โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การนำเข้าสินค้าเกษตร ตามพันธกรณีความตกลงระหว่างประเทศ
Advertisements

บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
เทคนิคการเขียนข่าว การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น มีโครงสร้างการเขียนข่าว ประกอบด้วย 1.พาดหัวข่าว (Headline) 2.ความนำ (Lead) 3.ส่วนเชื่อม (Neck/Bridge)
Mind Mapping อ. พิมพ์ชนก หาคำ 23 เมษายน 2556.
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
การจัดการความรู้ KM.
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
S m a r t O f f i c e สำนักงานเกษตรอำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
กระบวนการของการอธิบาย
อาหาร พื้นเมือง (ภาคเหนือ)
ผัก.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Material requirements planning (MRP) systems
การปลูกผักอินทรีย์ดีต่อสุขภาพ กินผัก 5 สี ดีต่อสุขภาพ
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
ดิน สมบัติ ของดิน ลักษณะ ของดิน ประโยชน์ ของดิน ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด สถานการณ์ปัญหาที่ 2.
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
กรวรรณ งามสม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสอาดเผดิมวิทยา
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างของพืชดอก (ใบ)
โครงสร้างและ หน้าที่ของราก
การหาตำแหน่งภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงาโค้งทรงกลม
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
มาทำความรู้จักกับ เห็ดปลวกฟาน.
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
การคายน้ำของพืช.
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
เรื่อง อันตรายของเสียง
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างของพืชดอก (ลำต้น)
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
บทที่ 1 ทบทวนพฤกษศาสตร์ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
SMS News Distribute Service
เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 21 เมษายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
มาทำความรู้จักกับ เห็ดหนังช้าง.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย
Tree.
Structure of Flowering Plant
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 4 ธันวาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
กราฟการเติบโตของสิ่งมีชีวิต
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก Plant structure & function

โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น โครงสร้างภายนอก ประกอบด้วย ✜ ข้อ node เป็นบริเวณที่มี กิ่งหรือใบเจริญออกมา ✜ ปล้อง internode เป็นบริเวณที่อยู่ระหว่างข้อ ✜ ตา bud มีเนื้อเยื่อเจริญ เช่น ตาดอก ตากิ่ง ตาใบ ✜ เลนติเซล lenticel เป็นรูเล็กๆเพื่อการหายใจ หรือ คายน้ำ

โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น พืชใบเลี้ยงเดี่ยว พืชใบเลี้ยงคู่

เลนติเซล lenticel เป็นรอยแตกบริเวณลำต้น เพื่อการหายใจ คายน้ำ

โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น โครงสร้างภายใน(ภาคตัดขวาง) ประกอบด้วย ✾ epidermis เซลล์ชั้นเดียว ไม่มีคลอโรพลาสต์ ✾ cortex ประกอบด้วย + parenchyma + collenchyma + sclerenchyma + chlorenchyma ✾ vascular bundle (xylem & phloem , vascular cambium) + พืชใบเลี้ยงคู่ เรียงตัวเป็นกลุ่มๆรอบลำต้น + พืชใบเลี้ยงเดี่ยว เรียงตัวกระจายทั่วไปไม่เป็นระเบียบ ✾ pith ประกอบด้วย parenchyma cell อยู่กลางลำต้น

โครงสร้างของลำต้นในระยะแรก epidermis cortex cambium pith Vascular bundle phloem xylem

ลำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่ cortex epidermis Vascular bundle

ลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่ Parenchyma cell epidermis cortex pith xylem phloem Vascular cambium

ลำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว Vascular bundle epidermis cortex xylem phloem Vascular bundle Parenchyma cell

ประเภทของลำต้น ลำต้นเหนือดิน aerial stem ❦ ไม้ยืนต้น tree ได้แก่ สัก จามจุรี มะขาม ❦ ไม้พุ่ม shurb ได้แก่ แก้ว เข็ม ทับทิม ❦ ไม้ล้มลุก herb ได้แก่ ข้าว หญ้า ข้าวโพด ลำต้นใต้ดิน underground stem ❦ rhizome แง่ง เหง้าได้แก่ กล้วย ขิง ข่า ขมิ้น ❦ tuber ได้แก่ มันผรั่ง ❦ corm ได้แก่ เผือก แห้ว ❦ bulb ได้แก่ หอม กระเทียม พลับพลึง

