ความยืดหยุ่น ( Elasticity ) บทที่ 3 ความยืดหยุ่น ( Elasticity ) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ ( Elasticity ) หมายถึง เปอร์เซ็นการเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อสินค้าต่อเปอร์เซ็นการเปลี่ยนแปลงปัจจัยต่าง ๆ ที่กำหนดอุปสงค์ 11/21/2018
ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้า ชนิดอื่นที่เกี่ยวข้อง 11/21/2018
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา การคำนวณแบบจุด ( Point ) Ed = Q x P 1 P Q 1 Ed = Q 2 - Q 1 x P 1 P 2 - P 1 Q 1 11/21/2018
การคำนวณแบบช่วง ( Arc ) Ed = Q x P 1 + P 2 P Q 1 + Q 2 Ed = Q 2 - Q 1 x P 1+ P 2 P 2 - P 1 Q 1 + Q 2 11/21/2018
Ex ถ้าราคาไข่ฟองละ 1.40 บาท ผู้บริโภคจะซื้อไข่ 700ฟอง แต่ถ้าราคาไข่ลดลงเป็นฟองละ 1.30 บาท ผู้บริโภคจะซื้อไข่เพิ่มขึ้นเป็น 800 ฟอง จงคำนวณหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาในการซื้อไข่ โดยใช้สูตรทั้งแบบจุดและแบบช่วง วิธีทำ จากโจทย์ P1 = 1.40 Q1 = 700 P2 = 1.30 Q2 = 800 11/21/2018
แบบจุด Ed = Q2 – Q1 x P 1 P2 – P1 Q 1 = 800 – 700 x 1.40 130 – 1.40 700 = - 2.0 11/21/2018
แบบช่วง Ed = Q2 – Q1 x P 1 + P2 P2 – P1 Q 1 + Q2 1.30 – 1.40 700 + 800 = - 1.80 11/21/2018
P A D E Q o C B กำหนดให้ P1 = OE Q1 = OC P2 = 0 Q2 = OB Ed = Q2 – Q1 x P1 P2 - P1 Q1 = OB – OC x OE 0 - OE OC = CB x OE - OE x OC = - CB OC P A D E Q o C B 11/21/2018
Ed ณ จุด I = - KG 0K P F I D Q K G 11/21/2018
ระดับของความยืดหยุ่นของเส้นอุปสงค์ มี 5 ระดับ ระดับของความยืดหยุ่นของเส้นอุปสงค์ มี 5 ระดับ 1. อุปสงค์ไม่มีค่าความยืดหยุ่น Ed = 0 ( Perfectly Inelastic Demand ) P D Q 11/21/2018
2. อุปสงค์ที่มีค่าความยืดหยุ่นน้อย 0 < Ed < 1 ( Inelastic Demand ) 3. อุปสงค์ที่มีค่าความยืดหยุ่นคงที่ Ed = 1 ( Unitary elastic Demand ) P ลักษณะเส้นเป็นเส้นโค้ง “ Rectangular Hyperbola” Q 11/21/2018
4. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นมาก 1 < Ed < 0 ( Elastic demand ) 5. อุปสงค์ที่มีค่าความยืดหยุ่นสมบูรณ์ Ed มีค่าเป็นอนันต์ ( Perfectly elastic demand ) P D Q 11/21/2018
สรุป กรณีที่เส้นอุปสงค์ทีมีลักษณะเป็นเส้นตรง สรุป กรณีที่เส้นอุปสงค์ทีมีลักษณะเป็นเส้นตรง 1. ค่าความชัน ณ จุดต่าง ๆ จะเท่ากันตลอดทั้งเส้น 2. ค่าความยืดหยุ่น ณ จุดต่าง ๆจะมีค่าไม่เท่ากัน ยกเว้น กรณีที่เส้นอุปสงค์เป็นเส้นตรงขนานแกน ตั้งและแกนนอน 11/21/2018
กรณีที่เส้นอุปสงค์เป็นเส้นโค้ง 1. ค่าความชัน ณ จุดต่าง ๆ จะไม่เท่ากัน 2. ค่าความยืดหยุ่น ณ จุดต่าง ๆ จะไม่เท่ากันด้วย ยกเว้นกรณีที่เส้นอุปสงค์เป็นเส้นโค้งแบบ Rectangular Hyperbola 11/21/2018
ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์และรายได้ทั้งหมด ราคาลดลง ราคาสูงขึ้น Ed มากกว่า 1 รายได้เพิ่มขึ้น รายได้ลดลง Ed เท่ากับ 1 รายได้คงที่ Ed น้อยกว่า 1 11/21/2018
