มาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศักยภาพของคนไทยในการผลิตและวิจัยวัคซีนใหม่
Advertisements

การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
สถานการณ์โรคโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การคิดจัดสรรงบ PPE ปี 2556 การคิดจัดสรรงบ PPE ปี 2556 รายการงบ วงเงิน
การตั้งค่าวัคซีน.
“การขยายโรงงานผลิตวัคซีนวัณโรค สู่มาตรฐานสากล”
นโยบายการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
การประเมินมาตรฐานด้าน การบริหารจัดการวัคซีนและ
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การตรวจสอบข้อมูลการให้วัคซีน แฟ้ม EPI
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
การสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค
ศุภวัฒน์ อิ่มเจริญ ภม.(การจัดการเภสัชกรรม) 15 กุมภาพันธ์ 2555
NHSO National Health Security Office, Thailand แนวทางการใช้ข้อมูล OP/PP Individual 55 กองทุนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค.
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
ทิศทาง..... งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2558
การเพิ่มวัคซีน MR ในเด็ก 2 ปีครึ่ง
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
 รอบ 3 เดือน,พัฒนาบุคลากร เครือข่ายคณะกรรมการในระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล วางแนวทางการ ดำเนินงาน  รอบ 6 เดือน ดำเนินงานตามมาตรฐาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้หวัด.
แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค กระทรวงสาธารณสุข
การประเมินคุณภาพการให้รหัสโรค
Flow chart การบริการคลินิกสุขภาพเด็กดี รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น
Direction of EPI vaccine in AEC era
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Seasonal Flu Vaccine.
มาตรฐานที่ ๒ การให้บริการวัคซีน
การบริหารจัดการคลังวัคซีน และระบบลูกโซ่ความเย็น
แนวทางการให้บริการวัคซีน Rota
การให้บริการวัคซีนไวรัสโรต้า ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
27 ปี งานกวาดล้างโปลิโอ รณรงค์ OPV ประจำปี
ขอต้อนรับ อธิบดีกรมควบคุมโรค
แนวทาง การให้บริการวัคซีนโปลิโอ
วาระประชุมเดือนกันยายน 2559
การพัฒนางานสาธารณสุขชายแดน
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
การปรับรหัสวัคซีนในงาน EPI
ส่วนการทะเบียนทั่วไป สำนักบริหารการทะเบียน
กลุ่มที่ 3 : Scenario 3.
วิชา วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization)
PM4 งานคุ้มครองผู้บริโภค สิ่งแวดล้อม และควบคุมโรค
สถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้า
เป้าหมายการพัฒนางานวัยรุ่น ปี 2560
แนวทางการให้บริการวัคซีนโปลิโอ
โดย ภญ. ปิยะนาถ เชื้อนาค สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค
แนวทางการดำเนินงานให้วัคซีน
การเก็บกลับและทำลาย Trivalent OPV
การขออนุมัติดำเนินโครงการ ภายใต้ข้อบังคับฯ 2559
การเฝ้าระวังอาการภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การพัฒนาคุณภาพข้อมูลสุขภาพ จังหวัดสระแก้ว
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
โดยคุณอัมพวัน คุลภ์อนันต์
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
สาขาการพัฒนาเครือข่าย สุขภาพอำเภอและบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 2
แนวทางการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2560
การบริหารระบบลูกโซ่ความเย็น ในระบบยา
การบริหารจัดการวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ และระบบลูกโซ่ความเย็น
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
แนวทางการดำเนินงานให้วัคซีน ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์สายพันธุ์ SA
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสาธารณสุข ๑๐๐ ปี หมออนามัยห่วงใยประชาชน สร้างชุมชนปลอดขยะ ร่วมขจัดภัยไข้เลือดออกและไข้มาลาเรีย ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑.
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
โครงการพัฒนารูปแบบการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ (Adult Vaccination Clinic)
การปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข ปี ๒๕๖๑ จังหวัดสกลนคร ครั้งที่ ๑
ข้อมูล EPI จาก HDC ณ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว
การพัฒนา รพ.สต.ตำบลคุณภาพ (ศูนย์เรียนรู้ด้าน IT)
JHCIS สำหรับงาน EPI ตามมาตรฐานใหม่ 1 ตุลาคม 2558
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค นายบำเพ็ญ เกงขุนทด สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดนครราชสีมา

มาตรฐานที่ ๑ มาตรฐานการบริหารจัดการวัคซีน และ ระบบลูกโซ่ความเย็น มาตรฐานการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น มาตรฐานการบริหารจัดการวัคซีน และ ระบบลูกโซ่ความเย็น การเตรียมความพร้อมรับเหตุฉุกเฉินในระบบลูกโซ่ความเย็น

ผู้ผลิตวัคซีน ต่างประเทศ Vaccine cold chain ผู้ผลิตวัคซีน ต่างประเทศ กรมควบคุมโรค องค์การเภสัชกรรม ท่าอากาศยานกรุงเทพ รถห้องเย็น ผู้ผลิตวัคซีนในประเทศ รถห้องเย็น สคร. สสจ. VMI รพ.สต. / PCU รพ. (CUP) / สสอ.

การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น ๑. กำหนดหรือแต่งตั้งผู้รับผิดชอบงานการบริหารจัดการวัคซีน ระดับคลังวัคซีน หน่วยบริการ มีการมอบหมายให้เภสัชกรที่ได้รับการอบรมเป็นลายลักษณ์อักษร มีการมอบหมายผู้รับผิดชอบที่ผ่านการอบรม เรื่อง การบริหารจัดการวัคซีนและ ระบบลูกโซ่ความเย็นอบรมเป็น ลายลักษณ์อักษร มีการพัฒนาเครือข่ายระดับผู้รับผิดชอบงาน (ประชุม อบรม และนิเทศงาน ๑ ครั้ง / ปี )

การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น ๒. การมี และใช้ เอกสาร/คู่มือ/หนังสือ/ตำราในการการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น ระดับคลังวัคซีน หน่วยบริการ คู่มือการบริหารจัดการวัคซีน และระบบลูกโซ่ความเย็น คู่มือการบริหารจัดการวัคซีน และระบบลูกโซ่ความเย็น ตำราวัคซีนและการสร้าง เสริมภูมิคุ้มกันโรค คู่มือการสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค

การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น จัดทำใบเบิกวัคซีนตาม แบบ ว. 3/1 ได้ครบถ้วนถูกต้อง » กรอกข้อมูลการเบิกวัคซีน และการใช้ในเดือน ที่ผ่านมาครบถ้วนทุกช่อง » คำนวณความต้องการใช้วัคซีนและอัตราการ สูญเสีย ๓. การเบิก และ จ่ายวัคซีน ส่งใบเบิก ให้สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ / ฝ่ายเภสัชกรรม » อย่างน้อย 1 สัปดาห์ ก่อนที่จะมารับวัคซีน

แบบฟอร์มสำหรับเบิกวัคซีน (แบบฟอร์ม ว.3/1)

กำหนดอัตราสูญเสียวัคซีนแต่ละชนิด (Wastage rate : WR) อัตราสูญเสียวัคซีนในเด็กก่อนวัยเรียนและหญิงมีครรภ์ 􀀹 ขนาดบรรจุ 1 โด๊ส อัตราสูญเสีย ร้อยละ 1 􀀹 ขนาดบรรจุ 2 โด๊ส อัตราสูญเสีย ร้อยละ 10 􀀹 ขนาดบรรจุ 10 – 20 โด๊ส อัตราสูญเสีย ร้อยละ 25 􀀹 ยกเว้น BCG ในเด็กแรกเกิด อัตราสูญเสีย ร้อยละ 50 อัตราสูญเสียวัคซีนในเด็กนักเรียน ป.1 และ ป.6 􀀹 ทุกขนาดบรรจุ อัตราสูญเสีย ร้อยละ 10

ตัวคูณการสูญเสียวัคซีน ( Wastage multiplication faction : WMF ) WMF = 100 / (100-WR) ที่มาของ WMF วัคซีนทั้งหมด 1 ขวด คิดเป็นร้อยละ 100 ถ้ามีการสูญเสียวัคซีน ร้อยละ WR วัคซีน 1 ขวดจะให้บริการเด็กได้  100 – WR คน ดังนั้น ถ้าจะใช้วัคซีน 100-WR โด๊ส ต้องเตรียมวัคซีนเผื่อไว้ 100 โด๊ส ถ้าต้องการใช้วัคซีน n โด๊ส ต้องเตรียมวัคซีนไว้ = n x 100/ (100-WR) โด๊ส

