ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากโรงงาน พ.ศ. 2560 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 7 มิถุนายน 2560.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ ๒ (พ. ศ
Advertisements

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง บัญชีรายชื่อวัตถุอันตราย (ฉบับที่ 2) พ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4414 ( พ. ศ. 2555) ออกตามความใน พระราชบัญญัติมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดเขตน้ำบาดาลและ ความลึกของน้ำบาดาล พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4482 ( พ. ศ. 2555) ออกตามความใน พระราชบัญญัติมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4413 (พ. ศ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตาม พระราชบัญญัติประกันสังคมพ. ศ เรื่อง หลักเกณฑ์และอัตรา สำหรับประโยชน์ทดแทนในกรณี
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4622 ( พ. ศ.2557) ออก ตามความในพระราชบัญญัติ มาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐานระดับเสียงของรถยนต์ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 19 กุมภาพันธ์ 2558.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4484 ( พ. ศ. 2555) ออกตามความใน พระราชบัญญัติมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ระเบียบกรมวิชาการเกษตรว่าด้วยการ ตรวจเอกสารข้อมูลประกอบการขึ้น ทะเบียนวัตถุอันตรายที่กรมวิชาการ เกษตรรับผิดชอบ.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ ซึ่งวัตถุอันตรายตามบัญชี 5.6 ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ.
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กำหนดลักษณะและคุณภาพของน้ำมันเบนซิน พ. ศ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 13 ( พ. ศ. 2555) ออกตามความใน พระราชบัญญัติมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 3 กันยายน 2552
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ระเบียบกรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน ว่าด้วยหลักสูตรการ ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย ในการทำงาน ( ฉบับที่
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 กฎกระทรวง กำหนดคุณสมบัติของ ผู้ขอรับใบอนุญาต หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการขอรับ ใบอนุญาต และการอนุญาตตรวจสอบและ.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4467 ( พ. ศ. 2555) ออกตามความใน พระราชบัญญัติมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาอันตราย ฉบับที่ 24 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 19 กันยายน 2554.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4505 ( พ. ศ. 2556) ออกตามความใน พระราชบัญญัติมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4677 (พ. ศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4678 (พ. ศ
ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง กำหนดเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบค่าก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์และค่าก๊าซไฮโดรคาร์บอนจากท่อไอเสียรถจักรยานยนต์ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กำหนดลักษณะและคุณภาพของ น้ำมันดีเซล ( ฉบับที่ 3) พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีน้ำมัน และผลิตภัณฑ์น้ำมันที่นำไปใช้เป็นวัตถุดิบหรือส่วนประกอบ ในการผลิตในโรงอุตสาหกรรมน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาอันตราย ฉบับที่ 23 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 9 กันยายน 2554.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ เรื่อง กําหนดมาตรฐาน ก๊าซคาร์บอนไดซัลไฟด์ใน บรรยากาศโดยทั่วไป ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่ 14/2558 เรื่อง การพัฒนาที่ดินสำหรับผู้ประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม (ฉบับที่ 2) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 3 เมษายน.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4637 ( พ. ศ.2557) ออกตามความใน พระราชบัญญัติมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.
โครเมี่ยม (Cr).
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เรื่อง กำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำทะเล
ประกาศกรมเจ้าท่า ที่ 164/2560
ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่ 76/2560 เรื่อง กำหนดมาตรฐานทั่วไปในการระบาย น้ำเสียลงสู่ระบบบำบัดน้ำเสียส่วนกลางในนิคมอุตสาหกรรม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ประกาศคณะกรรมการประกันสังคม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 25 กันยายน 2561
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 11 มิถุนายน 2561
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง ระบบดับเพลิง และการตั้งกระป๋องน้ำมัน ถังน้ำมัน และถังเก็บน้ำมันขนาดเล็ก ไว้ในอาคารเก็บน้ำมันโดยเฉพาะที่มีระบบดับเพลิง พ.ศ.
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 6 สิงหาคม 2561
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 4 มกราคม 2562
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรม ว่าด้วยการขึ้นทะเบียนห้องปฏิบัติการวิเคราะห์เอกชน พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 6 มิถุนายน 2560.
ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 7 ธันวาคม 2561
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม นิคมอุตสาหกรรมและเขตประกอบการอุตสาหกรรม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม
ออกตามความในพระราชบัญญัติการมาตรฐานแห่งชาติ พ.ศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 5099 (พ.ศ. 2561)
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 11 ธันวาคม 2561
กองวิศวกรรมการแพทย์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 5081 (พ.ศ. 2561)
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 5 พฤศจิกายน 2561
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 1 สิงหาคม 2561
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2560
กฎกระทรวง ฉบับที่ 23 (พ. ศ. 2557) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ. ศ
ประกาศกระทรวงพลังงาน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 22 ตุลาคม 2561
ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 45/2554 เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 24 พฤศจิกายน 2554.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4914 (พ. ศ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 10 กันยายน 2552
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4947 (พ. ศ
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เลขที่ 388 พ.ศ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 14 พฤษภาคม 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากโรงงาน พ.ศ. 2560 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 7 มิถุนายน 2560