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ การคำนวณแบบจุด ( Point ) EI = Q x I I Q 1 EI = Q 2 - Q 1 x I 1 I 2 - I 1 Q 1 11/21/2018
การคำนวณแบบช่วง ( Arc ) EI = Q x I 1 + I 2 I Q 1 + Q 2 = Q 2 - Q 1 x I 1 + I 2 I 2 - I 1 Q 1 +Q 2 11/21/2018
Ex ถ้าปริมาณการซื้อไข่เพิ่มขึ้นจาก 12 ฟอง เป็น 20 ฟอง เมื่อผู้บริโภคมีรายได้เพิ่มขึ้นจาก 4,000 บาท เป็น 5,000 บาทต่อเดือน จงคำนวณค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ ทั้งแบบจุด และแบบช่วง วิธีทำ จากโจทย์ Q1 = 12 I1 = 4,000 Q2 = 20 I2 = 5,000 11/21/2018
แบบจุด EI = Q2 - Q1 x I1 I2 - I1 Q 1 = 20 – 12 x 4000 5000 – 4000 12 5000 – 4000 12 = 2.67 11/21/2018
แบบช่วง EI = Q2 – Q1 x I1 + I2 I2 - I1 Q 1 + Q2 = 20 – 12 x 5000 +4000 5000 – 4000 20+12 = 2.25 11/21/2018
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น หรือค่าความยืดหยุ่นไขว้ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น หรือค่าความยืดหยุ่นไขว้ แบ่งออกเป็น การคำนวณแบบจุด ( Point ) Ec = Qx x Py1 Py Qx1 Ec = Qx2 - Qx1 x Py1 Py2 - Py1 Qx1 11/21/2018
การคำนวณแบบช่วง ( Arc ) E c = Qx x Py1 + Py2 Py Qx1 + Qx2 = Qx2 - Qx1 x Py2 + Py1 Py2 - Py1 Qx2 +Qx1 11/21/2018
วิธีทำ จากโจทย์กำหนดให้ Qn1 = 25 Pm1 = 120 Ex ถ้าราคาของสินค้า m เท่ากับ 120 บาท นางส้มจะต้องการซื้อสินค้า n 25 ชิ้น แต่ถ้าราคาสินค้า m เพิ่มขึ้นเป็น 200 บาท นางส้มจะต้องการซื้อสินค้า n เพิ่มเป็น 30 ชิ้น จงคำนวณค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้ ทั้งแบบจุด และแบบช่วง วิธีทำ จากโจทย์กำหนดให้ Qn1 = 25 Pm1 = 120 Qn2 = 30 Pm2 = 200 11/21/2018
แบบจุด Ec = Qn2 - Qn1 x Pm1 Pm2 - Pm1 Qn1 = 30 – 25 x 120 200 – 120 25 200 – 120 25 = 0.3 11/21/2018
แบบช่วง Ec = Qn2- Qn1 x Pm1 + Pm2 Pm2 - Pm1 Qn1 + Qn2 200 – 120 25 + 30 = 0.36 11/21/2018
ความยืดหยุ่นของอุปทาน หมายถึงเปอร์เซนต์การเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการขายต่อเปอร์เซนต์การเปลี่ยนแปลงของราคา 11/21/2018
วิธีการหาค่าความยืดหยุ่นมี 2 วิธี 1. การคำนวณแบบจุด ( Point ) 2. การคำนวณแบบช่วง ( Arc ) 11/21/2018
สมมติให้ Es = ค่าความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา Q1= ปริมาณความต้องการขาย ณ ระดับราคาเดิม Q2= ปริมาณความต้องการขาย ณระดับราคาหลังการ เปลี่ยนแปลง P1 =ราคาเดิมก่อนการเปลี่ยนแปลง P2 = ราคาหลังการเปลี่ยนแปลง 11/21/2018
ความยืดหยุ่นของอุปทาน แบ่งออกเป็น การคำนวณแบบจุด Es = Q x P 1 P Q 1 = Q 2 - Q 1 x P 1 P 2 - P 1 Q 1 11/21/2018
การคำนวณแบบช่วง Es = Q x P 1 + P 2 P Q 1 + Q 2 = Q 2 - Q 1 x P 1+ P 2 11/21/2018
