บ้านอยู่อาศัย กิจการเฉพาะอย่าง ส่วนราชการฯ สูบน้ำการเกษตร ไฟฟ้าชั่วคราว อื่นๆ*** ลูกค้าตรง กฟผ. ** ตั้งแต่เดือน ต.ค. 2555 เป็นต้นไป ผู้ใช้ไฟฟ้าที่เป็นหน่วยงานราชการจะถูกจัดเข้าประเภทกิจการขนาดเล็ก/กลาง/ใหญ่ แล้วแต่กรณี *** อื่นๆ ได้แก่ ประเภทไฟฟ้าสำรอง ประเภทที่สามารถงดจ่ายไฟฟ้าได้ และการใช้ไฟฟ้าที่ไม่คิดมูลค่า หมายเหตุ : ไม่รวมการใช้ไฟฟ้าของผู้ผลิตไฟฟ้าใช้เอง (IPS) * เดือน ม.ค.-ส.ค.

กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) การจำหน่ายไฟฟ้าของกลุ่มอุตสาหกรรมที่สำคัญ อาหาร เหล็กและโลหะพื้นฐาน อิเล็กทรอนิกส์ กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) ยานยนต์ สิ่งทอ พลาสติก ซีเมนต์ ยางและผลิตภัณฑ์ยาง การผลิตน้ำแข็ง เคมีภัณฑ์ ปี 2561* อาหาร เหล็กและโลหะพื้นฐาน สิ่งทอ อิเล็กทรอนิกส์ พลาสติก ยานยนต์ ซีเมนต์ เคมีภัณฑ์ ยางและผลิตภัณฑ์ยาง การผลิตน้ำแข็ง Growth (%)  1.7  3.3  12.0  2.2  1.7  6.8  3.6  2.6  1.0 * เดือน ม.ค.-ส.ค.

กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) โรงพยาบาล/สถานบริการ การจำหน่ายไฟฟ้าของกลุ่มธุรกิจที่สำคัญ ห้างสรรพสินค้า อพาร์ทเมนต์ โรงแรม ขายปลีก กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) อสังหาริมทรัพย์ ขายส่ง โรงพยาบาล ภัตตาคารและไนต์คลับ สถาบันการเงิน ก่อสร้าง ปี 2561* ห้างสรรพ สินค้า โรงแรม อพาร์ตเมนต์ และเกสต์เฮาส์ ขายปลีก อสังหา ริมทรัพย์ โรงพยาบาล/สถานบริการ ทางการแพทย์ ขายส่ง สถาบันการเงิน ก่อสร้าง ภัตตาคาร และไนต์คลับ Growth (%)  0.1  3.4  3.0  0.5  2.1  1.3  2.0  14.7  0.7 * เดือน ม.ค.-ส.ค.

มูลค่าพลังงาน

มูลค่าและราคาพลังงาน เดือน ม.ค. - ส.ค. 2561 มูลค่าพลังงาน หมายเหตุ: เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน มูลค่าการนำเข้าพลังงาน มูลค่าการส่งออกพลังงาน มูลค่าการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย 27.4% 42.3% 9.1% 807 พันล้านบาท 184 พันล้านบาท 1,504 พันล้านบาท ราคา LNG หน่วย : เหรียญสหรัฐ/MMBtu 10.9 ราคาพลังงาน ราคาน้ำมันดิบตลาดโลก หน่วย : เหรียญสหรัฐ/บาร์เรล 68.0 เวสเท็กซัส 73.7 เบรนท์ 72.5 ดูไบ หมายเหตุ : ราคาเฉลี่ยเดือน ส.ค. 2561 Spot ราคาน้ำมันสำเร็จรูปตลาดสิงคโปร์ 68.1 น้ำมันเตา 87.9 ดีเซล 84.8 เบนซิน ราคานำเข้า LPG หน่วย : เหรียญสหรัฐ/ตัน 588 CP มูลค่าการใช้น้ำมันสำเร็จรูป 10.8% 877 พันล้านบาท มูลค่าพลังงานทุกประเภทเพิ่มขึ้นตามราคาน้ำมันดิบตลาดโลก ที่ทรงตัวอยู่ในระดับสูง ราคาน้ำมันดิบตลาดโลกเดือน ส.ค. มีแนวโน้มลดลงเล็กน้อย ในขณะที่ราคาเบนซิน ดีเซล LPGนำเข้า และ LNG (Spot) เพิ่มขึ้น

