ความยืดหยุ่น ( Elasticity )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
Advertisements

คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ?
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
1) รวบรวมรายชื่อ PM ของทุกจังหวัด และ จัดระบบประสานงาน ( คทง. เขตจะประชุมชี้แจงบทบาท PM) 2) ร่วมกับศูนย์วิชาการ PM ของทุกจังหวัด อนุกรรมการ PP และอนุกรรมการพัฒนา.
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
8 ราคา วัตถุประสงค์ในการกำหนดราคา ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดราคา
จงคำนวณหา y-coordinate ของจุด Centroid ของพื้นที่ดังรูป
อุปสงค์ ( demand ) อุปทาน ( supply )
ระบบประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ผ่านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ โครงการพัฒนากระบวนการทำงาน (Re- Process) ประเภทความร่วมมือระหว่างสำนัก.
Power Point ประกอบการบรรยาย แก่ “ประธานกรรมการและเลขานุการ กรรมการสถานศึกษา ตามโครงการส่งเสริมประสิทธิภาพการดำเนินงานของกรรมการสถานศึกษา” วันที่ 19 ธันวาคม.
Z80 & Assembly Language. การจัดขาของ CPU Z-80 Memory Design.
REVENUE MANAGEMENT Presented by LM 10 ONLINE LOTTO.
Bond, Anchorage, and Development Length
บทที่ 2 กระบวนการและการวางแผนจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Planning ดร. อัญภัคร์ ประพันธ์เนติวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
Nakhonsawan school create by rawat saiyud
ทำให้การประชุม มีความสำคัญ
Chapter Objectives Chapter Outline
สสารและสมบัติของสาร Witchuda Pasom.
ดุลยภาพผู้ผลิตในตอนที่ไม่มีการค้า (Producer Equilibrium in Autarky)
พัฒนาการความคิดทางคณิตศาสตร์
การวิเคราะห์อัตรากำลัง โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป
Composite Bodies.
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
โมเมนตัมและการชน อ.วัฒนะ รัมมะเอ็ด.
ขั้นตอนการดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ และการเลื่อนเงินเดือน
MATRIX จัดทำโดย น.ส. ปิยะนุช เจริญพืช เลขที่ 9
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
Calculus C a l c u l u s.
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์ SSC 281 เศรษฐศาสตร์ (Economics)
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม EC 261 3(3-0-6)
นางสาวเพ็ญศรี ท่องวิถี นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ
ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด (Demand Supply and Market Price)
4.2.4 แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ
งานและพลังงาน.
มนุษย์กับเศรษฐกิจ.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ความยืดหยุ่น Elasticity
กองบำรุงรักษามาตรวัดน้ำ ฝ่ายมาตรวัดน้ำ
การคิดราคาขาย การลดต้นทุน และการวางแผนจัดนำเที่ยวทั้งในและต่างประเทศ
การตรวจสอบภาษีน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน
ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้
กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ
การบริหารสัญญา และหลักประกัน.
MG414 Supply Chain and Logistics Management
คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
ติว ม. 6 วันที่ 15 ก.ค 2558.
บทที่ 2 การวัด.
ดร. สุทธศรี วงษ์สมาน รองเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
พืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
เศรษฐศาสตร์มหภาคเบื้องต้น
อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพของตลาด
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์
การจัดการงานคลังและงบประมาณ ครั้งที่ 5 อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
Determine the moment about point A caused by the 120 kN
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความยืดหยุ่น ( Elasticity ) บทที่ 3 ความยืดหยุ่น ( Elasticity ) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ ( Elasticity ) หมายถึง เปอร์เซ็นการเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อสินค้าต่อเปอร์เซ็นการเปลี่ยนแปลงปัจจัยต่าง ๆ ที่กำหนดอุปสงค์ 11/21/2018

ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้า ชนิดอื่นที่เกี่ยวข้อง 11/21/2018

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา การคำนวณแบบจุด ( Point ) Ed = Q x P 1 P Q 1 Ed = Q 2 - Q 1 x P 1 P 2 - P 1 Q 1 11/21/2018

การคำนวณแบบช่วง ( Arc ) Ed = Q x P 1 + P 2 P Q 1 + Q 2 Ed = Q 2 - Q 1 x P 1+ P 2 P 2 - P 1 Q 1 + Q 2 11/21/2018