วิธีทำ จากโจทย์กำหนดให้ P1 = 25 P2 = 30 Q1 = 6 Q2 = 12 ตัวอย่าง ถ้าปากการาคาแท่งละ 25 บาท ผู้ขายจะนำออกขาย ครึ่งโหล แต่ถ้าราคาปากกาแท่งละ 30 บาท ผู้ขายจะนำออกขายเพิ่มขึ้นอีก ครึ่งโหล จงหาค่าความยืดหยุ่นของอุปทานที่มีต่อปากกา ทั้งแบบจุด และแบบช่วง วิธีทำ จากโจทย์กำหนดให้ P1 = 25 P2 = 30 Q1 = 6 Q2 = 12 11/21/2018
แบบจุด Es = 12 - 6 x 25 30 – 25 6 = 5 แบบช่วง Es = 12 - 6 x 25 +30 30 – 25 6 = 5 แบบช่วง Es = 12 - 6 x 25 +30 30 – 25 6 + 12 = 3.67 11/21/2018
ประเภทความยืดหยุ่นของอุปทาน อุปทานไม่มีความยืดหยุ่นเลย อุปทานมีความยืดหยุ่นน้อย อุปทานมีความยืดหยุ่นคงที่ อุปทานมีความยืดหยุ่นมาก อุปทานมีความยืดหยุ่นสมบูรณ์ 11/21/2018
อุปทานไม่มีความยืดหยุ่น Perfectly Inelastic Supply ค่าความยืดหยุ่น เท่ากับศูนย์ P Q S P2 P1 Q1 B A 11/21/2018
อุปทานมีความยืดหยุ่นน้อย Inelastic Supply ค่าความยืดหยุ่นมากกว่าศูนย์แต่น้อยกว่าหนึ่ง P Q S o 11/21/2018
อุปทานมีความยืดหยุ่นคงที่ Unitary Elastic Supply ความยืดหยุ่นมีค่าเท่ากับหนึ่ง Es = 1 P Q S P2 P1 Q1 Q2 11/21/2018
อุปทานมีความยืดหยุ่นมาก Elastic Supply ความยืดหยุ่นมีค่ามากกว่าหนึ่งแต่น้อยกว่าอนันต์ P Q S 11/21/2018
อุปทานมีความยืดหยุ่นสมบูรณ์ ความยืดหยุ่นมีค่าอนันต์ P Q S P1 11/21/2018
นโยบายการกำหนดราคาของรัฐบาล **การปล่อยให้กลไกตลาดทำงานเพียงอย่างเดียวอาจทำให้ผู้ผลิต หรือ ผู้บริโภคเดือดร้อนได้ นั่นคือ ราคาที่ถูกกำหนดโดยกลไกตลาดอาจจะเป็นราคาที่สูงเกินไป หรือ ต่ำเกินไป P Q P1 S D 11/21/2018
รัฐบาลจะเข้าแทรกแซง โดย 1. การประกันราคาขั้นต่ำ ( Price Support ) รัฐบาลจะเข้าแทรกแซง โดย 1. การประกันราคาขั้นต่ำ ( Price Support ) หรือเรียกว่า การพยุงราคา 2. การกำหนดราคาขั้นสูง ( Price Ceiling ) 11/21/2018
การประกันราคาขั้นต่ำเพื่อช่วยเหลือผู้ผลิต มักจะใช้กับสินค้าเกษตรกรรม เนื่องจากซัพพลายของสินค้าเกษตรขึ้นอยู่กับดินฟ้าอากาศ S D ปริมาณข้าวเปลือก ราคา P2 P1 Q2 Q1 Q3 B A 11/21/2018
2. จ่ายเงินอุดหนุน 3. ลดปริมาณการผลิต นโยบายเสริม 1. รัฐบาลรับซื้อสินค้าที่เหลือทั้งหมด 2. จ่ายเงินอุดหนุน 3. ลดปริมาณการผลิต 11/21/2018
1. รัฐบาลรับซื้อสินค้าที่เหลือทั้งหมด (surplus ) D ปริมาณข้าวเปลือก ราคา P2 P1 Q2 Q1 Q3 B A ซื้อ Q2 Q3 หน่วย ราคา OP2 บาท = Q2Q3 x OP2 = AB Q2Q3 11/21/2018
S = 1,000 บาท B A P2 = 50 P1 D Q2 Q3 80 100 แทนค่าด้วยตัวเลข ราคา งบประมาณที่รัฐบาลต้องจ่าย = 20 x 50 = 1,000 บาท S B A P2 = 50 P1 D Q2 Q3 ปริมาณข้าวเปลือก 80 100 11/21/2018
2. การจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่เกษตรกร เงินอุดหนุนต่อหน่วย = P2 P3 บาท เงินอุดหนุนทั้งหมด = พ.ท. P2 P3 CB ราคา S B P2 P1 P3 A C D Q1 Q2 ปริมาณ 11/21/2018
50 เงินอุดหนุน 20 ต่อหน่วย 90 100 งบประมาณที่รัฐบาลใช้ = 30 x 100 = 3,000 บาท ราคา S B 50 20 เงินอุดหนุน ต่อหน่วย A C D Q1 Q2 ปริมาณ 90 100 11/21/2018