สัดส่วนมูลค่าการนำเข้าพลังงาน 8 % 8 % 10 % 14 % พันล้านบาท 7% 12 % 12% 2561* 11% 76 % 70% 9% 13% 65% 63% 67% 67% รวมนำเข้า 807 พันล้านบาท หมายเหตุ : ตั้งแต่ปี 2558 มูลค่าการนำเข้าพลังงานลดลงมาก เนื่องจากราคาน้ำมันในตลาดโลกลดลง อย่างไรก็ตาม ในปี 2560 ราคาน้ำมันในตลาดโลกได้ปรับตัวเพิ่มขึ้น มูลค่าการนำเข้าพลังงาน 27.4% * เดือน ม.ค. – ส.ค.

สัดส่วนมูลค่าการส่งออกพลังงาน 1 % 2 % 4 % 2 % พันล้านบาท 91 % 2561* 95 % 3 % 96% 88 % 88% 89 % 8 % 3 % 9 % 10 % รวมส่งออก 184 พันล้านบาท หมายเหตุ : ระหว่างเดือนกันยายน 2557 ถึงเดือนพฤศจิกายน 2558 ไม่มีการส่งออก น้ำมันดิบตามนโยบายรัฐบาล โดยกลับมามีการส่งออกน้ำมันดิบอีกครั้ง จากแหล่งวาสนา แหล่งสงขลา แหล่งนงเยาว์ แหล่งมโนราห์ และแหล่งบัวหลวง เนื่องจากน้ำมันจากแหล่งดังกล่าวมีคุณภาพไม่ตรงกับ ความต้องการของโรงกลั่นน้ำมันในประเทศ มูลค่าการส่งออกพลังงาน 42.3% * เดือน ม.ค. – ส.ค.

การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย รวมทั้งสิ้น 1,504 พันล้านบาท มูลค่าการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย สัดส่วนมูลค่า การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย 5 % 6 % 5% 5% 7 % 6 % 5 % 5 % 28% 29% 5 % 32 % 31 % 33 % พันล้านบาท 2561* 30 % 60% 59% 55 % 55 % 58 % 58% รวมทั้งสิ้น 1,504 พันล้านบาท มูลค่าการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย 9.1% * เดือน ม.ค. – ส.ค.

การใช้น้ำมันสำเร็จรูป รวมทั้งสิ้น 877 พันล้านบาท มูลค่าการใช้น้ำมันสำเร็จรูป สัดส่วนมูลค่า การใช้น้ำมันสำเร็จรูป 11% 12% 4% 4% 9% 11% 4% 15% 15% 9% 3% 4% 13% 15% 14% พันล้านบาท 2561* 47% 47% 47% 49% 50% 51% 23% 24% 23% 24% 24% 24% รวมทั้งสิ้น 877 พันล้านบาท มูลค่าการใช้น้ำมันสำเร็จรูป 10.8 % * เดือน ม.ค. – ส.ค.

