ครั้งที่ 1 ระบบตัวเลข & ลอจิกเกต (Number Systems & Logic Gates)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การทดลองที่ 5 วงจรนับ (Counter)
Advertisements

ลอจิกเกต (Logic Gate).
CS Assembly Language Programming
12.5 อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและการประยุกต์
EEE 271 Digital Techniques
Digital Logic and Circuit Design
Combination Logic Circuit
Basic Logic Gates วัตถุประสงค์ของบทเรียน รู้จักสัญญาณดิจิตอล
Boolean algebra George Boole ( ) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษผู้คิดค้น
Number Representations
PARITY GENERATOR & CHECKER
NUMBER SYSTEM Decimal number system (10) Noval number system (9)
เอ้า....มองย้อนดูกัน ไร้สาระลามกจกเปรต  ทั้งอุบาทว์น่าสมเพชทั้งหลาย สั่งรุ่นน้องเหมือนเป็นวัวเป็นควาย เป็นรุ่นพี่สมองคิดได้เท่านั้นหรือ  รุ่นน้องๆปีหนึ่งต้องปรับตัว.
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
Boolean Algebra พีชคณิตบูลลีน บทที่ 4.
Flip-Flop บทที่ 8.
DATA (in binary Digits)
เกท (Gate) AND Gate OR Gate NOT Gate NAND Gate NOR Gate XNOR Gate
Flip Flop ฟลิบฟล็อบ Flip Flop เป็น Multivibrator ชนิด Bistable คือ มี Output คงที่ 2 สภาวะ คำว่าคงที่ คือ คงอยู่ในสภาวะใดสภาวะหนึ่งโดยไม่จำกัดเวลา จนกว่าจะมี
การวิเคราะห์และสังเคราะห์เกต
ตอนที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
พีชคณิตบูลีน และการออกแบบวงจรลอจิก (Boolean Algebra and Design of Logic Circuit)
ระบบเลขในคอมพิวเตอร์
Gate & Circuits.
Introduction to Computer Organization and Architecture Physical Representation บทที่ 2 การแทนเชิง กายภาพ.
Electronics for Analytical Instrument
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
Multimedia Systems รศ. ดร. บุญวัฒน์ อัตชู
Content 3 (2 hour).
ข้อมูลและสารสนเทศ Data & Information.
หน่วยที่ 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
เครื่องมือวัดดิจิตอล
Chapter 1 Mathematics and Computer Science
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
ครั้งที่ 3 การวิเคราะห์ และ ออกแบบวงจรเกต
Cryptography & Steganography
การเขียนโปรแกรมรับข้อมูลแบบอนาล็อก
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
Two-Variable K-Map K-Map = Karnaugh map ตัวอย่างฟังก์ชัน input input.
ครั้งที่ 2 การบวกลบเลขฐานสอง (Binary Addition-Subtraction)
การปฐมนิเทศนักศึกษาชั้นปีที่ ๔ และสูงกว่า
Flip-Flop บทที่ 8.
เครื่องมือวัดดิจิตอล
Digital Circuit & Logic Design สอนโดย รศ. ดร
PHP (2) - condition - loop
ระบบเลขฐาน.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : การนำเสนอมัลติมีเดียในรูปแบบดิจิตอล(Digital Representation) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
การแปลงสัญญาณ ดิจิตอล เป็น อนาล็อก Digital to Analogue Conversion
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
การประยุกต์เข้ากับวงจรทางคณิตศาสตร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Introduction to Analog to Digital Converters
การลดรูป Logic Gates.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
Content 2 (1 hour).
Flip-Flop บทที่ 8.
Flip-Flop บทที่ 8.
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
ระบบจำนวนและ การแปลงเลขฐาน
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
ระบบตัวเลข, Machine code, และ Register
บทที่ 5 ระบบเลขฐานและรหัสแทนข้อมูล
ประชุมผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ณ โรงแรมเอวาน่า บางนา กทม
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ครั้งที่ 1 ระบบตัวเลข & ลอจิกเกต (Number Systems & Logic Gates) เลขฐานต่างๆ การแปลงเลขฐานต่างๆ เกตพื้นฐาน

ELECTRONICS Analog Electronics Digital Electronic Analog signals Continuous : ค่าที่ต่อเนื่อง Digital Electronic Digital Signals Discrete : ค่าที่ไม่ต่อเนื่อง