Ex ถ้าราคาไข่ฟองละ 1.40 บาท ผู้บริโภคจะซื้อไข่ 700ฟอง แต่ถ้าราคาไข่ลดลงเป็นฟองละ 1.30 บาท ผู้บริโภคจะซื้อไข่เพิ่มขึ้นเป็น 800 ฟอง จงคำนวณหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาในการซื้อไข่ โดยใช้สูตรทั้งแบบจุดและแบบช่วง วิธีทำ จากโจทย์ P1 = 1.40 Q1 = 700 P2 = 1.30 Q2 = 800 11/21/2018

แบบจุด Ed = Q2 – Q1 x P 1 P2 – P1 Q 1 = 800 – 700 x 1.40 130 – 1.40 700 = - 2.0 11/21/2018

แบบช่วง Ed = Q2 – Q1 x P 1 + P2 P2 – P1 Q 1 + Q2 1.30 – 1.40 700 + 800 = - 1.80 11/21/2018

P A D E Q o C B กำหนดให้ P1 = OE Q1 = OC P2 = 0 Q2 = OB Ed = Q2 – Q1 x P1 P2 - P1 Q1 = OB – OC x OE 0 - OE OC = CB x OE - OE x OC = - CB OC P A D E Q o C B 11/21/2018

Ed ณ จุด I = - KG 0K P F I D Q K G 11/21/2018

ระดับของความยืดหยุ่นของเส้นอุปสงค์ มี 5 ระดับ ระดับของความยืดหยุ่นของเส้นอุปสงค์ มี 5 ระดับ 1. อุปสงค์ไม่มีค่าความยืดหยุ่น Ed = 0 ( Perfectly Inelastic Demand ) P D Q 11/21/2018

2. อุปสงค์ที่มีค่าความยืดหยุ่นน้อย 0 < Ed < 1 ( Inelastic Demand ) 3. อุปสงค์ที่มีค่าความยืดหยุ่นคงที่ Ed = 1 ( Unitary elastic Demand ) P ลักษณะเส้นเป็นเส้นโค้ง “ Rectangular Hyperbola” Q 11/21/2018

4. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นมาก 1 < Ed < 0 ( Elastic demand ) 5. อุปสงค์ที่มีค่าความยืดหยุ่นสมบูรณ์ Ed มีค่าเป็นอนันต์ ( Perfectly elastic demand ) P D Q 11/21/2018

สรุป กรณีที่เส้นอุปสงค์ทีมีลักษณะเป็นเส้นตรง สรุป กรณีที่เส้นอุปสงค์ทีมีลักษณะเป็นเส้นตรง 1. ค่าความชัน ณ จุดต่าง ๆ จะเท่ากันตลอดทั้งเส้น 2. ค่าความยืดหยุ่น ณ จุดต่าง ๆจะมีค่าไม่เท่ากัน ยกเว้น กรณีที่เส้นอุปสงค์เป็นเส้นตรงขนานแกน ตั้งและแกนนอน 11/21/2018

กรณีที่เส้นอุปสงค์เป็นเส้นโค้ง 1. ค่าความชัน ณ จุดต่าง ๆ จะไม่เท่ากัน 2. ค่าความยืดหยุ่น ณ จุดต่าง ๆ จะไม่เท่ากันด้วย ยกเว้นกรณีที่เส้นอุปสงค์เป็นเส้นโค้งแบบ Rectangular Hyperbola 11/21/2018

ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์และรายได้ทั้งหมด ราคาลดลง ราคาสูงขึ้น Ed มากกว่า 1 รายได้เพิ่มขึ้น รายได้ลดลง Ed เท่ากับ 1 รายได้คงที่ Ed น้อยกว่า 1 11/21/2018

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ การคำนวณแบบจุด ( Point ) EI = Q x I I Q 1 EI = Q 2 - Q 1 x I 1 I 2 - I 1 Q 1 11/21/2018

การคำนวณแบบช่วง ( Arc ) EI = Q x I 1 + I 2 I Q 1 + Q 2 = Q 2 - Q 1 x I 1 + I 2 I 2 - I 1 Q 1 +Q 2 11/21/2018

Ex ถ้าปริมาณการซื้อไข่เพิ่มขึ้นจาก 12 ฟอง เป็น 20 ฟอง เมื่อผู้บริโภคมีรายได้เพิ่มขึ้นจาก 4,000 บาท เป็น 5,000 บาทต่อเดือน จงคำนวณค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ ทั้งแบบจุด และแบบช่วง วิธีทำ จากโจทย์ Q1 = 12 I1 = 4,000 Q2 = 20 I2 = 5,000 11/21/2018

