พัฒนาการของการคุ้มครองสิทธิในสิ่งแวดล้อม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Law on Natural Resource Management
Advertisements

สป./กรม สปสช. สสข.*(New) กสธ.ส่วนกลาง เครือข่ายบริการ คปสข. National Health Service Delivery Board สป./กรม สปสช. National Health Authority : Strategic.
Air Pollution สืบค้นจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ VTLS โดยใช้หัวเรื่องดังนี้ Air – Pollution Air – Analysis Air – Purification Air quality.
Principles of Environmental Law
ปัญหาวิกฤตสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
พัฒนาการของการคุ้มครองสิทธิในสิ่งแวดล้อม
ธรรมาภิบาล และ การปฏิรูปราชการ
กฎหมายคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
Principles of Environmental Law
Knowledge Management Reform to Innovation in Higher Education for The World Sustainable Development.
“JTEPA, RCEP and Projects Cooperation” สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย The Federation of Thai Industries By Mr. Boonpeng Santiwattanatam Vice Chairman of The.
หนังสือคู่มือของบริษัท เพิ่มสัญลักษณ์ของบริษัทที่นี่ เพื่อที่จะแทรกสัญลักษณ์ ของบริษัท ลงบน ภาพนิ่งนี้ จากเมนู ‘ แทรก ’ ให้เลือก ‘ รูปภาพ ’ ระบุตำแหน่งแฟ้ม.
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
The Second ASEAN+3 Seminar on Poverty Reduction
การค้าระบบใหม่ กับการเปลี่ยนแปลงของโลก
การควบคุมและกำกับดูแล
อ.หทัยกาญจน์ กำเหนิดเพชร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
เอกสารรายวิชา: : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
กฎหมายการค้าของเอกชนระหว่างประเทศ วิวัฒนาการซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์
Nangmaewpa.
บทที่ 1 แนวคิด ทฤษฎี และพัฒนาการของกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
นโยบายการพัฒนาสถานประกอบการเพื่อสุขภาพมุ่งสู่คุณภาพ
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อดิศักดิ์ สิงห์สีโว
ทรัพยากรธรรมชาติ และการใช้ทรัพยากร
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2560
Chapter I Introduction to Law and Environment
กลุ่มสัตว์ทดลอง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข 8 พฤศจิกายน 2559
(Product Liability: PL Law)
Techniques of Environmental Law
ปรัชญาทางการเมือง Political Philosophy
Thailand Standards TMC.WFME.BME. Standards (2017)
Globalization and the Law
บทที่ 1 ความเบื้องต้นเกี่ยวกับ ความรับผิดละเมิด
ระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมประเทศไทย
สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงแนวทางการพัฒนา
วิชา กฎหมายกับสังคม (Law and Society) (SSP 2403) อาจารย์ สุรศักดิ์ มีบัว สาขา สังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 1-4.
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
คุณค่าของระบบนิเวศต่อภาคธุรกิจ (The corporate ecosystem valuation)
กฎหมายอาญา(Crime Law)
ผศ. ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
บทที่ 2 วิวัฒนาการของกฎหมาย
กฎหมายสิ่งแวดล้อม : การฟ้องคดีสิ่งแวดล้อม
การบัญชีบริหารสิ่งแวดล้อม (Environmental Management Accounting)
การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและการจัดการ
หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับแผงลอยจำหน่ายอาหาร
Activity-Based-Cost Management Systems.
ผศ.ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
เกรกอร์ โยฮันน์ เมนเดล
วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค
Review - Techniques of Environmental Law
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ผู้สอนวิชากฎหมายธุรกิจและภาษีอากร(bus226)
อุทธรณ์,ฎีกา.
รศ.ดร. สุวลักษณ์ สาธุมนัสพันธุ์
แนวคิดและตัวอย่างวิธีการวิเคราะห์ เพื่อการถ่ายโอนภารกิจของส่วนราชการ
จงลุกขึ้น ... ฉายแสง ภารกิจที่ท้าทาย ผู้วินิจฉัย 6: 12.
การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพเพื่ออนาคต
Product Champion Cluster วัยเรียน : โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ตัวชี้วัดธรรมาภิบาล (Indicators of Good Governance)
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
การจัดการงานคลังและงบประมาณ ครั้งที่ 5 อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
Chapter I Introduction to Law and Environment
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พัฒนาการของการคุ้มครองสิทธิในสิ่งแวดล้อม ก่อนจะมาเป็น กฎหมายสิ่งแวดล้อม ยุคต่างๆของกฎหมายในการจัดการสิ่งแวดล้อม III Development of Law Concerning Environmental Protection