Analog Signals +V -V Voltage Time

Digital Signals +V -V Voltage Time

Analog Voltmeter

Digital Voltmeter

ระบบดิจิตอล ระบบดิจิตอล เป็นระบบที่การทำงานแสดงด้วยสถานะที่แตกต่างกัน โดยไม่มีความต่อเนื่องระหว่างกัน เช่น สวิทซ์ไฟฟ้า ที่มีการสถานะการปิด และ สถานะการเปิด ระบบตัวเลขฐานสิบที่ใช้ในชีวิตประจำวันที่มีตัวเลข 10 ตัว เป็นต้น ในระบบดิจิตอลเองก็ยังแบ่งย่อยลงไปตามจำนวนค่าที่ใช้งาน ระบบที่นำมาใช้งานในคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ คือ ระบบไบนารี่ (Binary system) ที่จำนวนสถานะหรือค่าที่ใช้มีเพียง 2 ค่าที่ตรงกันข้าม

ดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส์ (Digital Electronics) ระบบดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส์นั้น เป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่การทำงานแสดงด้วยค่าความต่างศักย์เป็นระดับ ๆ ที่แตกต่างกัน เช่นการใช้ค่าแรงดัน 10 ค่าสำหรับแทนค่าตัวเลขในฐานสิบแต่ละตัว เนื่องจากระบบดิจิตอลที่นิยมใช้กันคือ ระบบไบนารี่ ที่มีเพียง 2 ค่า ระบบอิเล็กทรอนิกส์ดิจิตอลที่นำมาใช้กันในปัจจุบันจึงเป็นระบบที่ใช้ค่าความต่างศักย์ที่แตกต่างกัน 2 ระดับ คือความต่างศักย์ค่าต่ำ และความต่างศักย์ค่าสูง เช่น ค่า 0 โวลท์ และ +5 โวลท์ เป็นต้น

ระบบตัวเลข (Number System) ระบบตัวเลขที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ คือ ระบบเลขฐานสอง (Binary Number System) ที่มีตัวเลขเพียง 2 ตัวคือ 0 และ 1 สำหรับตัวเลขในฐานอื่น ๆ ที่นำมาใช้เป็นตัวเลขที่สัมพันธ์กับเลขฐานสอง เราใช้เพื่อช่วยในการใช้งานเลขฐานสองให้ใช้ได้สะดวกขึ้น ได้แก่ เลขฐานแปด เลขฐานสิบหก และระบบตัวเลขที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่ ระบบเลขฐานสิบ

ระบบตัวเลข (Number System) Binary เลขฐานสอง Octal เลขฐานแปด Decimal เลขฐานสิบ Hexadecimal เลขฐานสิบหก

ระบบเลขฐานสอง (Binary Number Systems) ระบบเลขฐานสอง เป็นระบบตัวเลขที่มีเลขที่ใช้เขียนจำนวน 2 ตัวคือเลข 0 และ เลข 1 เช่น 0, 1001, 111001, 111110001 เป็นต้น

ระบบเลขฐานสอง 1000 1 1001 10 1010 11 1011 100 1100 101 …. 110 1111 111 10000 1000

Number of combinations = 2N ระบบเลขฐานสอง Most Significant Bit 101100 MSB LSB Least Significant Bit Maximum count = 2N – 1 Number of combinations = 2N N is the number of bit

การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ ระบบเลขฐานสิบ 10n 10n-1 …….. 102 101 100 ระบบเลขฐานสอง MSB LSB 2n 2n-1 …….. 22 21 20

การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ 395410 3 9 5 4 (3×103) + (9×102) + (5×101) + (4×100) = 3000+900+50+4 = 3954 101102 1 0 1 1 0 (1×24 ) + (0×23 ) + (1×22 ) + (1×21 ) + (0×20 ) = 16+0+4+2+0 = 22

การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ ตัวอย่าง จงแปลง 10001112 เป็นเลขฐานสิบ 1 0 0 0 1 1 1 × × × × × × × 26 25 24 23 22 21 20 64 32 16 8 4 2 1 (1×64)+(0×32)+(0×16)+(0×8) + (1×4) + (1×2) + (1 ×1) = 64+0+0+0+4+2+1 = 71

การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ ตัวอย่าง จงแปลง 1000.1112 ไปเป็นเลขฐานสิบ 1 0 0 0 . 1 1 1 × × × × . × × × 23 22 21 20 . 2-1 2-2 2-3 8 4 2 1 0.5 0.25 0.125 (1×8) + (0×4) + (0×2) + (0×1) + (1×0.5)+(1×0.25)+(1×0.125) = 8+0+0+0+0.5+0.25+0.125 = 8.875

การแปลงเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง ตัวอย่าง จงแปลง 4510 ไปเป็นระบบเลขฐานสอง วิธีที่1 26 25 24 23 22 21 20 64 32 16 8 4 2 1 1 1 1 1 45-32 = 13 13-8 = 5 5-4 = 1 1-1 = 0 4510 = 1011012

การแปลงเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง ตัวอย่าง จงแปลง 4510 ไปเป็นระบบเลขฐานสอง วิธีที่2 2 ) . 45 2 ) . 22 เศษ 1 LSB 2 ) . 11 เศษ 0 2 ) . 5 เศษ 1 2 ) . 2 เศษ 1 1 เศษ 0 MSB 4510 = 1011012

การแปลงเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง ตัวอย่าง จงแปลง 0.7510 ไปเป็นระบบเลขฐานสอง MSB 0.75 x 2 = 1.5 0.5 x 2 = 1.0 LSB 0.7510 = 0.112

การแปลงเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง ตัวอย่าง จงแปลง (41.53125)10 ไปเป็นระบบเลขฐานสอง วิธีทำ 2 ) . 41 2 ) . 20 เศษ 1 LSB 2 ) . 10 เศษ 0 2 ) . 5 เศษ 0 2 ) . 2 เศษ 1 1 เศษ 0 MSB 4110 = 1010012 ( คำตอบส่วนที่ 1)

การแปลงเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง MSB วิธีทำ (ต่อ) 0.53125 x 2 = 1.06250 0.06250 x 2 = 0.12500 0.12500 x 2 = 0.25000 0.25000 x 2 = 0.50000 0.50000 x 2 = 1.00000 LSB 0.5312510 = .100012 ( คำตอบส่วนที่ 2) 41.5312510 = 101001.100012

ระบบเลขฐานแปด (Octal number system) ในระบบเลขฐานแปด มีตัวเลขแตกต่างกัน 8 ตัว คือ จาก 0 ถึง 7 ตัวอย่าง จงนับเลขฐานแปดจาก 6668 จนถึง 7108 666 667 670 671 .. 676 677 700

ระบบเลขฐานแปด 0 1 2 3 4 5 6 7 10 11 12 13 14 15 16 17 20 21 22 23 24 25 26 27 30 31 32 33 34 35 36 37 . . . . . . . . n0 n1 n2 n3 n4 n5 n6 n7

การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด เนื่องจากเลขฐานสอง 3 บิตสามารถแทนค่าได้ 8 ค่าเท่ากับระบบเลขฐานแปด 1 หลัก การแปลงจึงทำได้โดยการแบ่งกลุ่มเลขฐานสองออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3 บิต เริ่มจากขวาไปซ้าย แล้วแปลงแต่ละกลุ่มเป็นเลขฐานแปด 1 หลัก แล้วนำมาเขียนเรียงต่อกัน ตัวอย่าง แปลง 1 0 1 1 1 1 0 12 เป็นเลขฐานแปด 010 111 101 2 7 5 101111012 = 275 8

การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด จงแปลง 10101.0111122 ไปเป็นเลขฐานแปด 1 0 1 0 1 . 0 1 1 1 12 010 101 . 011 110 2 5 . 3 6 ตอบ 10101.011112 = 25.368

การแปลงเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสอง ในการแปลงจากฐานแปดกลับไปเป็นระบบเลขฐานสองนั้น เรานำแต่ละหลักของเลขฐานแปดมาเขียนเป็นเลขฐานสอง (1 หลักได้ 3 บิต) แล้วนำมาเขียนเรียงต่อกัน เช่น 30628 แปลงเป็นเลขฐานสองได้ดังนี้ 3 0 6 2 011 000 110 010 30628 = 011 000 110 0102

ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal number system) ระบบเลขฐาน 16 คือระบบที่มีเลขจำนวน 16 ตัว โดยใช้เลข 1 ถึง 9 และอักษรภาษาอังกฤษคือ A, B, C, D, E, และ F รวม 6 ตัว แทนค่าที่ต่อจาก 9 (คือ ค่า 10 11 12 13 14 15 ในฐานสิบ) ตามลำดับคือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E และ F

ระบบเลขฐานสิบหก 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F 10 11 12 13 14 15 16 17 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 1A 1B 1C 1D 1E 1F 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 2A 2B 2C 2D 2E 2F . n0 n1 n2 n3 n4 n5 n6 n7 n8 n9 nA nB nC nD nE nF

เลขฐานสิบหก ตัวอย่าง จงเขียนเลขฐาน 16 จาก AE9 ถึง B00 วิธีทำ AE8 AE9 …… AEE AEF AF0 AF1 AFE AFF B00

การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบหก การแปลงเลขฐานสองเป็นฐานสิบหกทำได้ในลักษณะเดียวกับการแปลงเลขเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด เพราะเลขฐานสอง 4 บิตสามารถแทนค่าได้ 16 ค่าเท่ากับเลขฐานสิบหก 1 หลัก ในการแปลง เราแบ่งเลขฐานสองออกกลุ่มละ 4 บิตเริ่มจากขวาไปทางซ้ายแล้วแปลงแต่ละกลุ่มเป็นเลขฐานสิบหก 1 บิตแล้วนำมาเขียนเรียงต่อกัน หากกลุ่มซ้ายสุดมีไม่ครบ 4 บิต ให้เติม 0 ลงไปข้างหน้าให้ครบแล้วจึงแปลงเป็นเลขฐานสิบหก ในกรณีของทศนิยมให้เริ่มจากขวา(บิตแรกหลังจุดทศนิยม)ไปซ้าย

การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบหก ตัวอย่าง จงแปลง 101110012 ไปเป็นเลขฐาน 16 วิธีทำ 1011 1001 B 9 101110012 = B916

การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบหก ตัวอย่าง จงแปลง 1011.10012 ไปเป็นเลขฐาน 16 วิธีทำ 1011 . 1001 B . 9 1011.10012 = B.916

การแปลงเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสอง วิธีการแปลงทำได้โดยการแทนเลขฐานสิบหก 1 หลักด้วยเลขฐานสอง 4 บิตแล้วนำมาเขียนเรียงกัน ดังตัวอย่าง ตัวอย่าง จงแปลง C3A616 เป็นระบบเลขฐานสอง วิธีทำ C 3 A 6 1100 0011 1010 0110 C3A616 = 11000011101001102

การแปลงเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสอง ตัวอย่าง จงแปลง C3.A616 เป็นระบบเลขฐานสอง วิธีทำ C 3 . A 6 1100 0011 . 1010 0110 C3.A616 = 11000011.101001102

แผนภูมิการแปลงเลขฐานต่าง ๆ เลขฐานสิบหก เลขฐานสอง เลขฐานสิบ เลขฐานแปด เลข BCD

LOGIC GATE ลอจิกเกต

คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานในลักษณะเดียวกับการทำงานของสมองมนุษย์ที่ต้องมีความสามารถหลัก 2 ส่วนประกอบกันคือ ความสามารถในการคิดคำนวณหรือการประมวลผล และความสามารถในการจำ วงจรหรืออุปกรณ์ทางดิจิตอลที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอุปกรณ์ 2 ประเภทคือ เกต (Gate) สำหรับการประมวลผล และ ฟลิป-ฟลอป (Flip-Flop) สำหรับการจำ

เกต (Gates) เกตเป็นอุปกรณ์หรือวงจรที่ใช้ในการดำเนินการต่าง ๆ ที่เรียกว่าการประมวลผล (Processing) เกตพื้นฐานมี 3 ชนิดคือ - อินเวอร์เตอร์ (INVERTER - NOT) - แอนด์ (AND) - ออร์(OR) เพื่อความสะดวกในการใช้งานจึงได้มีการสร้างเกตขึ้นมาอีกหลายชนิดโดยการนำเกตพื้นฐานมาประกอบกันเป็นเกตใหม่หลายชนิด เช่น - แนนด์ (NAND) - นอร์(NOR) - เอ็กซ์คลูซีฟ-ออร์ (XOR) - เอ็กซ์คลูซีฟ-นอร์ (XNOR)