สรุปสาระสำคัญ อาศัยอำนาจตามความในข้อ 14 แห่งกฎกระทรวงฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2539) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 เรื่อง กำหนดคุณลักษณะของน้ำทิ้งที่ระบายออกจากโรงงาน ลงวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2539 ประกาศนี้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป

สรุปสาระสำคัญ มาตรฐานน้ำทิ้ง ต้องมีคุณภาพ ดังต่อไปนี้ 1) ความเป็นกรดและด่าง (pH) ตั้งแต่ 5.5 ถึง 9.0 2) อุณหภูมิ (Temperature) ไม่เกิน 40 องศาเซลเซียส 3) สี (Color) ไม่เกิน 300 เอดีเอ็มไอ

สรุปสาระสำคัญ 4) ของแข็งละลายน้ำทั้งหมด (Total Dissolved Solids หรือ TDS) มีค่าดังนี้ (1) กรณีระบายลงแหล่งน้ำ ต้องไม่เกิน 3,000 มิลลิกรัม/ลิตร (2) กรณีระบายลงแหล่งน้ำที่มีค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมดเกินกว่า 3,000 มิลลิกรัม/ลิตร ค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมดในน้ำทิ้งที่จะระบายได้ต้องมีค่าเกินกว่าค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมดที่มีอยู่ในแหล่งน้ำนั้นไม่เกิน 5,000 มิลลิกรัม/ลิตร

สรุปสาระสำคัญ 5) ของแข็งแขวนลอยทั้งหมด (Total Suspended Solids) ไม่เกิน 50 มิลลิกรัม/ลิตร 6) บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand) ไม่เกิน 20 มิลลิกรัม/ลิตร 7) ซีโอดี (Chemical Oxygen Demand) ไม่เกิน 120 มิลลิกรัม/ลิตร 8) ซัลไฟด์ (Sulfide) ไม่เกิน 1 มิลลิกรัม/ลิตร 9) ไซยาไนด์ (Cyanides CN) ไม่เกิน 0.2 มิลลิกรัม/ลิตร 10) น้ำมันและไขมัน (Oil and Grease) ไม่เกิน 5 มิลลิกรัม/ลิตร

สรุปสาระสำคัญ 11) ฟอร์มาลดีไฮด์ (Formaldehyde) ไม่เกิน 1 มิลลิกรัม/ลิตร 12) สารประกอบฟีนอล (Phenols) ไม่เกิน 1 มิลลิกรัม/ลิตร 13) คลอรีนอิสระ (Free Chlorine) ไม่เกิน 1 มิลลิกรัม/ลิตร 14) สารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์ (Pesticide) ต้องตรวจไม่พบ 15) ทีเคเอ็น (Total Kjeldahl Nitrogen) ไม่เกิน 100 มิลลิกรัม/ลิตร

สรุปสาระสำคัญ 16) โลหะหนัก มีค่าดังนี้ (1) สังกะสี (Zn) ไม่เกิน 5.0 มิลลิกรัม/ลิตร (2) โครเมียมเฮกซะวาเลนท์ (Hexavalent Chromium) ไม่เกิน 0.25 มิลลิกรัม/ลิตร (3) โครเมียมไตรวาเลนท์ (Trivalent Chromium) ไม่เกิน 0.75 มิลลิกรัม/ลิตร (4) สารหนู (As) ไม่เกิน 0.25 มิลลิกรัม/ลิตร (5) ทองแดง (Cu) ไม่เกิน 2.0 มิลลิกรัม/ลิตร