ทบทวน ความหมายของสิ่งแวดล้อม สภาพสิ่งแวดล้อม แบ่งได้เป็น 2 ประเภท สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ มีอยู่ 2 ประเภท สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ เช่น– สภาพทางภูมิกายภาพ เช่น ดิน น้ำ แร่ธาตุ ถ่านหิน น้ำมัน อากาศ สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ เช่น พืช และ สัตว์ สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ถนน อาคาร สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ เช่น รถยนต์ คอมพิวเตอร์ สารเคมี III Development of Law Concerning Environmental Protection

จุดเปลี่ยน(Milestones)ของกฎหมายจากการเปลี่ยนแปลงของสังคม ยุคดั้งเดิม – primitive/ premodern society/ premodern state การปกครองแบบหัวหน้าเผ่า การผลิตแบบยังชีพ ระบบการครอบครองที่ดิน (หักร้างถางพง) 1920s ยุคปฏิวัติการเกษตร-อุตสาหกรรม – การมีเทคโนโลยีการผลิต การเปลี่ยนสู่ทุนนิยม/พาณิชยนิยม กฎหมายคุ้มครองระบบกรรมสิทธิ์ สร้างระบบกฎหมายการค้าการผลิต ธุรกิจผู้ประกอบการ การให้สัมปทาน 1960s ยุคมลพิษ – ผลจากการพัฒนา กฎหมายปะผุ แก้ปัญหาที่ละเรื่อง 1970s ยุคกฎหมายสิ่งแวดล้อม – การพยายามแก้ปัญหา “อย่างเป็นระบบ” III Development of Law Concerning Environmental Protection

จุดเปลี่ยน(Milestones)ของกฎหมายจากการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย ยุคดั้งเดิม – ก่อนสยาม การปกครองแบบหัวเมือง ยุคสยาม ปฏิรูปสมัยร. 5 การปกครองแบบรัฐสมัยใหม่ ระบบกฎหมาย ปพพ. ปท. การให้สัมปทาน 2500 ยุค “การพัฒนา” อำนาจรัฐกระจายไปทั่วอาณาจักร ยกเลิกกม.จำกัดการถือครองที่ดิน มีการจัดตั้งรัฐวิสาหกิจ 2518 ยุคชาวไร่ชาวนา – ผลจากการมีประชาธิปไตย กฎหมายปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม คุ้มครองผู้บริโภค อาหารและยา III Development of Law Concerning Environmental Protection

III Development of Law Concerning Environmental Protection 2521-30 ยุคโชติช่วงช้ชวาล? – การส่งเสริมการค้าการลงทุน เน้นความเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ กม.นิคมอุตสาหกรรม Globalization; Deregulation; Privatization; Liberalization 2535 ยุคอานันท์ – นักธุรกิจและนักสิ่งแวดล้อม ภายใต้รัฐบาลทหาร ชุดกฎหมายสิ่งแวดล้อม และคุ้มครองผู้บริโภค การเคลื่อนไหวของภาคประชาสังคม (พฤษภาทมิฬ) ยุคปฏิรูปการเมือง รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน สิทธิชุมชน สิทธิในการมีส่วนร่วมในการจัดการ การฟ้องรัฐ การจัดตั้งศาลปกครอง สิทธิในการรักษาพยาบาล ยุคทหารภายใต้ทุนสามานย์? การออกกฎหมายเพื่อ “ปฏิรูป” การทวงคืนผืนป่า การยกเลิกพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม การจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษ III Development of Law Concerning Environmental Protection

สภาพปัญหาทางสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากร  การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เช่น การจัดการพื้นที่ป่า และ การจัดการพื้นทีลุ่มน้ำ เมื่อประชากรมากขึ้น เทคโนโลยีในการนำเอาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ มีวิทยาการสูงขึ้น (อำนาจทำลายล้างมากขึ้น) ทำให้ทรัพยากรเสื่อมโทรมลงอย่างรวดเร็ว Natural Resource Degradation; Biodiversity ความหลากหลายทางชีวภาพเสื่อมลง การจัดการเมือง  ผังเมือง ควบคุมการใช้ที่ดิน สุขภาพอนามัย  วัตถุอันตราย, อาหารและยา, การใช้สารเคมี ระบบการผลิต และกิจกรรมของมนุษย์ ก่อนมลพิษต่อสภาพสิ่งแวดล้อม – มลพิษ/มลภาวะ Pollution III Development of Law Concerning Environmental Protection

โครงสร้างของระบบกฎหมาย มีกฎหมายมากมาย/กระจัดกระจาย กฎหมายว่าด้วยการจัดการทรัพยากร – ดิน, น้ำ, ป่า ป่าไม้ – อุทยาน, การให้สัมปทานป่าไม้ (สัตว์ป่า/พันธุ์พืช) ทรัพยากรในดิน – แร่, ปิโตรเลียม น้ำ – ชลประทานราษฎร์ ชลประทานหลวง น้ำประปา กฎหมายกำหนดการจัดการทรัพย์สิน - ที่ดิน กฎหมายละเมิดและความรับผิดของผู้ประกอบการ กฎหมายคุ้มครองสิ่งแวดล้อม??? III Development of Law Concerning Environmental Protection

1. หลักกฎหมายทั่วไปที่นำมาปรับใช้กับกรณีสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมใน 2 แนวทาง ได้แก่ 1. สิ่งรอบตัวเรา - อากาศ น้ำ แสง เสียง กลิ่น ความสั่นสะเทือน รวมไปถึงสุขภาพ และการใช้ชีวิต 2. ทรัพยากรธรรมชาติ – สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต ภูมิสภาพทางกายภาพ และสัตว์ พืช  ระบบนิเวศ หลักกฎหมายที่นำมาปรับใช้กับกรณี – 1. กรณีละเมิด 2. กรณีเดือนร้อนรำคาญ (nuisance) III Development of Law Concerning Environmental Protection

III Development of Law Concerning Environmental Protection ละเมิด ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420 ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำต่อบุคคลอื่น โดยผิดกฎหมาย ให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่า ผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น III Development of Law Concerning Environmental Protection

III Development of Law Concerning Environmental Protection มาตรา 448 สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิดนั้น ท่านว่าขาดอายุความเมื่อพ้นปีหนึ่งนับแต่วันที่ผู้ต้องเสียหายรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน หรือเมื่อพ้นสิบปีนับ แต่วันทำละเมิด III Development of Law Concerning Environmental Protection

หลักการ – ทฤษฎีความผิด Fault Theory คนจะรับผิดต่อเมื่อมีความบกพร่อง – มีความผิด เช่น การจงใจทำให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย หรือ ทำการโดยประมาทเลินเล่อ “No Liability without Fault” เมื่อระบบการผลิตพัฒนาไป ทำให้ความรุนแรงของความเสียหายเพิ่มมากขึ้น แม้จะได้ใช้ความระมัดระวังอย่างดีแล้ว III Development of Law Concerning Environmental Protection

III Development of Law Concerning Environmental Protection No Fault Liability เมื่อเกิดความเสียหาย ต้องมีผู้รับผิดชอบ ทฤษฎีความรับผิดเด็ดขาด Strict Liability เช่น ความเสียหายอันเกิดจากยานพาหนะ ความเสียหายจากการบริโภคสินค้า ความเสียหายจากวัตถุอันตราย Absolute Liability / No Fault Liability III Development of Law Concerning Environmental Protection

