เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Electronic Circuits Design
Advertisements

เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 3 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดแกนเหล็กเคลื่อนที่
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
ที่มีตัวต้านทานไฟฟ้า
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
ย่านวัดแรงดัน ไฟฟ้าของ
Ch 2 Resistive Circuits วงจรซึ่งประกอบไปด้วย Resistors กับ Sources วงจรซึ่งประกอบไปด้วย Resistors กับ Sources กฎหลักพื้นฐานของการวิเคราะห์วงจรมี 2 ข้อคือ.
เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )
หน่วยที่ 7 ผลกระทบของแอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์
หน่วยที่ 1 แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า
RESONANCE CIRCUITS - IMPEDANCE REVIEW
เครื่องวัดเสียง.
การตรวจสอบสภาพมอเตอร์คอมเพรสเซอร์
บทที่ 8 เรื่อง เมชเคอร์เรนต์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
แรงดัน กระแส และ กำลังไฟฟ้า ในระบบ 3 เฟส
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสตรง DC Indicating Instruments
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสสลับ AC Indicating Instruments
Piyadanai Pachanapan, Power System Design, EE&CPE, NU
บทที่ 5 ไดโอดชนิดพิเศษ ไดโอดชนิดพิเศษ เช่น ซีเนอร์ไดโอด ไดโอดเปล่งแสง โพโต้ไดโอด และไดโอดแบบอื่นๆ ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในการควบคุมในงานอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม.
แบบจำลองของระบบไฟฟ้ากำลัง Power System Modeling
DC Voltmeter.
จากรูปที่ 13.3 ที่เวลา เมื่อไม่มีสัญญาณที่อินพุตทรานซิสเตอร์ จะไม่ทำงานและอยู่ในสภาวะ OFF คาปาซิเตอร์ C จะเก็บประจุเพื่อให้แรงดันตกคร่อมมีค่าสูง ทำให้มีกระแสไหลผ่าน.
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Watt Meter.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
พารามิเตอร์สายส่ง Transmission Line Parameters
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
เครื่องมือวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
วงจรข่ายสองทาง (Two Port Network)
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้
เครื่องผ่อนแรง Krunarong.
State Table ตารางสถานะ ปรับปรุง 18 เมษายน 2562
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน โดย
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
วงจรอาร์ ซี ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์
ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความผิดพลาดของการวัด
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
Electrical Instruments and Measurements
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตภาคใต้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์ Null Type Instrument

เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์ (Null Type Instrument) ใช้แก้ปัญหา Load Effect ที่มักจะพบเสมอๆ เนื่องจากโวลต์มิเตอร์ถึงแม้จะมี input impedance สูง ก็ยังคงมีกระแสค่าหนึ่งไหลผ่านโวลต์มิเตอร์  เกิดความผิดพลาดในการวัด !! เป็นการวัดแบบสมดุล เครื่องมือที่ใช้วัดจะไม่มีกระแสไหลผ่านตัวมัน ประเภทของเครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์ - Potentiometer Circuit - DC Bridges และ AC Bridge

ผลการโหลดของโวลต์มิเตอร์ กรณีวัดแรงดันไฟฟ้า ไม่มี Voltmeter มี Voltmeter

ผลการโหลดของโวลต์มิเตอร์ กรณีวัดความต้านทานไฟฟ้า (1)

ผลการโหลดของโวลต์มิเตอร์ กรณีวัดความต้านทานไฟฟ้า (2)

Potentiometer Circuit

โพเทนชิโอมิเตอร์ (Potentiometer Circuit) ใช้แก้ปัญหา Loading ที่เกิดในระหว่างวัดแรงดันไฟฟ้า DC เป็นการวัดแบบสมดุล เวลาใช้งานจะไม่มีการดึงกระแสจากวงจรที่ทำการวัด ทำการวัดแรงดันที่ไม่ทราบค่าโดยการเปรียบเทียบกับแรงดันที่ทราบค่า โดยใช้กัลวานอมิเตอร์ (ขดลวดเคลื่อนที่) เป็นตัวตรวจสอบความสมดุลของแรงดันทั้ง 2 ข้าง

Basic Potentiometer Circuit วงจรแบ่งแรงดัน + Vout - ปรับ potentiometer จน Vout = VX นำค่า R1 ที่ได้ ไปเทียบกับสเกล ว่าเทียบเท่ากับแรงดันกี่ Volt

Sliding Wire ลวดความต้านทาน

Basic Potentiometer Circuit ต่อกัลวานอมิเตอร์ เพื่อควรตรวจสอบว่า Vout เท่ากับ VX หรือไม่ Vout = VX เข็มจะชี้ค่าศูนย์

Potentiometer Circuit

การใช้งานวงจรโพเทนชิโอมิเตอร์ จะมี 2 ขั้นตอน คือ - ขั้นตอนปรับเทียบ (Calibrate) - ขั้นตอนการวัด (Operate)