3. การลดปริมาณการผลิต ราคา S2 B S1 P2 A P1 D ปริมาณ Q2 Q1 11/21/2018
การกำหนดราคาขั้นสูงช่วยเหลือผู้บริโภค P1 P2 Q2 Q1 Q3 ปริมาณ ราคา D1 D2 B E A S Shortage = Q2Q3 หน่วย 11/21/2018
การเก็บภาษีและภาระภาษี การเก็บภาษีจากผู้ผลิต การเก็บภาษีจากผู้บริโภค 11/21/2018
ลักษณะภาษี ภาษีต่อหน่วย (Specific Tax) ภาษีคิดเป็นเปอร์เซ็นต์จากราคาขาย (Ad-Varolem Tax) 11/21/2018
การเก็บจากภาษีจากผู้ผลิต 1. กรณีเก็บต่อหน่วย T P P1 P0 S1 S0 Q Q0 สมมติ P0 = 100 บาท Q0 = 20 ชิ้น เก็บภาษีหน่วยละ 50 บาท ดังนั้น P1 = 150 บาท 11/21/2018
2. กรณีเก็บจากเปอร์เซนต์ของราคาขาย P2 S1 P2* S0 P2 สมมติเก็บ 10 % จากราคาขาย P1* P1 Q Q0 11/21/2018
ภาระภาษีของผู้ผลิตและผู้บริโภค ในการเก็บภาษีต่อหน่วยของรัฐต่อผู้ผลิต P S1 S0 E1 P1 P P2 T a E b D Q Q1 Q 11/21/2018
ถ้าเส้นอุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับ 0 ในการเก็บภาษีผู้ผลิตแบบต่อหน่วยนั้นผู้ผลิตผลักภาระภาษีให้ผู้บริโภคทั้งหมด P S1 D S0 P1 P T a E Q Q1 11/21/2018
กรณีรัฐเก็บภาษีผู้ผลิต ผู้ผลิตกับผู้บริโภคใครจะต้องรับภาระภาษีมากกว่ากันขึ้นอยู่กับ ค่า Ed ของเส้นอุปสงค์ กรณีรัฐเก็บภาษีผู้ผลิต ถ้าเส้นอุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นน้อย ผู้บริโภคจะรับภาระภาษีมากกว่าผู้ผลิต ถ้าเส้นอุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นมาก ผู้บริโภคจะรับภาระภาษีน้อยกว่าผู้ผลิต ถ้าเส้นอุปสงค์มีความยืดหยุ่นเท่ากับหนึ่ง ผู้ผลิตและผู้บริโภครับภาระภาษีเท่ากัน ถ้าเส้นอุปสงค์ไม่มีความยืดหยุ่นเลย ผู้บริโภคจะรับภาระภาษีทั้งหมด 11/21/2018
การเก็บภาษีจากผู้บริโภค ภาษีต่อหน่วย ( specific Tax) ภาษีแบบเป็นเปอร์เซนต์จากราคาขาย (Ad-Varolem Tax) 11/21/2018
รูปแสดงภาษีต่อหน่วย P Q D1 D0 P0 Q1 Q0 T 11/21/2018
รูปแสดงภาษีเป็นเปอร์เซนต์ของราคาขาย P P1 T P1* P2 D0 P2* D1 Q Q1 Q0 11/21/2018
ภาระภาษีในการเก็บภาษีจากผู้บริโภค กรณีภาษีต่อหน่วย b P Q P3 P1 Q1 Q E S D0 D1 a E1 11/21/2018
ถ้าเส้นอุปทานมีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 0 ผู้ผลิตจะรับภาระภาษีทั้งหมด P S E P P1 b D0 D1 Q 11/21/2018 Q1
ผู้ผลิตกับผู้บริโภคใครจะต้องรับภาระภาษีมากกว่ากันนั้นขึ้นอยู่กับ ค่า ความยืดหยุ่นของเส้นอุปทาน ถ้า เส้นอุปทานมีค่าความยืดหยุ่นน้อย ผู้บริโภคจะรับภาระภาษีมากกว่าผู้ผลิต ถ้าเส้นอุปทานไม่มีค่าความยืดหยุ่นเลย (0) ผู้บริโภคจะรับภาระภาษีทั้งหมด ถ้าเส้นอุปทานมีความยืดหยุ่นสมบูรณ์ ผู้ผลิตจะรับภาระภาษีทั้งหมด ถ้า เส้นอุปทานมีค่าความยืดหยุ่นมาก ผู้บริโภคจะรับภาระภาษีน้อยกว่าผู้ผลิต 11/21/2018
สรุป ภาระภาษี ใครจะแบกรับภาระมากกว่ากัน ภาระภาษี ใครจะแบกรับภาระมากกว่ากัน ขึ้นอยู่กับค่าความยืดหยุ่นของเส้นอุปสงค์และอุปทาน ถ้าฝ่ายใดมีค่าความยืดหยุ่นมากกว่า ฝ่ายนั้นจะแบกรับภาระภาษีน้อยกว่า 11/21/2018