III Development of Law Concerning Environmental Protection No Fault Liability มาตรา 437 บุคคลใดครอบครองหรือควบคุมดูแลยานพาหนะอย่างใด ๆ อันเดิน ด้วยกำลังเครื่องจักรกล บุคคลนั้นจะต้องรับผิดชอบเพื่อการเสียหายอันเกิดแต่ยานพาหนะนั้น เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าการเสียหายนั้นเกิดแต่เหตุสุดวิสัย หรือเกิดเพราะความผิดของผู้ต้องเสียหาย นั้นเอง ความข้อนี้ให้ใช้บังคับได้ตลอดถึงผู้มีไว้ในครอบครองของตน ซึ่งทรัพย์อันเป็น ของเกิดอันตรายได้โดยสภาพ หรือโดยความมุ่งหมายที่จะใช้ หรือโดยอาการกลไกของทรัพย์นั้น ด้วย III Development of Law Concerning Environmental Protection

ปัญหาในการใช้กฎหมายเรื่องละเมิด ภาระการพิสูจน์ – ผู้ใดกล่าวอ้าง ผู้นั้นต้องนำสืบ ในเรื่องที่ซับซ้อน เช่น จะรู้ได้อย่างไรเมื่อเราเป็นโรคปอด ว่าสาเหตุมาจากไหน? ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผลของการกระทำ เช่น การเกิดโรคจากการทำงาน การที่แหล่งน้ำ เกิดมลพิษ จะรู้ได้อย่างไรว่ามาจากโรงงานไหน? III Development of Law Concerning Environmental Protection

Product Liability ผู้ซื้อต้องระวัง Caveat Emptor เมื่อสังคมมีการผลิตที่ซับซ้อนมากขึ้น ผู้ประกอบการได้ผลกำไรมหาศาลจากการผลิต ผู้ขายต้องระวัง Caveat Vender ความสัมพันธ์บนพื้นฐานของหลักฎหมายเดิม – ละเมิด หรือสัญญา ถ้าไม่อยู่ภายใต้กฎหมายทั้งสองเรื่องนี้จะทำอย่างไร? แม่ซื้อนมมาให้ลูกกิน ปรากฎว่านมมีสารปนเปื้อน จะอาศัยหลักกฎหมายเรียกให้รับผิด ชดเชยได้อย่างไร? ค่าเสียหายในเชิงลงโทษ Punitive Damages

III Development of Law Concerning Environmental Protection ปัญหาของหลักกรรมสิทธิ์ต่อประเด็นการจัดการสิ่งแวดล้อม - แดนกรรมสิทธิ์ มาตรา 1336 ภายในบังคับแห่งกฎหมาย เจ้าของทรัพย์สินมีสิทธิใช้สอย และจำหน่ายทรัพย์สินของตนและได้ซึ่งดอกผลแห่งทรัพย์สินนั้น กับทั้งมีสิทธิ ติดตามและเอาคืนซึ่งทรัพย์สินของตนจากบุคคลผู้ไม่มีสิทธิจะยึดถือไว้ และ มีสิทธิขัดขวางมิให้ผู้อื่นสอดเข้าเกี่ยวข้องกับทรัพย์สินนั้นโดยมิชอบด้วย กฎหมาย มาตรา 1335 ภายในบังคับแห่งบทบัญญัติในประมวลกฎหมายนี้ หรือกฎหมายอื่น ท่านว่าแดนแห่งกรรมสิทธิ์ที่ดินนั้นกินทั้งเหนือพ้น พื้นดินและใต้พื้นดินด้วย III Development of Law Concerning Environmental Protection