แบบจุด EI = Q2 - Q1 x I1 I2 - I1 Q 1 = 20 – 12 x 4000 5000 – 4000 12 5000 – 4000 12 = 2.67 11/21/2018

แบบช่วง EI = Q2 – Q1 x I1 + I2 I2 - I1 Q 1 + Q2 = 20 – 12 x 5000 +4000 5000 – 4000 20+12 = 2.25 11/21/2018

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น หรือค่าความยืดหยุ่นไขว้ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น หรือค่าความยืดหยุ่นไขว้ แบ่งออกเป็น การคำนวณแบบจุด ( Point ) Ec = Qx x Py1 Py Qx1 Ec = Qx2 - Qx1 x Py1 Py2 - Py1 Qx1 11/21/2018

การคำนวณแบบช่วง ( Arc ) E c = Qx x Py1 + Py2 Py Qx1 + Qx2 = Qx2 - Qx1 x Py2 + Py1 Py2 - Py1 Qx2 +Qx1 11/21/2018

วิธีทำ จากโจทย์กำหนดให้ Qn1 = 25 Pm1 = 120 Ex ถ้าราคาของสินค้า m เท่ากับ 120 บาท นางส้มจะต้องการซื้อสินค้า n 25 ชิ้น แต่ถ้าราคาสินค้า m เพิ่มขึ้นเป็น 200 บาท นางส้มจะต้องการซื้อสินค้า n เพิ่มเป็น 30 ชิ้น จงคำนวณค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้ ทั้งแบบจุด และแบบช่วง วิธีทำ จากโจทย์กำหนดให้ Qn1 = 25 Pm1 = 120 Qn2 = 30 Pm2 = 200 11/21/2018

แบบจุด Ec = Qn2 - Qn1 x Pm1 Pm2 - Pm1 Qn1 = 30 – 25 x 120 200 – 120 25 200 – 120 25 = 0.3 11/21/2018

แบบช่วง Ec = Qn2- Qn1 x Pm1 + Pm2 Pm2 - Pm1 Qn1 + Qn2 200 – 120 25 + 30 = 0.36 11/21/2018

ความยืดหยุ่นของอุปทาน หมายถึงเปอร์เซนต์การเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการขายต่อเปอร์เซนต์การเปลี่ยนแปลงของราคา 11/21/2018

วิธีการหาค่าความยืดหยุ่นมี 2 วิธี 1. การคำนวณแบบจุด ( Point ) 2. การคำนวณแบบช่วง ( Arc ) 11/21/2018

สมมติให้ Es = ค่าความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา Q1= ปริมาณความต้องการขาย ณ ระดับราคาเดิม Q2= ปริมาณความต้องการขาย ณระดับราคาหลังการ เปลี่ยนแปลง P1 =ราคาเดิมก่อนการเปลี่ยนแปลง P2 = ราคาหลังการเปลี่ยนแปลง 11/21/2018

ความยืดหยุ่นของอุปทาน แบ่งออกเป็น การคำนวณแบบจุด Es = Q x P 1 P Q 1 = Q 2 - Q 1 x P 1 P 2 - P 1 Q 1 11/21/2018

การคำนวณแบบช่วง Es = Q x P 1 + P 2 P Q 1 + Q 2 = Q 2 - Q 1 x P 1+ P 2 11/21/2018

วิธีทำ จากโจทย์กำหนดให้ P1 = 25 P2 = 30 Q1 = 6 Q2 = 12 ตัวอย่าง ถ้าปากการาคาแท่งละ 25 บาท ผู้ขายจะนำออกขาย ครึ่งโหล แต่ถ้าราคาปากกาแท่งละ 30 บาท ผู้ขายจะนำออกขายเพิ่มขึ้นอีก ครึ่งโหล จงหาค่าความยืดหยุ่นของอุปทานที่มีต่อปากกา ทั้งแบบจุด และแบบช่วง วิธีทำ จากโจทย์กำหนดให้ P1 = 25 P2 = 30 Q1 = 6 Q2 = 12 11/21/2018

แบบจุด Es = 12 - 6 x 25 30 – 25 6 = 5 แบบช่วง Es = 12 - 6 x 25 +30 30 – 25 6 = 5 แบบช่วง Es = 12 - 6 x 25 +30 30 – 25 6 + 12 = 3.67 11/21/2018

ประเภทความยืดหยุ่นของอุปทาน อุปทานไม่มีความยืดหยุ่นเลย อุปทานมีความยืดหยุ่นน้อย อุปทานมีความยืดหยุ่นคงที่ อุปทานมีความยืดหยุ่นมาก อุปทานมีความยืดหยุ่นสมบูรณ์ 11/21/2018