ราคาพลังงาน

เปรียบเทียบราคาขายปลีกพลังงาน น้ำมันเตา * 717 บาท/ล้าน BTU ก๊าซธรรมชาติ * 255 ถ่านหินนำเข้า ** 91 *ราคาขายปลีกเฉลี่ย **เป็นราคาเฉลี่ยนำเข้าของไทย (CIF) ราคารายเดือน ถึงเดือน ส.ค. 2561

การปล่อย CO2 จากการใช้พลังงานของประเทศ

การปล่อย CO2 จากการใช้พลังงาน เดือน ม.ค. –ส.ค. 2561 การปล่อย CO2 รายสาขา 175.9 ล้านตัน CO2 1.50% หมายเหตุ: เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ผลิตไฟฟ้า 36% อุตสาหกรรม 32% อื่นๆ* 6% ขนส่ง 26% *ภาคอื่นๆ หมายถึง ภาคครัวเรือน เกษตรกรรม พาณิชยกรรม และอื่นๆ 63.8 ล้านตัน CO2 55.5 ล้านตัน CO2 11.1 ล้านตัน CO2 45.5 ล้านตัน CO2 การปล่อย CO2 ต่อการใช้พลังงาน การปล่อย CO2 ต่อ GDP 2.00 การปล่อย CO2 ต่อหัวประชากร 0.61 การปล่อย CO2 ต่อหน่วยการผลิตไฟฟ้า พันตัน CO2/KTOE กิโลกรัม CO2/เหรียญสหรัฐ ณ ปีฐาน ค.ศ. 2005 3.90 0.468 ไทยปล่อย CO2 ต่อการใช้พลังงานต่ำกว่าค่าเฉลี่ยโลก ค่าเฉลี่ยของประเทศในเอเชีย สหรัฐอเมริกา จีน และสหภาพยุโรป ข้อมูล ณ ปี 2560 ตัน CO2/หัวประชากร กิโลกรัม CO2/ kWh ไทยปล่อย CO2 ต่อ GDP ต่ำกว่าจีน และค่าเฉลี่ยของประเทศในเอเชีย แต่สูงกว่าค่าเฉลี่ยโลก สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป ข้อมูล ณ ปี 2560 ไทยปล่อย CO2 ต่อหัว ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยโลก สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และจีน แต่สูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศในเอเชีย ไทยปล่อย CO2 ต่อหน่วยการผลิตไฟฟ้า ต่ำกว่าจีน และค่าเฉลี่ยของประเทศในเอเชีย แต่สูงกว่าสหภาพยุโรป และประเทศพัฒนาแล้ว ในทวีปอเมริกา การใช้พลังงาน หมายถึงการใช้พลังงานขั้นต้น รวมถึงการใช้พลังงานทดแทน

การปล่อยก๊าซ CO2 จากการใช้พลังงานรายสาขาเศรษฐกิจ จากการใช้พลังงาน รายสาขาเศรษฐกิจ การผลิตไฟฟ้า ล้านตัน CO2 อุตสาหกรรม ขนส่ง 2561* อื่นๆ รวมทั้งสิ้น 175.9 ล้านตัน CO2 * เดือน ม.ค.-ส.ค. การปล่อยก๊าซ CO2 1.50% จากช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยเพิ่มขึ้นเกือบทุกสาขา ได้แก่ อุตสาหกรรม ขนส่ง และสาขาเศรษฐกิจอื่นๆ หมายเหตุ : สาขาเศรษฐกิจอื่นๆ หมายถึง ภาคครัวเรือน เกษตรกรรม พาณิชยกรรม และกิจกรรมอื่นๆ

การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อการใช้พลังงาน * เดือน ม.ค.-ส.ค. พันตัน CO2/ KTOE 2.04 2.00 การใช้พลังงาน หมายถึงการใช้พลังงานขั้นต้นโดยรวมถึงการใช้พลังงานทดแทน พันตัน CO2/KTOE พ.ศ. 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 CO2 2.04 2.13 2.18 2.26 2.25 2.27 2.17 2.14 2.10 พ.ศ. 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561* CO2 2.08 2.06 2.03 2.00 2.04 1.97 1.98 1.99 1.95

การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อหัวประชากร 3.90 2.59 จำนวนประชากร จากกรมการปกครอง (ปค.) กระทรวงมหาดไทย ตัน CO2/หัวประชากร พ.ศ. 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 CO2 2.59 2.65 2.37 2.43 2.44 2.46 2.60 2.73 3.02 3.09 3.08 พ.ศ. 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 CO2 3.18 3.21 3.28 3.45 3.50 3.74 3.85 3.88 3.92 3.90

การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อ GDP 29.05 25.29 ตัน CO2/ล้านบาท GDP (CVM) จากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ ปีอ้างอิง พ.ศ. 2545 (ค.ศ. 2002) พ.ศ. 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 CO2 29.05 30.93 30.24 29.80 28.71 28.25 28.35 27.82 28.51 28.12 26.88 พ.ศ. 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 CO2 26.47 26.37 27.20 26.80 27.04 27.08 26.51 27.13 26.33 25.29

การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อหน่วยการผลิตไฟฟ้า กิโลกรัม CO2/kWh * เดือน ม.ค.-ส.ค. 0.640 0.468 กิโลกรัม CO2/kWh พ.ศ. 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 CO2 0.640 0.633 0.609 0.648 0.656 0.636 0.646 0.634 0.604 0.587 0.573 0.581 0.571 พ.ศ. 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561* CO2 0.571 0.570 0.560 0.551 0.530 0.532 0.507 0.493 0.471 0.468 การผลิตไฟฟ้าในที่นี้ หมายถึง การผลิตไฟฟ้ารวม (Gross Energy Generation) ของระบบ กฟผ. และการผลิตไฟฟ้าสุทธิ (Net Energy Generation) ของ IPP, SPP และ VSPP