III Development of Law Concerning Environmental Protection กรณีเดือนร้อนรำคาญ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1337 บุคคลใดใช้สิทธิของตนเป็นเหตุให้เจ้าของอสังหาริมทรัพย์ ได้รับความเสียหาย หรือเดือดร้อนเกินที่ควรคิดหรือคาดหมายได้ว่าจะเป็นไป ตามปกติ และเหตุอันควรในเมื่อเอาสภาพและตำแหน่งที่อยู่แห่งทรัพย์สินนั้นมา คำนึงประกอบไซร้ ท่านว่าเจ้าของอสังหาริมทรัพย์มีสิทธิจะปฏิบัติการเพื่อยัง ความเสียหายหรือเดือดร้อนนั้นให้สิ้นไป ทั้งนี้ไม่ลบล้างสิทธิที่จะเรียกเอาค่า ทดแทน III Development of Law Concerning Environmental Protection

III Development of Law Concerning Environmental Protection หนี้ธรรมดา – บุคคลต้องทนในการอยู่ร่วมกันเป็นสังคม ในหนี้อันคาดหมายได้ของการอยู่ร่วมกัน หนี้เกินขนาด – เมื่อการกระทำนั้นอยู่เกินไปกว่าสิ่งที่ควรคิดและคาดหมายได้ในการอยู่ร่วมกันอย่างปกติ ข้อดี – ใช้สามัญสำนึกของคนปกติธรรมดา (วิญญูชน) ข้อเสีย – จำกัดความคุ้มครองเฉพาะต่อเจ้าของอสังหาริมทรัพย์ III Development of Law Concerning Environmental Protection

หลักกฎหมายพื้นฐาน ในการจัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อม วิเคราะห์จากความเป็นมาและแนวคิดที่ใช้ ระบบศักดินา – ที่ดิน ทรัพยากรผูกติดกับอำนาจการปกครอง แนวคิด อำนาจการปกครองไม่ได้แบ่งแยกออกจากอำนาจในการจัดการทรัพยากร – ทรัพย์สินของแผ่นดิน “ของหลวง” ดู ม.2 ประมวลกฎหมายที่ดิน “ที่ดินซึ่งมิได้ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของบุคคลหนึ่งบุคคลใดให้ถือว่าเป็นของรัฐ” การจัดระบบที่ดินเพื่อการเก็บภาษี การมีกรมป่าไม้เพื่อการจัดการใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่า หลักสาธารณประโยชน์  อำนาจรัฐในการจัดการทรัพยากร (สาธารณสมบัติให้องค์กรรัฐเป็นผู้ดูแล) III Development of Law Concerning Environmental Protection

หลักกฎหมายพื้นฐานในการจัดการ สาธารณสมบัติของแผ่นดิน บททั่วไป มาตรา 1304 สาธารณสมบัติของแผ่นดินนั้น รวมทรัพย์สินทุกชนิดของแผ่นดิน ซึ่งใช้เพื่อสาธารณประโยชน์หรือสงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน เช่น (1) ที่ดินรกร้างว่างเปล่า และที่ดินซึ่งมีผู้เวนคืนหรือทอดทิ้งหรือกลับมาเป็นของ แผ่นดินโดยประการอื่น ตามกฎหมายที่ดิน (2) ทรัพย์สินสำหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน เป็นต้นว่าที่ชายตลิ่ง ทางน้ำ ทางหลวง ทะเลสาบ (3) ทรัพย์สินใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ เป็นต้นว่าป้อม และ โรงทหาร สำนักราชการบ้านเมือง เรือรบ อาวุธยุทธภัณฑ์ III Development of Law Concerning Environmental Protection

กฎหมายในการคุ้มครอง สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ผลของการเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน มาตรา 1305 ทรัพย์สินซึ่งเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินนั้นจะโอนแก่กันมิได้ เว้นแต่อาศัยอำนาจแห่งบทกฎหมายเฉพาะหรือพระราชกฤษฎีกา (การกำหนดให้การโอน – เปลี่ยนเจ้าของจากรัฐไปสู่เอกชน ต้องทำเป็นพรบ. จากแนวคิดที่ว่ารัฐสภาคือผู้แทนปวงชน การนำของส่วนรวมไปให้เอกชน ต้องผ่านความเห็นชอบจากประชาชนเสียก่อน) มาตรา 1306 ท่านห้ามมิให้ยกอายุความขึ้นเป็นข้อต่อสู้กับแผ่นดินในเรื่อง ทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน (ห้ามครอบครองปรปักษ์ในที่ของส่วนรวม) มาตรา 1307 ท่านห้ามมิให้ยึดทรัพย์สินของแผ่นดินไม่ว่าทรัพย์สินนั้นจะเป็น สาธารณสมบัติของแผ่นดินหรือ III Development of Law Concerning Environmental Protection

