ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavioral Theories)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศ. 432 ทฤษฎีและนโยบายการเงิน
Advertisements

การวิจารณ์งานทัศนศิลป์ (Art Criticism)
Leadership Lesson 6 ภาวะผู้นำ.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน (Humen Behavior and Self Development)
การจัดการเรียนรู้ Learning
จิตวิทยาเบื้องต้น โดย ….รองศาสตราจารย์ลิขิต กาญจนาภรณ์
Learning Theory Dr.Chawanun Charnsil.
บทที่ 2 : การเรียนรู้ (Learning)
รายวิชา จิตวิทยาความรุนแรงและความก้าวร้าวในสังคม
2. ระดับในการบริหารงานแบ่งแยกได้เป็นกี่ระดับ อะไรบ้าง
คัชชาตา เจริญวงค์ นักจิตวิทยาคลินิก ศูนย์สุขภาพจิตที่ 4 กรมสุขภาพจิต
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การจัดทำยุทธศาสตร์/แผนงาน/โครงการพัฒนาสุขภาพโดยใช้ Evidence Based
ความสำคัญปัญหาองค์ประกอบ M-I-S M-I-Sสนใจเรื่องอะไร สรรพสิ่ง ENTITIES Context อะไร.
โดย ผศ.ดร.เสริมศิริ อัครพุฒิพันธ์
บทที่ 12 กระบวนการเรียนรู้ การเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการที่ บุคคลจัดองค์การความรู้อันทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างถาวรในพฤติกรรมของเขา และจะสามารถนำใช้อีก.
น.ส.ศุภวรรณ ภัทรคุปต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสุราษฎร์ธานี
ศ. 432 ทฤษฎีและนโยบายการเงิน
การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI โดย อาจารย์วาสนา สังข์พุ่ม
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการเรียนการสอน
บทที่ 2 การกำหนดปัญหาและวัตถุประสงค์ของการวิจัย
จิตวิทยาการเรียนรู้.
บทที่ 10 พฤติกรรมของสัตว์
ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา
Educational Technology & Instructional Technology
Learning Theory Dr. Sumai Binbai.
บทที่ 10 พฤติกรรมของสัตว์
การพัฒนาสังคม Social Development 9 : 22 ต.ค. 60.
แปลว่าความรู้(Knowledge)
การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวชจากสารเสพติด
บทบาทพยาบาลในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำให้การเรียนรู้
แนวคิด ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และการเลือกวิธีการสุ่มตัวอย่าง
บทที่ 3 ระบบสารสนเทศกับการบริหารองค์กร
การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
learning theory ทฤษฎีการเรียนรู้
พัฒนาการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (1)
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy
บทที่ 1 ความเบื้องต้นเกี่ยวกับ ความรับผิดละเมิด
๑. หลักการบริหารงานทั่วไปและการบริหารทางการพยาบาล
แนวทางการบริหารงานเพื่อสอดรับ กับการปรับระบบบริหารงานบุคคล
การจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
การประเมินการเรียนการสอน
บทที่ 6ทฤษฎีเกม Game Theory
ศิลปะกรีก (GREECE ART)
Operant Behavior (การกระทำทำให้เกิดการเรียนรู้)
กระทรวงศึกษาธิการ.
อาจารย์เศวตาภรณ์ ตั้งวันเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ทฤษฏีและหลักการบริหารค่าตอบแทน
ข้อพิสูจน์ที่น่าเชื่อถือที่สุด
กระบวนการเรียนรู้ของผู้บริโภค
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เชิงกลยุทธ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี
แนวความคิดและทฤษฎีการจัดการ Concept and Management Theory
กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
พฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Behavior)
ประวัติของ ภาษาบาลีและสันสกฤต ในภาษาไทย
บุคลิกภาพ (ต่อ).
น้ำตกคลองลาน อุทยานแห่งชาติคลองลาน อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร
นัก วิทยาศาสตร์ ผู้ผลิต โทรทัศน์ คนแรก ของ โลก
ทฤษฎีทางสังคมวิทยา.
Quantum Information Theory
บทที่ 2 ปัจจัยที่จำเป็นต่อการพัฒนาหลักสูตร
รพีพัฒน์ จันทนินทร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การปกครองท้องถิ่นไทย PPA 1103
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavioral Theories) Respondent Behavior Operant Behavior พาฟลอฟ (Pavlov) สกินเนอร์ (Burrhus Skinner ) วัตสัน (John B.Watson) ธอร์นไดค์ (Edward L Thorndike)

พฤติกรรมที่บุคคลหรือสัตว์แสดงพฤติกรรมตอบสนองออกมา (Emitted) Respondent Behavior Operant Behavior พฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดยสิ่งเร้า เมื่อมีสิ่งเร้าตอบสนอง ก็จะเกิดขึ้น ซึ่งสามารถสังเกตได้ อธิบายได้โดยทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค Classical Conditioning Theory พฤติกรรมที่บุคคลหรือสัตว์แสดงพฤติกรรมตอบสนองออกมา (Emitted) โดยปราศจากสิ่งเร้าที่แน่นอน พฤติกรรมนี้มีผลต่อสิ่งแวดล้อม ทฤษฎีการเรียนรู้ที่ใช้อธิบาย Operant Behavior เรียกว่า Operant Conditioning Theory

พาฟลอฟ (Pavlov) ทำการทดลองกับสุนัข โดยจะฝึกให้สุนัขน้ำลายไหลเมื่อได้ยินเสียงกระดิ่ง โดย ทำซ้ำๆ สั่นกระดิ่ง +ให้ผงเนื้อ สุนัข สุนัขน้ำลายไหล สั่นกระดิ่ง สุนัข สุนัขน้ำลายไหล

วัตสัน (John B.Watson) พฤติกรรมเป็นสิ่งที่สามารถควบคุมให้เกิดขึ้นได้ โดยการควบคุมสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขให้สัมพันธ์กับสิ่งเร้าตามธรรมชาติ และการเรียนรู้จะคงทนถาวรหากมีการให้สิ่งเร้าที่สัมพันธ์กันนั้นควบคู่กันไปอย่างสม่ำเสมอ

ธอร์นไดค์ (Edward L Thorndike) ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เน้นความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า (S) กับการตอบสนอง (R) เรียกทฤษฎีนี้ว่า ทฤษฎีพันธะระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง (Connectionism Theory) หรือ ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง ซึ่งกล่าวถึงการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง โดยมีหลักพื้นฐานว่า การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองที่มักจะออกมาในรูปแบบต่างๆ หลายรูปแบบ โดยการลองถูกลองผิด จนกว่าจะพบรูปแบบที่ดีและเหมาะสมที่สุด

สกินเนอร์ (Burrhus Skinner ) การเรียนรู้เกิดขึ้นภายใต้เงื่อนไขและสภาวะแวลล้อม ที่เหมาะสม เพราะทฤษฎีนี้ต้องการเน้นเรื่องสิ่งแวดล้อม สิ่งสนับสนุนและการลงโทษ (การเสริมแรงทางบวกและเสริมแรงทางลบ)