- ขั้นตอนปรับเทียบ (Calibrate) ปรับ R1 จนกระทั้งกระแสที่ไหลผ่าน G มีค่าเป็นศูนย์ แรงดันคร่อมลวดความต้านทาน VBC มีค่าเท่ากับแรงดันเซลล์มาตรฐาน

- ขั้นตอนการวัด (Operate) เลื่อน C ไปตามลวด AB จนกระทั่ง G อ่านค่าได้เป็นศูนย์ วัดระยะของ BC แล้วคิดเทียบเป็นแรงดันของ VX

ตัวอย่างที่ 1 วงจร potentiometer ดังรูป ต่อเข้ากับเซลล์มาตรฐานขนาด 7 V โดยลวดความต้านทานมีสเกล (AB) 100 ช่อง เมื่อทำการปรับเทียบเรียบร้อยแล้ว พบว่า ระยะ AC เท่ากับ 70 ช่อง จงหาอัตราส่วน V/ช่อง ของวงจรนี้

70 ช่อง วัดแรงดันได้ 7 V 100 ช่อง วัดแรงดันได้ สเกลของ Potentiometer ตัวนี้ เท่ากับ

ตัวอย่างที่ 2 ถ้านำ Potentiometer จากตัวอย่างที่ 1 ไปใช้วัดแรงดันค่าหนึ่ง เมื่ออ่านค่า G=0 แล้วพบว่า จุด C ที่เลื่อนไป ห่างจากจุด A ไป 58 ช่อง จงหาค่าแรงดันที่อ่านได้ Potentiometer มีสเกล 0.1 V/ช่อง อ่านแรงดันได้ 58 ช่อง  = 58 x 0.1 = 5.8 V

ตัวอย่างที่ 3 วงจร Potentiometer มีลักษณะดังรูป โดยลวดความต้านทาน (Slide Wire) มีขนาด 300 โอห์ม ยาว 200 cm โดยที่แต่ละช่องมีความกว้าง 1 mm เมื่อทำการปรับเทียบกับเซลล์อ้างอิงขนาด 1.019 V พบว่าลวดความต้านชี้ไปที่ระยะ 101.9 cm

จงหา กระแสที่ไหลในวงจร (Working Current) 2. ความต้านทาน R ที่ตั้งไว้ 3. ย่านของการวัด (Measurement Range) 4. ความละเอียด (Resolution) ถ้าสามารถอ่านค่าได้ ในระดับครึ่งหนึ่งของช่องที่แบ่งไว้ (0.5 mm)

3 V

กระแสที่ไหลในวงจร (Working Current) ลวดตัวนำยาว 200 cm มีความต้านทาน 300 โอห์ม ลวดตัวนำยาว 101.9 cm มีความต้านทาน

กระแสในวงจร

2. ความต้านทาน R ที่ตั้งไว้ ลวดตัวนำยาว 101.9 cm มีแรงดันเท่ากับ 1.019 V ลวดตัวนำยาว 200 cm มีแรงดันเท่ากับ

แรงดันคร่อมตัว R เท่ากับ

3. ย่านของการวัด (Measurement Range) = 2 V (สุดสเกล) 4. ความละเอียด (Resolution) ถ้าสามารถอ่านค่าได้ ในระดับครึ่งหนึ่งของช่องที่แบ่งไว้ (0.5 mm) ลวดตัวนำยาว 200 cm มีแรงดันเท่ากับ 2 V ลวดตัวนำยาว 0.5 mm มีแรงดันเท่ากับ

หาขนาดแรงดันของแต่ละช่องสเกล ลวดตัวนำยาว 200 cm มีแรงดันเท่ากับ 2 V ลวดตัวนำยาว 1 mm มีแรงดันเท่ากับ 1 cm 200 cm 1 mV

ตัวอย่างที่ 4 The Slide – Wire Potentiometer is equipped with a 10 turns slide wire with a total resistance of 10 Ohm and a 15 step dial switch with 10 Ohm/step resistance. The circular slide-wire scale has 100 divisions, and interpolation can be made to 1/5 of a division. If the magnitude of the working voltage is 3 V, calculate the following The measurement range 2. The resolution 3. The working current 4. The Resistance of the Rheostat

3 V แบ่งเป็น 10 รอบ ใน 1 รอบ แบ่ง 100 ช่อง

The measurement range กระแสในวงจร ย่านการวัด =

2. The resolution พิจารณาที่ Slide Wire ลวดตัวนำ 10 รอบ มีแรงดัน 0.1 V ลวดตัวนำ 1 รอบ มีแรงดัน พิจารณาที่ Slide Wire 1 รอบ (10 mV) ลวดตัวนำ 100 ช่อง มีแรงดัน 10 mV ลวดตัวนำ 1 ช่อง มีแรงดัน

สามารถอ่านได้ละเอียดถึงระดับ 1/5 ของช่อง

3. The working current = 10 mA 4. The Resistance of the Rheostat 3 V