ประเภทของลำต้น

ลำต้นที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างทำหน้าที่พิเศษ ลำต้นเลื้อย creeping stem เช่น แตง ผักบุ้ง หญ้า ลำต้นไต่ climbing stem ➟ twinner พันเป็นเกลียว เช่น ถั่วฝักยาว อัญชัน ➟ bublbil เช่น ตะเกียงสัปปะรด ป่านศรนารายณ์ ➟ cladophyll เช่น กระบองเพชร กระถินณรงค์ ➟ stem tendril เช่น บวบ องุ่น ฟัก กระทกรก ➟ root climber เช่น พลู พริกไทย พลูด่าง ➟ stem spine เช่น สะแก ทับทิม กุหลาบ

การเจริญเติบโตของรากและลำต้น เกิดจากเนื้อเยื่อเจริญ primary meristem 3 กลุ่ม คือ ➤ protoderm เปลี่ยนแปลงเป็น epidermis ➤ procambium เปลี่ยนแปลงเป็น primary xylem,cambium,primary phloem ➤ ground meristem เปลี่ยนแปลงเป็น cortex , pith ในพืชใบเลี้ยงคู่ vascular cambium จะแบ่งเซลล์ให้ secondary xylem และ secondary phloem ทำให้เกิด วงปี annual ring

การเจริญเติบโตของรากและลำต้น การเจริญเติบโตระยะที่ 2 ในพืชใบเลี้ยงคู่

วงปี Annual ring เกิดจากการเจริญเติบโตของไซเลมระยะที่2 ในแต่ละช่วงเวลาของปี ✑ spring wood เป็นวงสีจางเกิดในช่วงน้ำมาก เซลล์มีขนาดใหญ่ ผนังบาง ✑ summer wood เป็นวงสีเข้มเกิดในช่วงน้ำน้อย เซลล์มีขนาดเล็ก ผนังหนา ✏ เนื้อไม้ wood คือ xylem ทั้งหมด ✏ เปลือกไม้ bark คือ phloem,cortex และepidermis

วงปี Annual ring

วงปี Annual ring Spring wood Summer wood wood bark ปีที่ 3 ปีที่ 1 ปีที่ 2

ลักษณะการเกิดวงปี ปีที่ 1

ลักษณะการเกิดวงปี ปีที่ 2

ลักษณะการเกิดวงปี ปีที่ 3 bark wood 3 2 1 ลักษณะการเกิดวงปี ปีที่ 3

โครงสร้างและหน้าที่ของใบ ส่วนประกอบภายนอกของใบ ✾ ตัวใบ lamina,blade เป็นแผ่นบางเหมาะต่อการสังเคราะห์แสง ✾ ก้านใบ petiole อยู่ระหว่างตัวใบกับลำต้น +ใบที่ไม่มีก้านใบ เรียก sessile leaf +ใบที่มีก้านใบ เรียก petidate leaf ✾ หูใบ stipule ยื่นออกจากโคนก้านใบ +ใบที่มีหูใบ เรียก stipulate leaf +ใบที่ไม่มีหูใบ เรียก exstipulate leaf

ประเภทของใบ จำแนกตามหน้าที่ ➣ ใบแท้ folige leaf ใบทำหน้าที่สังเคราะห์แสง ➣ ใบเลี้ยง cotyledon ทำหน้าที่เก็บสะสมอาหาร ส่งอาหารเลี้ยงต้นอ่อน ➣ ใบดอก floral leaf ใบมีสีสันสวยงาม ➣ ใบเกล็ด scale leaf เปลี่ยนมาจากใบแท้ห่อหุ้มตา และยอดอ่อน