สรุปโครงสร้างของระบบกฎหมาย มีกฎหมายมากมาย/กระจัดกระจาย กฎหมายว่าด้วยการจัดการทรัพยากร – ที่ดิน, น้ำ กฎหมายกำหนดการจัดการทรัพยสิน - ที่ดิน กฎหมายละเมิดและความรับผิดของผู้ประกอบการ กฎหมายป่าไม้ – อุทยาน, การให้สัมปทานป่าไม้ กฎหมายว่าด้วยการอนุรักษ์สัตว์ป่าสัตว์น้ำ พันธุ์พืช กฎหมายคุ้มครองสิ่งแวดล้อม III Development of Law Concerning Environmental Protection

สรุปปัญหาจากกฎหมายยุคก่อน ที่ใช้ในการจัดการสิ่งแวดล้อม เริ่มจากการไม่มีกฎหมายที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมโดยตรง ใช้หลักกฎหมายละเมิดและหลักกฎหมายเรื่องเดือดร้อนรำคาญ (nuisance)เข้ามาแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ปัญหาเรื่องภาระการพิสูจน์ สร้างหลักกฎหมายเรื่องความรับผิดเด็ดขาดของผู้ประกอบการ สร้างกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การคุ้มครองสวัสดิภาพอนามัยและกฎหมายในการแก้ปัญหามลพิษ (ในยุคทศวรรษที่ 60) III Development of Law Concerning Environmental Protection

III Development of Law Concerning Environmental Protection สิทธิในสิ่งแวดล้อม คนเรามีสิทธิที่จะใช้ชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี ถือเป็น “สิทธิ” ก่อนหน้าที่เรามีกฎหมายสิ่งแวดล้อม เราจัดการเพื่อคุ้มครอง “สิทธิ” ของเราอย่างไร? อย่างไรจึงเป็นการใช้ชีวตอยู่อย่างปกติสุข? ดูจากการใช้ชีวิตอยู่ของคนในสังคม ชีวิต ร่างกาย สุขภาพ ปัจจัยสี่: ที่อยู่อาศัย อาหาร ยา เครื่องนุ่งห่ม ความปลอดภัยในการทำงาน ความมั่นคงทางอาหาร ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ กฎหมายกำหนดเกี่ยวกับประเด็นต่างๆ เหล่านี้อย่างไร? III Development of Law Concerning Environmental Protection

การเกิดขึ้นของ กฎหมายคุ้มครองสิ่งแวดล้อม จากเดิมที่ไม่มีแนวคิดในด้านการอนุรักษ์ แต่มีกฎหมายในการจัดการทรัพยากร ที่ดิน สิ่งแวดล้อม มีกฎหมายป่าไม้ พ.ศ.2484 มีการให้สัปทานป่าไม้ และการทำเหมืองแร่ เริ่มมีแนวคิดอนุรักษ์จาก นพ.บุญส่ง เลขะกุล ตั้งสมาคมนิยมไพร การเสนอกฎหมายในการอนุรักษ์สัตว์ป่า พ.ศ. 2503 และต่อมาใน พ.ศ.2504 มีการประกาศใช้กฎหมายอุทยานแห่งชาติ การมีกระเสอนุรักษ์ใน ช่วง พ.ศ. 2535 จากอิทธิพลของโลกาภิวัตน์ Add timeline on law and development in Thailand and global III Development of Law Concerning Environmental Protection