เกต (Gates) เกตเป็นอุปกรณ์หรือวงจรที่มี input ตั้งแต่ 1 input ขึ้นไป และมี 1 output โดยค่าของ output จะขึ้นกับค่าของ input หรือการประกอบกันของค่าของ input ค่าของ input แต่ละตัวมีค่า 2 ค่า คือ 0 หรือ 1 ค่าของ output แต่ละตัวมีค่า 2 ค่า คือ 0 หรือ 1

เกต (Gates) การแสดงการทำงานของเกตใช้ตารางที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง input และ output ในทุกกรณีของ input ที่เป็นไปได้ที่เรียกว่า ตารางความจริง (Truth Table) Input Output A B Y 1

อินเวอร์เตอร์ (Inverter / NOT) อินเวอร์เตอร์ เป็นเกตที่มี 1 input 1 output วงจรจะให้ output ที่ตรงกันข้ามกับ input input = 0 0utput = 1 และ input = 1 output = 0

อินเวอร์เตอร์ (Inverter / NOT) สัญลักษณ์ สมการบูลลีน และตารางความจริง Input Output A Y 1 Inverter Truth Table

อินเวอร์เตอร์ (Inverter / NOT) 1 1

แอนด์ เกต (AND Gate) เป็นเกตที่มี input ตั้งแต่ 2 input ขึ้นไป มี 1 output วงจรจะให้ output เป็น 1 เมื่อ input ทุกตัวมีค่าเป็น 1 กรณีอื่น ๆ ของ input ค่า output จะมีค่า 0

แอนด์ เกต (AND Gate) สัญลักษณ์ สมการบูลลีน และตารางความจริง Input Output A B Y 1 Truth Table

ออร์ เกต (OR Gate) เป็นเกตที่มี input ตั้งแต่ 2 input ขึ้นไป มี 1 output วงจรจะให้ output เป็น 1 เมื่อ input ตัวใดตัวหนึ่งมีค่าเป็น 1 เมื่อ input ทุกตัวมีค่า 0 ค่า output จะมีค่า 0

ออร์ เกต (OR Gate) สัญลักษณ์ สมการบูลลีน และตารางความจริง Input Output A B Y 1 Truth Table

แนนด์ เกต (NAND Gate) เป็นเกตที่มี input ตั้งแต่ 2 input ขึ้นไป มีการทำงานตรงกันข้ามกับ AND gate (วงจรจะให้ output เป็น 0 เมื่อ input ทุกตัวมีค่าเป็น 1 กรณีอื่น ๆ ของ input ค่า output จะมีค่า 1)

แนนด์ เกต (NAND Gate) สัญลักษณ์ สมการบูลลีน และตารางความจริง Input Output A B Y 1 Truth Table

นอร์เกต (NOR Gate) เป็นเกตที่มี input ตั้งแต่ 2 input ขึ้นไป มีการทำงานตรงกันข้ามกับ OR gate (วงจรจะให้ output เป็น 0 เมื่อ input ตัวใดตัวหนึ่งมีค่าเป็น 1 เมื่อ input ทุกตัวมีค่า 0 ค่า output จะมีค่า 1)

นอร์ เกต (NOR Gate) สัญลักษณ์ สมการบูลลีน และตารางความจริง Input Output A B Y 1 Truth Table

เอ็กซ์คลูซิฟออร์ เกต (XOR Gate) เป็นเกตที่มี input 2 input มี 1 output วงจรจะให้ output เป็น 1 เมื่อ input มีค่าต่างกัน ให้ output เป็น 0 เมื่อ input มีค่าเหมือนกัน

เอ็กซ์คลูซิฟออร์ เกต (XOR Gate) สัญลักษณ์ สมการบูลลีน และตารางความจริง Input Output A B Y 1 Truth Table

เอ็กซ์คลูซิฟนอร์ เกต (XNOR Gate) เป็นเกตที่มี input 2 input มี 1 output วงจรจะให้ output เป็น 1 เมื่อ input มีค่าเหมือนกัน ให้ output เป็น 0 เมื่อ input มีค่าต่างกัน

เอ็กซ์คลูซิฟนอร์ เกต (XNOR Gate) สัญลักษณ์ สมการบูลลีน และตารางความจริง Input Output A B Y 1 Truth Table