ดัชนีชี้วัดพลังงาน

ความมั่นคงด้านพลังงาน ดัชนีชี้วัดพลังงาน เดือน ม.ค.–ส.ค.2561 ความมั่นคงด้านพลังงาน ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน พลังงานและสิ่งแวดล้อม 56 อัตราส่วนการพึ่งพาตนเองในการจัดหาพลังงาน ขั้นต้น** (%) 3.93 ปริมาณการผลิตไบโอดีเซล B100* (ล้านลิตร/วัน) สัดส่วนมูลค่าพลังงาน*** มูลค่าการนำเข้า พลังงานต่อมูลค่า การนำเข้าทั้งหมด (%) มูลค่าการส่งออก พลังงานต่อมูลค่า การส่งออกทั้งหมด (%) 12.6 2.7 R/P ratio*** น้ำมันดิบ (ปี) ก๊าซธรรมชาติ (ปี) 3 5 4.02 ปริมาณการผลิตเอทานอล* (ล้านลิตร/วัน) 1.1408 ความยืดหยุ่นการใช้ไฟฟ้า (พ.ศ. 2551-2560) 8.5 ความเข้มข้นของการใช้พลังงาน (EI)*** (TOE/ล้านบาท) 0.9155 ความยืดหยุ่นการใช้พลังงาน (EE) (พ.ศ. 2551-2560) 18.1 การใช้ไฟฟ้าต่อ GDP*** (GWh/ล้านบาท) 1.32 การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายต่อหัวประชากร*** (TOE/หัวประชากร) 2,796 การใช้ไฟฟ้า ต่อหัวประชากร*** (kWh/หัวประชากร) 2.00 การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อการใช้พลังงาน** (พันตัน CO2/KTOE) 3.90 การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อหัวประชากร*** (ตัน CO2/หัวประชากร) 25.29 การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อ GDP*** (ตัน CO2/ล้านบาท) 0.468 การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อหน่วยการผลิตไฟฟ้า** (กิโลกรัม CO2/kWh) หลักเกณฑ์การเปรียบเทียบดัชนีชี้วัดพลังงาน (เปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า) ความมั่นคงด้านพลังงาน R/P ratio : จำนวนปี R/P ratio มากกว่าปีก่อนหน้า ดี (หน้ายิ้ม) : จำนวนปี R/P ratio น้อยกว่าปีก่อนหน้า แย่ (หน้าบึ้ง) อัตราส่วนการพึ่งพาตนเองในการจัดหาพลังงานขั้นต้น : มากกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า ดี (หน้ายิ้ม) : น้อยกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า แย่ (หน้าบึ้ง) : เท่ากับช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า ปกติ (หน้าปกติ) ปริมาณการผลิตไบโอดีเซล B100 และการผลิตเอทานอล : ปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น ดี (หน้ายิ้ม) : ปริมาณการผลิตลดลง แย่ (หน้าบึ้ง) สัดส่วนมูลค่าการนำเข้าพลังงานต่อมูลค่าการนำเข้าทั้งหมด : สัดส่วนมูลค่าการนำเข้าพลังงานลดลง ดี (หน้ายิ้ม) : สัดส่วนมูลค่าการนำเข้าพลังงานสูงขึ้น แย่ (หน้าบึ้ง) สัดส่วนมูลค่าการส่งออกพลังงานต่อมูลค่าการส่งออกทั้งหมด : สัดส่วนมูลค่าการส่งออกพลังงานสูงขึ้น ดี (หน้ายิ้ม) : สัดส่วนมูลค่าการส่งออกพลังงานลดลง แย่ (หน้าบึ้ง) ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ความยืดหยุ่นการใช้พลังงาน / ความยืดหยุ่นการใช้ไฟฟ้า : ค่าระหว่าง 0.95 – 1.05 คงที่ (หน้าปกติ) : ค่าต่ำกว่า 0.95 ดี (หน้ายิ้ม) : ค่าสูงกว่า 1.05 แย่ (หน้าบึ้ง) ความเข้มข้นการใช้พลังงาน / การใช้ไฟฟ้าต่อ GDP / การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายต่อหัวประชากร / การใช้ไฟฟ้าต่อหัวประชากร : ค่าต่อหน่วยลดลง ดี (หน้ายิ้ม) : ค่าต่อหน่วยเพิ่มขึ้น แย่ (หน้าบึ้ง) พลังงานและสิ่งแวดล้อม การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อการใช้พลังงาน / ต่อหัวประชากร / ต่อ GDP / ต่อหน่วยการผลิตไฟฟ้า = ดี = ปกติ = ควรปรับปรุง เปรียบเทียบกับค่าดัชนีชี้วัดพลังงานช่วงเดียวกัน ของปีก่อนหน้า ยกเว้น ความยืดหยุ่นการใช้พลังงาน และความยืดหยุ่นการใช้ไฟฟ้า เปรียบเทียบกับค่า 1.0 หมายเหตุ : * คือข้อมูล ณ เดือน ส.ค.ปี 2561 ** คือข้อมูล ช่วงเดือน ม.ค.-ส.ค.ปี 2561 *** คือข้อมูล ปี 2560

การผลิตพลังงานขั้นต้น KTOE รวมทั้งสิ้น ก๊าซธรรมชาติ พลังงานทดแทน น้ำมันดิบ* ลิกไนต์ ที่มา: ชธ., กพร., กฟผ., พพ. *น้ำมันดิบและคอนเดนเสท หมายเหตุ: พลังงานทดแทน ส.ค.61 เป็นข้อมูลเบื้องต้น

การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย KTOE รวมทั้งสิ้น น้ำมัน ไฟฟ้า พลังงานทดแทน ถ่านหิน/ลิกไนต์ ก๊าซธรรมชาติ ที่มา: สนพ., พพ. หมายเหตุ: พลังงานทดแทน ส.ค.61 เป็นข้อมูลเบื้องต้น

อัตราส่วนปริมาณสำรองต่อการผลิต (R/P ratio) จำนวนปี ลิกไนต์ น้ำมันดิบ คอนเดนเสท ก๊าซธรรมชาติ ที่มา : ชธ. หมายเหตุ : R/P Ratio ของลิกไนต์ คำนวณโดย สนพ. R = ปริมาณสำรองที่พิสูจน์แล้ว