สรุปสาระสำคัญ (6) ปรอท (Hg) ไม่เกิน 0.005 มิลลิกรัม/ลิตร (7) แคดเมียม (Cd) ไม่เกิน 0.03 มิลลิกรัม/ลิตร (8) แบเรียม (Ba) ไม่เกิน 1.0 มิลลิกรัม/ลิตร (9) ซีลีเนียม (Se) ไม่เกิน 0.02 มิลลิกรัม/ลิตร (10) ตะกั่ว (Pb) ไม่เกิน 0.2 มิลลิกรัม/ลิตร (11) นิกเกิล (Ni) ไม่เกิน 1.0 มิลลิกรัม/ลิตร (12) แมงกานีส (Mn) ไม่เกิน 5.0 มิลลิกรัม/ลิตร

สรุปสาระสำคัญ ให้ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม (พ.ศ. 2539) เรื่อง กำหนดคุณลักษณะน้ำทิ้งที่ระบายออกนอกโรงงานให้มีค่าแตกต่างจากที่กำหนดไว้ในประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2539) เรื่อง กำหนดคุณลักษณะของน้ำทิ้งที่ระบายออกจากโรงงาน ลงวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 ยังคงบังคับใช้ได้ต่อไปจนกว่าจะได้มีการยกเลิก

สรุปสาระสำคัญ การตรวจสอบค่ามาตรฐานน้ำทิ้งจากโรงงาน ให้ใช้วิธีดังต่อไปนี้ 1) ความเป็นกรดและด่าง ให้ใช้เครื่องวัดความเป็นกรดและด่างของน้ำ (pH Meter) ที่มีความละเอียดไม่ต่ำกว่า 0.1 หน่วย 2) อุณหภูมิ ให้ใช้เครื่องวัดอุณหภูมิวัดขณะทำการเก็บตัวอย่าง 3) สี ให้ใช้วิธีเอดีเอ็มไอ (ADMI Method) 4) ของแข็งละลายน้ำทั้งหมด ให้ใช้วิธีระเหยตัวอย่างที่กรองผ่านกระดาษกรองใยแก้ว (Glass Fiber Filter Disk) และอบแห้งที่อุณหภูมิ 180 องศาเซลเซียส เป็นเวลาอย่างน้อย 1 ชั่วโมง

สรุปสาระสำคัญ 5) ของแข็งแขวนลอยทั้งหมด ให้ใช้วิธีกรองผ่านกระดาษกรองใยแก้ว (Glass Fiber Filter) และอบแห้งที่อุณหภูมิ 103 - 105 องศาเซลเซียส เป็นเวลาอย่างน้อย 1 ชั่วโมง 6) บีโอดี ให้ใช้วิธีบ่มตัวอย่างที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 5 วันติดต่อกัน และหาค่าออกซิเจนละลายด้วยวิธีเอไซด์โมดิฟิเคชั่น (Azide Modification) หรือวิธีเมมเบรนอิเลคโทรด (Membrane Electrode)

สรุปสาระสำคัญ 7) ซีโอดี ให้ใช้วิธีย่อยสลายโดยใช้โพแทสเซียมไดโครเมต (Potassium Dichromate) 8) ซัลไฟด์ ให้ใช้วิธีไอโอโดเมตริก (Iodometric Method) หรือวิธีเมทิลีนบลู (Methylene Blue Method) 9) ไซยาไนด์ ให้ใช้การกลั่น (Distillation) และตรวจวัดด้วยวิธีเทียบสี (Colorimetric Method) หรือวิธี Flow Injection Analysis

สรุปสาระสำคัญ 10) น้ำมันและไขมัน ให้ใช้วิธีสกัดด้วยเทคนิค Liquid – Liquid Extraction หรือ Soxhlet Extraction ด้วยตัวทำละลายแล้วแยกหาน้ำหนักของน้ำมันและไขมัน 11) ฟอร์มาลดีไฮด์ ให้ใช้วิธีเทียบสี (Colorimetric Method) 12) สารประกอบฟีนอล ให้ใช้การกลั่น (Distillation) และตรวจวัดด้วยวิธีเทียบสี (Colorimetric Method)

สรุปสาระสำคัญ 13) คลอรีนอิสระ ให้ใช้วิธีไตเตรท (Titrimetric Method) หรือวิธีเทียบสี (Colorimetric Method) 14) สารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์ ให้ใช้วิธีก๊าซโครมาโตกราฟิค (Gas-Chromatographic Method) หรือวิธีไฮเพอร์ฟอร์แมนซ ลิควิด โครมาโตกราฟิค (High-Performance Liquid Chromatographic Method) 15) ทีเคเอ็น ให้ใช้วิธีเจลดาห์ล (Kjeldahl)