อัตราสูญเสียวัคซีน (WR) ตัวคูณการสูญเสียวัคซีน (WMF) และขนาดขวดบรรจุจำแนกรายวัคซีนที่ใช้ในประเทศไทย รายการ OPV dT BCG MMR DTP DTP-HB HB JE IPV เด็ก <5ปี ป.1 ป.6 หญิง มี ครรภ์ แรก เกิด ขนาด บรรจุ โด๊ส/ขวด 20 10 1 2 อัตรา สูญเสีย (%) 25 50 WMF 1.33 1.11 1.01

การคำนวณการใช้วัคซีน สูตรคำนวณจำนวนวัคซีนที่ต้องการใช้ D = A x B C A : จำนวนประชากรกลุ่ม เป้าหมายทั้งหมดที่มารับบริการ B : ตัวคูณการสูญเสียวัคซีน (WMF) C : จำนวนโด๊สต่อขวด D : จำนวนวัคซีนที่ต้องการใช้ กรณี สถานบริการมีการให้บริการมากกว่าเดือนละ 1 ครั้ง ต้องคำนวณปริมาณความต้องการใช้ในแต่ละครั้ง แล้วจึงนำผลของแต่ละครั้งมารวมกันเป็นประมาณการใช้วัคซีนใน 1 เดือน

การคำนวณอัตราสูญเสีย (หลังจากใช้วัคซีน) = จำนวนวัคซีนที่เปิดใช้ (โด๊ส) - จำนวนคนที่ได้รับวัคซีน(คน) x 100 จำนวนวัคซีนที่เปิดใช้ (โด๊ส) จำนวนวัคซีนที่เปิดใช้ = ขวด X ขนาดบรรจุ รวมวัคซีนที่ตกแตก หมดอายุ และเสื่อมคุณภาพ

การคำนวณการใช้วัคซีน ตัวอย่าง ในเดือนกุมภาพันธ์ 2558 รพ.โชคชัย มีประชากรกลุ่มเป้าหมาย เด็กก่อนวัยเรียนในพื้นที่รับผิดชอบ 80 ราย มีเด็กนอกพื้นที่มารับบริการจำนวน 20 ราย ให้คำนวณจำนวนวัคซีน OPV ที่ต้องการใช้ A : จำนวนประชากรกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด = 80 + 20 = 100 ราย B : ตัวคูณการสูญเสียวัคซีน (WMF) ของ OPV = 1.33 C : จำนวนโด๊สต่อขวดบรรจุของ OPV = 20 D : จำนวนวัคซีนที่ต้องการใช้ = A x B C = 100 x 1.33 20 = 6.65 ขวด ( เศษปัดเป็น 1 ขวด ) ดังนั้นจำนวนวัคซีนที่ต้องการใช้  = 7 ขวด

การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น การรับวัคซีน หน่วยบริการมารับวัคซีนจาก CUP ด้วยตนเอง ตรวจสอบอุปกรณ์ที่นำมารับวัคซีน » ตรวจสอบกระติก และ ice packs ที่นำมา รับวัคซีนให้ครบถ้วนและได้มาตรฐาน » ซองน้ำแข็งที่ใส่ในกระติก/กล่องโฟม ต้อง ทำให้เริ่มละลาย(Conditioning Icepack) ก่อนบรรจุ CUP ส่งวัคซีนให้หน่วยบริการ หน่วยบริการ ตรวจรับวัคซีนตามรายการ » กระติก หรือ กล่องโฟมอยู่ในสภาพดี » ice pack/ gel pack ยังละลายไม่หมด » จำนวนวัคซีน Lot. No. และวันหมดอายุ ครบถ้วนและตรงตามที่ระบุในใบนำส่ง » ไม่มีวัคซีนแตกเสียหาย » เครื่องหมาย VVM อยู่ในสภาพดี

Vaccine vial moniter

การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น จัดทำทะเบียนรับ » จำแนกตามรายชนิดวัคซีน Lot. no. และวัน หมดอายุให้ครบถ้วนถูกต้อง จัดทำทะเบียนจ่าย » จ่ายวัคซีนตามหลัก First Expire First Out (FEFO) » ลงบันทึกการจ่ายวัคซีน แยกเป็นรายหน่วยบริการ (CUP) /รายครั้ง » มีรายละเอียดจำนวนวัคซีน Lot.no.และวันหมดอายุ (CUP/หน่วยบริการ) ๔. การจัดทำ ทะเบียน ยอดคงคลังของวัคซีนเป็นปัจจุบัน

การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น ๕. การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ระบบลูกโซ่ความเย็น ตู้เย็นเก็บวัคซีนโดยเฉพาะ ระดับคลังวัคซีน » ชนิด 2 ประตู » ความจุไม่ต่ำกว่า 18 คิว » ฉนวนไม่น้อยกว่า 30 มม. ระดับหน่วยบริการ » ชนิด 1 หรือ 2 ประตู » ความจุไม่ต่ำกว่า 5 คิว » ฉนวนไม่น้อยกว่า 30 มม.

การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น ๕. การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ระบบลูกโซ่ความเย็น กระติกวัคซีนใบเล็ก » ความหนาของฉนวนไม่ต่ำกว่า 30 มม. » ปริมาตรความจุ ≥ 1.7 ลิตร » ฝาปิดได้สนิท ไม่มีรอยแตก, สะอาด » มีซองน้ำแข็ง 4 แผ่น ที่บรรจุได้เต็มรอบด้าน » รักษาอุณหภูมิในช่วง +2 oC ถึง +8oC อย่างน้อย 24 ชม.

การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น ๕. การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ระบบลูกโซ่ความเย็น Icepack » ในระดับหน่วยบริการ อย่างน้อย 4 อัน เทอร์โมมิเตอร์ » ในระดับหน่วยบริการ สอบเทียบ / เทียบเคียงปีละ 1ครั้ง

การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น การเก็บรักษาวัคซีนในขณะให้บริการ ให้บริการในที่ร่ม เก็บวัคซีนในกระติกหรือกล่องโฟมที่มีอุณหภูมิอยู่ในช่วง +2OC ถึง +8OC วางขวดวัคซีนให้ตั้งตรง โดยไม่ให้ขวดวัคซีนสัมผัสกับ icepack ที่ยังไม่ละลาย หรือน้ำแข็งโดยตรง ดูดวัคซีนใส่ไซริงค์ แล้วให้บริการทันที ห้าม เตรียมไว้เป็นจำนวนมาก ห้าม มีเข็มปักคาขวดวัคซีน ถ้าให้บริการไม่ต่อเนื่อง

การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น ปริมาณวัคซีนคงคลัง ในระดับคลังวัคซีน มีวัคซีนแต่ละชนิดคงเหลือไม่เกิน 2 เดือน หลังจ่ายให้หน่วยบริการ ในระดับหน่วยบริการ มีวัคซีนแต่ละชนิดคงเหลือไม่เกิน 1 เดือน หลังให้บริการ

การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น ๗. การควบคุมอุณหภูมิตู้เย็น ๗.๑ ตรวจสอบอุณหภูมิ เช้า 8.30 – 9.30 น. เย็น 15.30 – 16.30 น. ให้ T อยู่ในช่วง +2OC ถึง +8OC ๗.๒ บันทึกอุณหภูมิ บันทึกต่อเนื่องทุกวัน และตรวจสอบให้ถูกต้องตามความเป็นจริง แล้วเก็บ ไว้เพื่อตรวจสอบการทำงานของตู้เย็น ไม่น้อยกว่า 6 เดือน

การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น ๘. การดูแล บำรุงรักษา อุปกรณ์ ระบบลูกโซ่ความเย็น ตู้เย็น » ทำความสะอาดรอบนอกตู้เย็น » ขอบยางฝาตู้เย็นไม่ให้มีเชื้อราเกาะติด » วางตู้เย็นตั้งตรงและห่างจากฝาผนัง แต่ละด้านไม่ต่ำกว่า 6 นิ้ว » ประตูตู้เย็นปิดสนิท ( ป้องกันไม่ให้ความเย็นไหลออกตรวจสอบโดยใช้กระดาษ A4 สอดเข้าไป แล้วปิดฝาตู้ หากสามารถดึงกระดาษออกได้ แสดงว่าขอบยางเสื่อม และอาจทำให้ฝาตู้เย็นปิดไม่สนิท ) ปลั๊กตู้เย็น » มี Breaker เฉพาะของตู้เย็น หรือ » เต้าเสียบชนิดเดี่ยว พันเทปกาวปิด ทับให้แน่น หรือ » ถ้ามีหลายเต้าเสียบ ให้ใช้เทปกาวปิด ช่องที่เหลือ หรือ » ไม่ใช่ปลั๊กต่อพ่วง

การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น ๘. การดูแล บำรุงรักษา อุปกรณ์ ระบบลูกโซ่ความเย็น ละลายน้ำแข็งใน ช่องแช่แข็ง » เมื่อหนาเกิน 5 มิลลิเมตร » ใส่ขวดน้ำที่มีฝาปิด หรือ Cool Pack ไว้ในช่องแช่ ผัก เพื่อ รักษาอุณหภูมิ ตู้เย็น

การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น ๘. การดูแล บำรุงรักษา อุปกรณ์ ระบบลูกโซ่ความเย็น กระติกหรือกล่องโฟม » ล้างให้สะอาด และตาก ไว้ในที่ร่ม » ตรวจสอบรอยแตกร้าว ซองน้ำแข็ง » เก็บในช่องแช่แข็ง » ระดับน้ำในซองน้ำแข็ง ต้องไม่มากกว่าระดับที่ กำหนด เทอร์โมมิเตอร์ » แขวนหรือวางไว้ชั้นกลาง ตู้เย็น » ระวังอย่าให้หลุด หรือ หล่น » สอบเทียบ/เทียบเคียง ปี ละ 1 ครั้ง

การบริหารจัดการกรณีเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน ในระบบลูกโซ่ความเย็น

การจัดทำแผนเตรียมความพร้อม (กรณีไฟฟ้าดับหรือตู้เย็นเสีย ) มีแผนเตรียมความพร้อมกรณีฉุกเฉินในระบบลูกโซ่ความเย็น มีผังควบคุมกำกับการปฏิบัติงาน ติดไว้ในที่มองเห็นชัด (ระบุชื่อ และเบอร์โทรศัพท์ ของผู้รับผิดชอบ) ซ้อมเตรียมความพร้อม อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

ตัวอย่างผังการเตรียมความพร้อมกรณีฉุกเฉินในระบบลูกโซ่ความเย็น WBC/รพ.สต. ชื่อผู้รับผิดชอบ ตู้เย็นเก็บวัคซีน รถส่งวัคซีนเสีย ขณะขนส่งวัคซีน ไฟฟ้าดับไม่เกิน 3 ชั่วโมง* ตู้เย็นเก็บวัคซีนเสีย ปิดประตูตู้เย็นไว้ห้ามเปิดเด็ดขาด ขอยืมรถจากหน่วยงานใกล้เคียง (ขณะขนส่งวัคซีน ควรมีเทอร์โมมิเตอร์ในกระติกวัคซีน) ไฟฟ้าดับเกิน 3 ชั่วโมง ย้ายวัคซีนทั้งหมดไปเก็บไว้ ในตู้เย็นอื่น หรือ ใส่กระติก ที่มีอุณหภูมิ +2 ถึง +8 oC กรณีที่ไม่มีตู้เย็น/กระติก หรือมีกระติก แต่ไม่เพียงพอ ที่จะเก็บวัคซีน นำวัคซีนไปฝากไว้ในตู้เย็น ของหน่วยงานที่อยู่ใกล้เคียง นำวัคซีนไปฝาก รพ.แม่ข่าย 32 *กรณีตู้เย็นมีสภาพดี 32

เครื่องปั่นไฟฟ้าสำรอง ในระดับคลังวัคซีนที่มีเครื่องปั่นไฟสำรอง มีการทดสอบการใช้งานเครื่องปั่นไฟ อย่างน้อย 1 ครั้ง / สัปดาห์ มีการตรวจสอบ ซ่อมบำรุงระบบไฟฟ้าสำรองอย่างน้อย1ครั้ง / ปี กรณีไฟดับ ถ้าเครื่องปั่นไฟสำรองไม่สามารถใช้งานได้ ภายใน 3 ชั่วโมง ให้ ย้ายวัคซีนทั้งหมดไปไว้ในกระติกหรือกล่องโฟมที่มีอุณหภูมิ +2OC ถึง +8OC