อุปทานไม่มีความยืดหยุ่น Perfectly Inelastic Supply ค่าความยืดหยุ่น เท่ากับศูนย์ P Q S P2 P1 Q1 B A 11/21/2018

อุปทานมีความยืดหยุ่นน้อย Inelastic Supply ค่าความยืดหยุ่นมากกว่าศูนย์แต่น้อยกว่าหนึ่ง P Q S o 11/21/2018

อุปทานมีความยืดหยุ่นคงที่ Unitary Elastic Supply ความยืดหยุ่นมีค่าเท่ากับหนึ่ง Es = 1 P Q S P2 P1 Q1 Q2 11/21/2018

อุปทานมีความยืดหยุ่นมาก Elastic Supply ความยืดหยุ่นมีค่ามากกว่าหนึ่งแต่น้อยกว่าอนันต์ P Q S 11/21/2018

อุปทานมีความยืดหยุ่นสมบูรณ์ ความยืดหยุ่นมีค่าอนันต์ P Q S P1 11/21/2018

นโยบายการกำหนดราคาของรัฐบาล **การปล่อยให้กลไกตลาดทำงานเพียงอย่างเดียวอาจทำให้ผู้ผลิต หรือ ผู้บริโภคเดือดร้อนได้ นั่นคือ ราคาที่ถูกกำหนดโดยกลไกตลาดอาจจะเป็นราคาที่สูงเกินไป หรือ ต่ำเกินไป P Q P1 S D 11/21/2018

รัฐบาลจะเข้าแทรกแซง โดย 1. การประกันราคาขั้นต่ำ ( Price Support ) รัฐบาลจะเข้าแทรกแซง โดย 1. การประกันราคาขั้นต่ำ ( Price Support ) หรือเรียกว่า การพยุงราคา 2. การกำหนดราคาขั้นสูง ( Price Ceiling ) 11/21/2018

การประกันราคาขั้นต่ำเพื่อช่วยเหลือผู้ผลิต มักจะใช้กับสินค้าเกษตรกรรม เนื่องจากซัพพลายของสินค้าเกษตรขึ้นอยู่กับดินฟ้าอากาศ S D ปริมาณข้าวเปลือก ราคา P2 P1 Q2 Q1 Q3 B A 11/21/2018

2. จ่ายเงินอุดหนุน 3. ลดปริมาณการผลิต นโยบายเสริม 1. รัฐบาลรับซื้อสินค้าที่เหลือทั้งหมด 2. จ่ายเงินอุดหนุน 3. ลดปริมาณการผลิต 11/21/2018

1. รัฐบาลรับซื้อสินค้าที่เหลือทั้งหมด (surplus ) D ปริมาณข้าวเปลือก ราคา P2 P1 Q2 Q1 Q3 B A ซื้อ Q2 Q3 หน่วย ราคา OP2 บาท = Q2Q3 x OP2 = AB Q2Q3 11/21/2018

S = 1,000 บาท B A P2 = 50 P1 D Q2 Q3 80 100 แทนค่าด้วยตัวเลข ราคา งบประมาณที่รัฐบาลต้องจ่าย = 20 x 50 = 1,000 บาท S B A P2 = 50 P1 D Q2 Q3 ปริมาณข้าวเปลือก 80 100 11/21/2018

2. การจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่เกษตรกร เงินอุดหนุนต่อหน่วย = P2 P3 บาท เงินอุดหนุนทั้งหมด = พ.ท. P2 P3 CB ราคา S B P2 P1 P3 A C D Q1 Q2 ปริมาณ 11/21/2018

50 เงินอุดหนุน 20 ต่อหน่วย 90 100 งบประมาณที่รัฐบาลใช้ = 30 x 100 = 3,000 บาท ราคา S B 50 20 เงินอุดหนุน ต่อหน่วย A C D Q1 Q2 ปริมาณ 90 100 11/21/2018

3. การลดปริมาณการผลิต ราคา S2 B S1 P2 A P1 D ปริมาณ Q2 Q1 11/21/2018

การกำหนดราคาขั้นสูงช่วยเหลือผู้บริโภค P1 P2 Q2 Q1 Q3 ปริมาณ ราคา D1 D2 B E A S Shortage = Q2Q3 หน่วย 11/21/2018