อัตราส่วนการพึ่งพาตนเองในการจัดหาพลังงานขั้นต้น % *เดือน ม.ค.-ส.ค.61 (เดือนส.ค.เป็นข้อมูลเบื้องต้น) อัตราส่วนการพึ่งพาตนเองในการจัดหาพลังงานขั้นต้น = (การผลิตพลังงานขั้นต้น/ การจัดหาพลังงานขั้นต้น ) x 100 ที่มา: ชธ., ธพ., พพ., กพร., ศก., กฟผ., ปตท.

อัตราส่วนการพึ่งพาตนเองรายเชื้อเพลิง % 71% ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน/ลิกไนต์ 19% น้ำมัน** 20% อัตราส่วนการพึ่งพาตนเอง = (การผลิตพลังงาน/ การจัดหาพลังงาน ) x 100 *เดือน ม.ค.-ส.ค.61 **น้ำมันดิบและคอนเดนเสท ที่มา: ชธ., ธพ., พพ., กพร., ศก., กฟผ., ปตท.

การนำเข้าน้ำมันดิบ % อื่นๆ ตะวันออกไกล ตะวันออกกลาง ที่มา: ธพ. 23 15 *เดือน ม.ค.-ส.ค.61

นำเข้าจากประเทศเมียนมา การนำเข้าก๊าซธรรมชาติและ LNG % LNG 42 นำเข้าจากประเทศเมียนมา 58 ที่มา: ปตท. *เดือน ม.ค.-ส.ค.61

สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า % พลังงานหมุนเวียน 9 พลังน้ำ นำเข้า 12 น้ำมัน ถ่านหิน/ลิกไนต์ 4 18 ก๊าซธรรมชาติ 57 ที่มา : กฟผ., PEA, กฟน. *เดือน ม.ค.-ส.ค.61

ปริมาณการผลิตไบโอดีเซล B100 ล้านลิตร/วัน 3.93 2.76 ล้านลิตร/วัน พ.ศ. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 2559 4.11 4.19 4.29 4.23 4.26 3.72 3.82 2.76 1.89 1.55 2.33 3.27 2560 3.17 3.43 3.31 3.34 4.17 4.60 4.16 4.21 4.20 3.81 4.13 4.38 2561 4.62 5.20 4.67 4.44 4.08 3.96 3.93 ที่มา : พพ.

ปริมาณการผลิตเอทานอล ล้านลิตร/วัน 3.38 4.02 ล้านลิตร/วัน พ.ศ. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 2559 3.38 3.57 3.61 2.79 2.65 3.26 3.54 3.49 3.32 3.62 2560 4.24 4.58 4.31 3.56 4.30 3.69 4.38 3.92 3.79 2561 4.64 4.69 4.44 3.51 3.88 4.10 3.89 4.02 ที่มา : พพ.

สัดส่วนมูลค่าการนำเข้าพลังงานต่อมูลค่าการนำเข้าทั้งหมด % ที่มา: ธปท., สนพ.

สัดส่วนมูลค่าการส่งออกพลังงานต่อมูลค่าการส่งออกทั้งหมด % ที่มา: ธปท., สนพ.

Source: NESDB, EPPO, DEDE ความยืดหยุ่นการใช้พลังงาน ความยืดหยุ่นการใช้พลังงาน (Energy Elasticity) พ.ศ. 2551-2560 Energy Elasticity ช่วง 10 ปี Remark: Final Energy Demand Included Renewable Energy Source: NESDB, EPPO, DEDE

Source: NESDB, MEA, PEA, EGAT ความยืดหยุ่นการใช้ไฟฟ้า ความยืดหยุ่นการใช้ไฟฟ้า (Electricity Elasticity) พ.ศ. 2551-2560 Electricity Elasticity ช่วง 10 ปี Remark: Final Energy Demand Included Renewable Energy Source: NESDB, MEA, PEA, EGAT

ความเข้มข้นของการใช้พลังงาน (Energy Intensity) TOE/ล้านบาท ความเข้มข้นของการใช้พลังงาน (Energy Intensity : EI) = การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย (Final Energy Consumption :FEC) / GDP GDP : chain volume measures (reference year = 2002) จาก สศช. ที่มา : สศช., สนพ., พพ.