หลักกฎหมายพื้นฐาน ในการจัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อม วิเคราะห์จากความเป็นมาและแนวคิดที่ใช้ ระบบศักดินา – ที่ดิน ทรัพยากรผูกติดกับอำนาจการปกครอง การจัดระบบที่ดินเพื่อการเก็บภาษี การมีกรมป่าไม้เพื่อการจัดการใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่า Public Trust Doctrine หลักสาธารณประโยชน์ อำนาจรัฐในการจัดการทรัพยากร (สาธารณสมบัติให้องค์กรรัฐเป็นผู้ดูแล) อำนาจของประชาชนในมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร Paradigm Shift จากแนวคิดการผลิตแบบเส้นตรง มาสู่ความสัมพันธ์กับวงจรธรรมชาติและชุมชน III Development of Law Concerning Environmental Protection

โศกนาฏกรรมของ “ของสาธารณะ” จากบทความ The Tragedy of the Commons, 1968 เราใช้ของส่วนรวมอย่างไร เมื่อเทียบกับของใช้ของเรา Maximum benefit? Jeremy Bentham “The greatest good for the greatest number” มนุษย์ต่างกอบโกย เพื่อประโยชน์สูงสุดของตนเอง การทำกำไรสูงสุดของผู้ประกอบการ การดูแลของส่วนรวม เป็นภาระของทุกคนในสังคม การผลักภาระของต้นทุนการผลิตให้แก่สังคม โดยที่ตัวเองไม่ได้ร่วมในการดูแล บำรุงรักษาต้นทุน/ของส่วนรวมนั้น เช่น น้ำ อากาศ ที่ดินและทรัพยากร เสรีภาพในการเจริญพันธุ์ของมนุษย์ ก่อปัญหาประชากรล้นโลก และยังเป็นประชากรที่โลภมากอีก! III Development of Law Concerning Environmental Protection

III Development of Law Concerning Environmental Protection การจัดการของส่วนรวม ข้อวิเคราะห์ การโต้แย้งว่าคนเห็นแก่ตัว กับผู้ที่มีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร แนวคิดว่าทรัพยากรธรรมชาติ ต้องมีการจัดการ การกำหนดว่าต้องมีการคำนวณต้นทุนที่แท้จริงของการผลิต การร่วมรับผิดชอบของผู้ใช้ จะจัดการกับ free rider เราจะจัดการกับ “คนกินแรงเพื่อน” อย่างไร? ไม่มีใครที่จะทุบหม้อข้าวของตัวเองหรอก! วิธีการในการจัดการควรเป็นอย่างไร? ใครควรมีอำนาจในการจัดการ? III Development of Law Concerning Environmental Protection

การจัดการทรัพยากรและระบบการผลิตในสังคม Exclusion กีดกันได้ Non-exclusion ไม่สามารถกีดกันได้ Rival แย่งกันบริโภค Private goods: food, cars, clothes Common goods (Common-pool resources): fish in the river/sea, trees in the forest, underground water Non-rival ไม่กระทบการบริโภคของผู้อื่น (โดยทั่วไป/ในระดับหนึ่ง) Toll goods or Club goods: parks, movies, music, telephone, cable TV Public goods: air quality, national defense, broadcasting, ecosystem III Development of Law Concerning Environmental Protection

III Development of Law Concerning Environmental Protection จากตารางข้างต้น ทรัพยากรธรรมชาติ ถือเป็นสินค้าประเภทใดในสังคม? ที่ดิน? แหล่งน้ำ? อากาศ? สัตว์ป่า สัตว์น้ำ? ต้นไม้? ป่าไม้? ระบบนิเวศ? ปัญหาโศกนาฎกรรมกับของสาธารณะ Tragedy of the Commons Externalities & free riders III Development of Law Concerning Environmental Protection