การเก็บภาษีและภาระภาษี การเก็บภาษีจากผู้ผลิต การเก็บภาษีจากผู้บริโภค 11/21/2018

ลักษณะภาษี ภาษีต่อหน่วย (Specific Tax) ภาษีคิดเป็นเปอร์เซ็นต์จากราคาขาย (Ad-Varolem Tax) 11/21/2018

การเก็บจากภาษีจากผู้ผลิต 1. กรณีเก็บต่อหน่วย T P P1 P0 S1 S0 Q Q0 สมมติ P0 = 100 บาท Q0 = 20 ชิ้น เก็บภาษีหน่วยละ 50 บาท ดังนั้น P1 = 150 บาท 11/21/2018

2. กรณีเก็บจากเปอร์เซนต์ของราคาขาย P2 S1 P2* S0 P2 สมมติเก็บ 10 % จากราคาขาย P1* P1 Q Q0 11/21/2018

ภาระภาษีของผู้ผลิตและผู้บริโภค ในการเก็บภาษีต่อหน่วยของรัฐต่อผู้ผลิต P S1 S0 E1 P1 P P2 T a E b D Q Q1 Q 11/21/2018

ถ้าเส้นอุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับ 0 ในการเก็บภาษีผู้ผลิตแบบต่อหน่วยนั้นผู้ผลิตผลักภาระภาษีให้ผู้บริโภคทั้งหมด P S1 D S0 P1 P T a E Q Q1 11/21/2018

กรณีรัฐเก็บภาษีผู้ผลิต ผู้ผลิตกับผู้บริโภคใครจะต้องรับภาระภาษีมากกว่ากันขึ้นอยู่กับ ค่า Ed ของเส้นอุปสงค์ กรณีรัฐเก็บภาษีผู้ผลิต ถ้าเส้นอุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นน้อย ผู้บริโภคจะรับภาระภาษีมากกว่าผู้ผลิต ถ้าเส้นอุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นมาก ผู้บริโภคจะรับภาระภาษีน้อยกว่าผู้ผลิต ถ้าเส้นอุปสงค์มีความยืดหยุ่นเท่ากับหนึ่ง ผู้ผลิตและผู้บริโภครับภาระภาษีเท่ากัน ถ้าเส้นอุปสงค์ไม่มีความยืดหยุ่นเลย ผู้บริโภคจะรับภาระภาษีทั้งหมด 11/21/2018

การเก็บภาษีจากผู้บริโภค ภาษีต่อหน่วย ( specific Tax) ภาษีแบบเป็นเปอร์เซนต์จากราคาขาย (Ad-Varolem Tax) 11/21/2018

รูปแสดงภาษีต่อหน่วย P Q D1 D0 P0 Q1 Q0 T 11/21/2018

รูปแสดงภาษีเป็นเปอร์เซนต์ของราคาขาย P P1 T P1* P2 D0 P2* D1 Q Q1 Q0 11/21/2018

ภาระภาษีในการเก็บภาษีจากผู้บริโภค กรณีภาษีต่อหน่วย b P Q P3 P1 Q1 Q E S D0 D1 a E1 11/21/2018

ถ้าเส้นอุปทานมีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 0 ผู้ผลิตจะรับภาระภาษีทั้งหมด P S E P P1 b D0 D1 Q 11/21/2018 Q1

ผู้ผลิตกับผู้บริโภคใครจะต้องรับภาระภาษีมากกว่ากันนั้นขึ้นอยู่กับ ค่า ความยืดหยุ่นของเส้นอุปทาน ถ้า เส้นอุปทานมีค่าความยืดหยุ่นน้อย ผู้บริโภคจะรับภาระภาษีมากกว่าผู้ผลิต ถ้าเส้นอุปทานไม่มีค่าความยืดหยุ่นเลย (0) ผู้บริโภคจะรับภาระภาษีทั้งหมด ถ้าเส้นอุปทานมีความยืดหยุ่นสมบูรณ์ ผู้ผลิตจะรับภาระภาษีทั้งหมด ถ้า เส้นอุปทานมีค่าความยืดหยุ่นมาก ผู้บริโภคจะรับภาระภาษีน้อยกว่าผู้ผลิต 11/21/2018

สรุป ภาระภาษี ใครจะแบกรับภาระมากกว่ากัน ภาระภาษี ใครจะแบกรับภาระมากกว่ากัน ขึ้นอยู่กับค่าความยืดหยุ่นของเส้นอุปสงค์และอุปทาน ถ้าฝ่ายใดมีค่าความยืดหยุ่นมากกว่า ฝ่ายนั้นจะแบกรับภาระภาษีน้อยกว่า 11/21/2018