การใช้ไฟฟ้าต่อ GDP GWh/ล้านบาท ELC = การใช้ไฟฟ้า (Electricity Consumption) GDP : chain volume measures (reference year = 2002) จาก สศช. ที่มา : สศช., กฟผ., กฟน., PEA

การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายต่อหัวประชากร TOE/หัวประชากร 1.32 0.84 TOE/หัวประชากร พ.ศ. 2545 2546 2547 2548 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 FEC/POP 0.84 0.89 0.99 1.00 1.04 1.06 1.08 1.13 1.16 1.22 1.23 1.27 1.29 1.30 1.32 FEC = การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย (Final Energy Consumption) POP = จำนวนประชากร (Population) ที่มา: ปค., สนพ., พพ.

การใช้ไฟฟ้าต่อหัวประชากร kWh/หัวประชากร 2,796 1,593 kWh/หัวประชากร พ.ศ. 2545 2546 2547 2548 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 ELC/POP 1,593 1,693 1,858 1,943 2,035 2,111 2,138 2,128 2,337 2,323 2,510 2,537 2,590 2,660 2,770 2,796 ELC = การใช้ไฟฟ้า (Electricity Consumption) POP = จำนวนประชากร (Population) ที่มา : ปค., กฟผ., กฟน., PEA

การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อการใช้พลังงาน พันตัน CO2/ KTOE *เดือน ม.ค.-ส.ค. 2.17 1.95 การใช้พลังงาน หมายถึงการใช้พลังงานขั้นต้นโดยรวมถึงการใช้พลังงานทดแทน พันตัน CO2/KTOE พ.ศ. 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 CO2 2.17 2.14 2.13 2.10 2.08 2.06 2.03 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561* 2.00 2.04 1.97 1.98 1.99 1.95 ที่มา: สนพ., พพ.

การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อหัวประชากร 3.90 2.59 จำนวนประชากร จากกรมการปกครอง (ปค.) กระทรวงมหาดไทย ตัน CO2/หัวประชากร พ.ศ. 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 CO2 2.59 2.65 2.37 2.43 2.44 2.46 2.60 2.73 3.02 3.09 3.08 พ.ศ. 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 CO2 3.18 3.21 3.28 3.45 3.50 3.74 3.85 3.88 3.92 3.90 ที่มา: ปค., สนพ.

การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อ GDP 30.24 25.29 GDP (CVM) จากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ ปีอ้างอิง พ.ศ. 2545 ตัน CO2/ล้านบาท พ.ศ. 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 CO2 30.24 29.80 28.71 28.25 28.35 27.82 28.51 28.12 26.88 26.47 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 26.37 27.20 26.80 27.04 27.08 26.51 27.13 26.33 25.29 ที่มา: สศช., สนพ.

การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อหน่วยการผลิตไฟฟ้า กิโลกรัม CO2/kWh *เดือน ม.ค.-ส.ค. 0.646 0.468 การผลิตไฟฟ้าในที่นี้ หมายถึง การผลิตไฟฟ้ารวมของ EGAT และการผลิตไฟฟ้าสุทธิของ IPP, SPP และ VSPP กิโลกรัม CO2/kWh พ.ศ. 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 CO2 0.646 0.634 0.604 0.587 0.573 0.581 0.571 0.570 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561* 0.560 0.551 0.530 0.532 0.507 0.493 0.471 0.468 ที่มา: สนพ., กฟผ., กฟน., PEA