ในระดับคลังวัคซีน หรือหน่วยบริการ ที่ไม่มีเครื่องปั่นไฟฟ้าสำรอง กรณีไฟฟ้าดับไม่เกิน 3 ชั่วโมง ปิดประตูตู้เย็นไว้ ห้ามเปิดเด็ดขาด สอบถามการไฟฟ้าว่าจะจ่ายกระแสไฟฟ้าได้ภายใน 3 ชั่วโมงหรือไม่ กรณีไฟฟ้าดับเกิน 3 ชั่วโมง ย้ายวัคซีนทั้งหมดไปเก็บไว้ใน กระติก หรือกล่องโฟมที่อุณหภูมิ +2OC ถึง +8OC

กรณีตู้เย็นเก็บวัคซีนเสีย ย้ายวัคซีนทั้งหมดไปเก็บไว้ในตู้เย็นอื่น หรือ กระติก หรือกล่อง โฟมที่อุณหภูมิ +2OC ถึง +8OC ดำเนินการแจ้งซ่อม / หรือจัดหาใหม่ หรือนำวัคซีนไปฝากไว้ที่ สถานบริการใกล้เคียง

มาตรฐานที่ ๓ การบันทึกข้อมูลในแฟ้มข้อมูลงานสร้าง เสริมภูมิคุ้มกันโรค

การบันทึกข้อมูลผู้รับบริการ รหัสวัคซีนที่ใช้ตรงตามรหัสมาตรฐานที่ สนย. กำหนด

ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ รหัสชนิดวัคซีน รหัสวัคซีน ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ (เดือน) รหัส ICD_10 _TM 010 BCG บีซีจี ฉีด Z23.2 011 BCGs บีซีจีเอส ป1 021 dTs1 ดีทีเอส1 Z23.5,Z23.6 022 dTs2 ดีทีเอส 2 023 dTs3 ดีทีเอส 3 ป2 024 dTs4 ดีทีเอส 4 ป6 031 DTP1 ดีทีพี1 2 Z27.1 032 DTP2 ดีทีพี2 4 033 DTP3 ดีทีพี3 6 034 DTP4 ดีทีพี กระตุ้น 1 18 035 DTP5 ดีทีพี กระตุ้น 2 48

ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ รหัสชนิดวัคซีน รหัสวัคซีน ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ (เดือน) รหัส ICD_10 _TM 041 HBV1 ตับอักเสบบี 1 ฉีด Z24.6 042 HBV2 ตับอักเสบบี 2 2 043 HBV3 ตับอักเสบบี3 6 051 JE1 ไข้สมองอักเสบเจอี 1 18 Z24.1 052 JE2 ไข้สมองอักเสบเจอี 2 Z241 053 JE3 ไข้สมองอักเสบเจอี 3 30 061 MEASLES/MMR หัด คางทูม หัดเยอรมัน 9 Z27.4 072 MMRs ป1 073 MMR2 2 ปี 6 เดือน

ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ รหัสวัคซีน ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ (เดือน) รหัส ICD_10 _TM 081 OPV1 โอพีวี 1 กิน 2 Z24.0 082 OPV2 โอพีวี 2 4 083 OPV3 โอพีวี 3 6 084 OPV4 โอพีวี กระตุ้น 1 18 085 OPV5 โอพีวี กระตุ้น 2 48 086 OPVs1 โอพีวีเอส 1 ป1 087 OPVs2 โอพีวีเอส2 088 OPVs3 โอพีวีเอส 3 ป2 089 OPVC โอพีวีซี ให้การรณรงค์

ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ รหัสวัคซีน ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ (เดือน) รหัส ICD_10 _TM 201 dTANC 1 ดีทีเอเอ็นซี เข็ม 1 ฉีด สำหรับหญิงมีครรภ์ Z23.5,Z23.6 202 dTANC 2 ดีทีเอเอ็นซี เข็ม 2 203 dTANC 3 ดีทีเอเอ็นซี เข็ม 3 204 dTANC 4 ดีทีเอเอ็นซี เข็ม 4 (กระตุ้น) 205 dTANC 5 ดีทีเอเอ็นซี เข็ม 5 (กระตุ้น) 101 TT1/dT1 ทีที/ดีที เข็ม 1 บาดแผล Z23.5 102 TT2/dT2 ทีที /ดีที เข็ม 2 103 TT3/dT3 ทีที/ดีที เข็ม 3 104 TT4/dT4* ทีที/ดีที เข็ม 4 (กระตุ้น) 105 TT5/dT5 * ทีที/ดีที เข็ม 5 (กระตุ้น) X

ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ รหัสวัคซีน ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ (เดือน) รหัส ICD_10 _TM 101 TT1 ทีที เข็ม 1 ฉีด บาดแผล Z23.5 102 TT2 ทีที เข็ม 2 103 TT3 ทีที เข็ม 3 104 TT4 ทีที เข็ม 4 (กระตุ้น) 105 TT5 ทีที เข็ม 5 (กระตุ้น) 106 dT1 ดีที เข็ม 1 107 dT2 ดีที เข็ม 2 108 dT3 ดีที เข็ม 3 109 dT4* ดีที เข็ม 4 (กระตุ้น) 110 dT5 * ดีที เข็ม 5 (กระตุ้น)

ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ รหัสวัคซีน ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ (เดือน) รหัส ICD_10 _TM 091 DTPHB 1 ดีทีพีตับอักเสบบี 1 เข็ม 2 Z27.1,Z24.6 092 DTPHB 2 ดีทีพีตับอักเสบบี 2 4 093 DTPHB 3 ดีทีพีตับอักเสบบี 3 6 111 Rabies Vaccine 1 วัคซีนพิษสุนัขบ้า   Z24.2 112 Rabies Vaccine 2 113 Rabies Vaccine 3 114 Rabies Vaccine 4 115 Rabies Vaccine 5 815 Flu ไข้หวัดใหญ่ Z25.1 816 Need for immunization agains influenza ไข้หวัดใหญ่2009 Z25.1 ( เพิ่มเติม มค.53) 901 dTC ดีทีซี ฉีด สำหรับการรณรงค์ Z23.5 Z23.6

ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ รหัสวัคซีน ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ (เดือน) รหัส ICD_10 _TM J11 JE1:Lived attenuated ฉีด 1 ปี Z24.1 J12 JE2:Lived attenuated 2 ปี 6 เดือน 401 IPV-P 4 เดือน Z24.0 310 HPVs1 นร.หญิง ป.5 Z25.8 320 HPVs2 นร.หญิง ป.5 ห่างเข็มแรกอย่างน้อย 6 เดือน 311 HPVs+ กรณีให้เข็มแรกเมื่ออายุมากกว่า หรือเท่ากับ 15 ปี R11 RV2-1 กิน 2 เดือน ( ไม่เกิน 15 สัปดาห์ ) R12 RV2-2 4 เดือน ( ไม่เกิน 32 สัปดาห์ ) R21 RV3-1 R22 RV3-2 R23 RV3-3 6 เดือน ( ไม่เกิน 32 สัปดาห์ )

ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ รหัสวัคซีน ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ (เดือน) รหัส ICD_10 _TM 074 MRC ฉีด 9 เดือนขึ้นไป Z24.4 Z24.5 075 MRs ป.1 076 MMRC Z27.4

การบันทึกข้อมูลผู้รับบริการ มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการวัคซีนทุกชนิดเป็นรายบุคคลในแฟ้ม EPI เด็กแรกเกิด : BCG และ HB แรกเกิด เด็กก่อนวัยเรียน : DTP-HB, DTP, OPV, MMR และ JE นักเรียน ชั้น ป.1 : MR , dT, OPV, BCG ( ขึ้นกับประวัติการได้รับ วัคซีนในอดีต ) นักเรียน ชั้น ป.6 : dT หญิงตั้งครรภ์ : dT

การบันทึกข้อมูลผู้รับบริการ ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลการให้บริการ ให้ครบถ้วน ถูกต้อง Print out รายงานมาตรวจสอบกับทะเบียนให้บริการ หรือตรวจสอบจาก family folder เปรียบเทียบกับข้อมูลในคอมพิวเตอร์ บันทึกวันนัดรับวัคซีนครั้งต่อไป ในกรณีที่ผู้รับวัคซีนไม่มาตามนัด ให้บันทึกเลื่อนนัด เพื่อรับวัคซีนครั้งต่อไป เมื่อบันทึกข้อมูลผู้รับบริการวัคซีนครบทุกคนแล้วให้ Print out รายงานเก็บไว้ บันทึกรายละเอียดผู้รับวัคซีนในพื้นที่รับผิดชอบที่ได้รับวัคซีนจากสถานบริการอื่น มาลงในคอมพิวเตอร์ โดยบันทึกสถานที่รับวัคซีนในช่อง “ที่อื่น

ขอบคุณครับ