III Development of Law Concerning Environmental Protection สรุป - ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ควรมีการจัดการ ปัญหาคือ ใครมีอำนาจในการจัดการนี้? และจะจัดการอย่างไร? การจัดระบบโควต้า ใบอนุญาตเรือประมง การห้ามจับสัตว์ในฤดูวางไข่ การอนุญาตให้เฉพาะคนในชุมชนในการใช้ประโยชน์ การกำหนดการปล่อยของเสีย ตัวอย่าง การนิรโทษกรรมเรือประมงอวนลาก! การนำมาตรการทางเศรษฐกิจเข้ามาเป็นเครื่องมือในการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม (หรือมาตรการกีดกันทางการค้า) การขึ้นบัญชีประเทศที่ละเมิดCITES การแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมโดยต้องคำนึงถึงเรื่องเศรษฐกิจของคนในชุมชนเข้ามาเป็นข้อพิจารณา การใช้ประโยชน์ในทรัพยากรเชิงอนุรักษ์ เช่น ecotourism หัวใจสำคัญ คือ ใครเป็นผู้จัดการ รัฐ/ประชาชน Public Trust Doctrine/ the Commons III Development of Law Concerning Environmental Protection

III Development of Law Concerning Environmental Protection ยังมีกฎหมายอีกมากมายที่สามารถนำมาปรับใช้เพื่อแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น พรบ.รักษาคลอง ร.ศ. 121 (พ.ศ.2445) พรบ.สำหรับกำจัดผักตบชวา พ.ศ. 2456 พรบ.ประมง พ.ศ. 2490 (2558) พรบ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2503 (2535) พรบ.อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 พรบ.ป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 ข้อสังเกตเกี่ยวกับกฎหมายเหล่านี้ บางฉบับอาจไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมมาตั้งแต่ต้น แต่ในภายหลัง มีการใช้เพื่อการรักษาสิ่งแวดล้อม End here! Sect 001 III Development of Law Concerning Environmental Protection

III Development of Law Concerning Environmental Protection ตัวอย่าง พรบ.รักษาคลอง ร.ศ. 121 มาตรา 6 ถ้า หากว่าสามารถจะทำได้อย่างอื่นแล้ว ห้ามมิให้ผู้หนึ่งผู้ใดเอาหยากเยื่อฝุ่นฝอยหรือสิ่งโสโครกเททิ้งในคลอง และห้ามมิให้เททิ้งสิ่งของดังกล่าวมาแล้วลงในทางน้ำลำคู ซึ่งเลื่อนไหลมาลงคลองได้ ถ้าผู้ใดกระทำผิดต่อมาตรานี้ ให้ปรับผู้นั้นไม่เกิน 20 บาท หรือจำคุกไม่เกินเดือนหนึ่ง หรือทั้งปรับและจำทั้งสองสถาน มาตรา 9 ห้าม มิให้ผู้หนึ่งผู้ใดกระทำให้คลองและฝั่งคลอง หรือถนนหลวงเสียไปด้วยประการใด ๆ ถ้าผู้ใดกระทำผิดต่อมาตรานี้ ให้ปรับผู้นั้นไม่เกิน 20 บาท หรือจำคุกไม่เกินเดือนหนึ่ง หรือทั้งปรับและจำด้วยทั้งสองสถาน และต้องทำสิ่งซึ่งเสียหายให้คืนดีด้วยอีกโสด 1 III Development of Law Concerning Environmental Protection

III Development of Law Concerning Environmental Protection ปัญหาการพัฒนาพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมตามแนวทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การเพิ่มจำนวนประชากร การขยายตัวของเมือง และวิถีชีวิตสมัยใหม่ - การใช้เทคโนโลยีและสารเคมีทำให้กฎหมายเดิมไม่เพียงพอต่อการรักษาสมดุลในการรักษาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ III Development of Law Concerning Environmental Protection

III Development of Law Concerning Environmental Protection เอสารอ่านประกอบ สมชาย ปรีชาศิลปกุล – นิติศาสตร์ไทยเชิงวิพากษ์ บทที่ 8 “ภาระการพิสูจน์” และบทที่ 10 “สิทธิชุมชน” The Tragedy of the Commons (โพสในe-document for student แล้ว) Governing the Commons – http://wtf.tw/ref/ostrom_1990.pdf III Development of Law Concerning Environmental Protection