ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavioral Theories) Respondent Behavior Operant Behavior พาฟลอฟ (Pavlov) สกินเนอร์ (Burrhus Skinner ) วัตสัน (John B.Watson) ธอร์นไดค์ (Edward L Thorndike)
พฤติกรรมที่บุคคลหรือสัตว์แสดงพฤติกรรมตอบสนองออกมา (Emitted) Respondent Behavior Operant Behavior พฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดยสิ่งเร้า เมื่อมีสิ่งเร้าตอบสนอง ก็จะเกิดขึ้น ซึ่งสามารถสังเกตได้ อธิบายได้โดยทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค Classical Conditioning Theory พฤติกรรมที่บุคคลหรือสัตว์แสดงพฤติกรรมตอบสนองออกมา (Emitted) โดยปราศจากสิ่งเร้าที่แน่นอน พฤติกรรมนี้มีผลต่อสิ่งแวดล้อม ทฤษฎีการเรียนรู้ที่ใช้อธิบาย Operant Behavior เรียกว่า Operant Conditioning Theory
พาฟลอฟ (Pavlov) ทำการทดลองกับสุนัข โดยจะฝึกให้สุนัขน้ำลายไหลเมื่อได้ยินเสียงกระดิ่ง โดย ทำซ้ำๆ สั่นกระดิ่ง +ให้ผงเนื้อ สุนัข สุนัขน้ำลายไหล สั่นกระดิ่ง สุนัข สุนัขน้ำลายไหล
วัตสัน (John B.Watson) พฤติกรรมเป็นสิ่งที่สามารถควบคุมให้เกิดขึ้นได้ โดยการควบคุมสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขให้สัมพันธ์กับสิ่งเร้าตามธรรมชาติ และการเรียนรู้จะคงทนถาวรหากมีการให้สิ่งเร้าที่สัมพันธ์กันนั้นควบคู่กันไปอย่างสม่ำเสมอ
ธอร์นไดค์ (Edward L Thorndike) ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เน้นความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า (S) กับการตอบสนอง (R) เรียกทฤษฎีนี้ว่า ทฤษฎีพันธะระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง (Connectionism Theory) หรือ ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง ซึ่งกล่าวถึงการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง โดยมีหลักพื้นฐานว่า การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองที่มักจะออกมาในรูปแบบต่างๆ หลายรูปแบบ โดยการลองถูกลองผิด จนกว่าจะพบรูปแบบที่ดีและเหมาะสมที่สุด
สกินเนอร์ (Burrhus Skinner ) การเรียนรู้เกิดขึ้นภายใต้เงื่อนไขและสภาวะแวลล้อม ที่เหมาะสม เพราะทฤษฎีนี้ต้องการเน้นเรื่องสิ่งแวดล้อม สิ่งสนับสนุนและการลงโทษ (การเสริมแรงทางบวกและเสริมแรงทางลบ)