สรุปสาระสำคัญ 16) โลหะหนัก (1) สังกะสี ทองแดง แคดเมียม แบเรียม ตะกั่ว นิกเกิล และแมงกานีสให้ใช้วิธีย่อยสลายตัวอย่างด้วยกรด (Acid digestion) และวัดหาปริมาณโลหะด้วยวิธีอะตอมมิคแอบซอฟชั่นสเปคโตรเมตตรี (Atomic Absorption Spectrometry : AAS) หรือวิธีอินดักทีฟลีคัพเพิลพลาสม่า (Inductively Coupled Plasma) (2) โครเมียม

สรุปสาระสำคัญ ก) โครเมียมทั้งหมด ให้ใช้วิธีย่อยสลายตัวอย่างด้วยกรด (Acid digestion) และวัดหาปริมาณโลหะด้วยวิธีอะตอมมิคแอบซอฟชั่นสเปคโตรเมตตรี (Atomic Absorption Spectrometry : AAS) หรือวิธีอินดักทีฟลีคัพเพิลพลาสม่า (Inductively Coupled Plasma) ข) โครเมียมเฮกซะวาเลนท์ ให้ใช้วิธีเทียบสี (Colorimetric Method) หรือวิธีสกัดและตรวจวัดด้วยวิธีอะตอมมิคแอบซอฟชั่นสเปคโตรเมตตรี (Atomic Absorption Spectrometry : AAS) หรือวิธีสกัดและตรวจวัดด้วยวิธีอินดักทีฟลีคัพเพิลพลาสม่า (Inductively Coupled Plasma)

สรุปสาระสำคัญ ค) โครเมียมไตรวาเลนท์ ให้ใช้วิธีคำนวณจากค่าส่วนต่างของโครเมียมทั้งหมดกับโครเมียมเฮกซะวาเลนท์ (3) สารหนูและซีลีเนียม ให้ใช้วิธีอะตอมมิคแอบซอฟชั่นสเปคโตร์โฟโตเมตตรี (Atomic Absorption Spectrophotometry) ชนิดไฮไดรด์เจนเนอเรชั่น (Hydride Generation) หรือวิธีอินดักทีฟลี คัพเพิลพลาสม่า (Inductively Coupled Plasma)

สรุปสาระสำคัญ (4) ปรอท ให้ใช้วิธีโคลด์เวเปอร์อะตอมมิคแอบซอฟชั่นสเปคโตรเมตตรี (Cold Vapor Atomic Absorption Spectrometry) หรือวิธีโคลด์เวเปอร์อะตอมมิคฟลูออเรสเซนซ์สเปคโตรเมตตรี (Cold Vapor Atomic Fluorescence Spectrometry) หรือวิธีอินดักทีฟลีคัพเพิลพลาสม่า(Inductively Coupled Plasma)

สรุปสาระสำคัญ การตรวจสอบค่ามาตรฐานน้ำทิ้งจากโรงงาน ให้เป็นไปตามคู่มือวิเคราะห์น้ำ และน้ำเสียของสมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย หรือ Standard Methods for the Examination of Water and Wastewater ซึ่ง American Public Health Association, American Water Work Association และ Water Environment Federation ของประเทศสหรัฐอเมริกากำหนด หรือตามที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมกำหนด

สรุปสาระสำคัญ การเก็บตัวอย่างน้ำทิ้งเพื่อการตรวจสอบค่ามาตรฐาน ให้เป็นดังต่อไปนี้ 1) จุดเก็บตัวอย่าง ให้เก็บในจุดระบายทิ้งออกจากโรงงาน ไม่ว่าจะมีจุดเดียวหรือหลายจุดก็ตาม หรือจุดอื่นที่สามารถใช้เป็นตัวแทนของน้ำทิ้งที่ระบายออกจากโรงงาน กรณีมีการระบายทิ้งหลายจุดให้เก็บทุกจุด 2) วิธีการเก็บตัวอย่างน้ำทิ้ง ณ จุดเก็บตัวอย่างตามข้อ 1 ให้เก็บแบบจ้วง (Grab Sample)

จบการนำเสนอ