ประเภทของใบ จำแนกตามรูปร่างที่เปลี่ยนแปลงไป ➧ ใบจับแมลง carnivorous leaf เช่น หยาดน้ำค้าง หม้อข้าวหม้อแกงลิง กาบหอยแครง ➧ หนาม spine เช่น กระบองเพชร มะขามเทศ ➧ มือเกาะ tendril เช่น ถั่วลันเตา มะระ ดองดึง ➧ ทุ่นลอย floating leaf เช่น ก้านใบผักตบชวา ➧ ฟิลโลด phyllode เช่น กระถินณรงค์

ประเภทของใบ จำแนกตามจำนวนใบ ➠ ใบเดี่ยว simple leaf ใบเพียงใบเดียวใน1ก้านใบ เช่น มะม่วง ตำลึง มะละกอ ➠ ใบประกอบ compound leaf มีใบย่อยมากกว่า1ใบ ใน1ก้านใบ เช่น มะขาม กุหลาบ จามจุรี + ข้อสังเกตถ้าเป็นใบประกอบ ทุกใบจะแก่พร้อมกัน

โครงสร้างภายในใบ ภาคตัดขวาง Epidermis เป็นเซลล์ชั้นเดียว ไม่มีคลอโรพลาสต์ มีคิวทิเคิลหรือสารเคลือบป้องกันการสูญเสียน้ำ ประกอบด้วย ❧ upper epidermis อยู่ด้านบน(หลังใบ) ❧ lower epidermis อยู่ด้านล่าง(ท้องใบ) มีบางเซลล์เปลี่ยนแปลงเป็น Guard cell มีคลอโรพลาสต์ควบคุมการ ปิด เปิดของปากใบ ❧epidermal cell อาจเปลี่ยนแปลงเป็น ขน หรือ ต่อม ในพืชบางชนิด

โครงสร้างภายในใบ ภาคตัดขวาง Mesophyll อยู่ระหว่าง upper epidermis และ lower epidermis ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ❧ palisade mesophyll อยู่ด้านบนประกอบด้วยเซลล์ทรงกระบอกเรียงกันแน่นมีคลอโรพลาสต์หนาแน่น ❧ spongy mesophyll อยู่ถัดลงมา รูปร่างไม่แน่นอนเรียงตัวกันหลวมๆ มีช่องว่างมากมีการแลกเปลี่ยนก๊าซ และ การระเหยของน้ำ

โครงสร้างภายในใบ ภาคตัดขวาง Vascular bundle ที่อยู่ในใบ คือ เส้นใบ vein อาจเรียงตัวเป็นร่างแห ในพืชใบเลี้ยงคู่ หรือขนาน ในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว รอบๆกลุ่มท่อลำเลียงจะมี bundle sheath ❧ ในพืช C3 เช่น ข้าวเจ้า ข้าวสาลี bundle sheath ไม่มี คลอโรพลาสต์ ❧ ในพืช C4 เช่น ข้าวโพด อ้อย bundle sheath จะมี

โครงสร้างภายในใบ ภาคตัดขวาง Vascular bundle Upper epidermis Epidermal cell cuticle Palisade mesophyll mesophyll Spongy mesophyll stomata Lower epidermis

โครงสร้างภายในใบ ภาคตัดขวาง

โครงสร้างภายในใบ ภาคตัดขวาง ใบพืชในที่ร่ม ใบพืชกลางแจ้ง

คำถามท้ายบท โครงสร้างใดของปลายรากที่มีการแบ่งเซลล์มากที่สุด โครงสร้างใดของปลายรากที่มีเนื้อเยื่อชั้นต่างๆครบถ้วน เนื้อเยื่อใดที่พบได้ในรากแต่ไม่พบในลำต้นหรือใบ เนื้อเยื่อส่วนใดของใบที่มีการสังเคราะห์แสงมากที่สุด ลำต้นใต้ดินกับรากแตกต่างกันอย่างไร ลำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่แตกต่างกันอย่างไร ท่อลำเลียงในใบพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่แตกต่างกันอย่างไร

Thank you ขอบคุณครับ