Direction of EPI vaccine in AEC era

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศักยภาพของคนไทยในการผลิตและวิจัยวัคซีนใหม่
Advertisements

การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
การพิจารณาเลือกชนิด วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค นพ.พรศักดิ์ อยู่เจริญ สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค.
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
การคิดจัดสรรงบ PPE ปี 2556 การคิดจัดสรรงบ PPE ปี 2556 รายการงบ วงเงิน
แนวทางการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
การตั้งค่าวัคซีน.
“การขยายโรงงานผลิตวัคซีนวัณโรค สู่มาตรฐานสากล”
นโยบายการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
การประเมินมาตรฐานด้าน การบริหารจัดการวัคซีนและ
การตรวจสอบข้อมูลการให้วัคซีน แฟ้ม EPI
วัคซีนคอตีบและบาดทะยัก (dT)
โครงการรณรงค์ให้วัคซีน dT แก่ประชากรกลุ่มอายุ ปี
การสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค
ทิศทาง..... งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2558
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
การป้องกันควบคุมโรคหัด และ รู้จักวัคซีนป้องกันโรคหัด
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ 1 ปี และโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ประเทศไทย : ปี ที่มา: กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน,
D 1 E 1 S E M N G ม. I G I T Traveling A L 4.0.
แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค กระทรวงสาธารณสุข
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
Flow chart การบริการคลินิกสุขภาพเด็กดี รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น
มาตรฐานที่ ๒ การให้บริการวัคซีน
โครงการรณรงค์ให้วัคซีน dT แก่ประชากรกลุ่มอายุ ปี
มาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การบริหารจัดการคลังวัคซีน และระบบลูกโซ่ความเย็น
แนวทางการให้บริการวัคซีน Rota
การให้บริการวัคซีนไวรัสโรต้า ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
27 ปี งานกวาดล้างโปลิโอ รณรงค์ OPV ประจำปี
ขอต้อนรับ อธิบดีกรมควบคุมโรค
แนวทาง การให้บริการวัคซีนโปลิโอ
วาระประชุมเดือนกันยายน 2559
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
สถิตินิติบุคคลตั้งใหม่ ช่วงเดือน ม.ค – มิ.ย (สนง.ใหญ่)
การปรับรหัสวัคซีนในงาน EPI
แนวทางการพัฒนามหาวิทยาลัย และการเป็นมหาวิทยาลัยแม่แบบที่ดีของสังคม
กลุ่มที่ 3 : Scenario 3.
วิชา วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization)
แนวทางการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
PM4 งานคุ้มครองผู้บริโภค สิ่งแวดล้อม และควบคุมโรค
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
แนวทางการให้บริการวัคซีนโปลิโอ
แนวทางการดำเนินงานให้วัคซีน
กลุ่มงานควบคุมโรค (งานโรคติดต่อ).
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
คำขวัญอำเภอเมืองเชียงใหม่
การเฝ้าระวังอาการภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การพัฒนาคุณภาพข้อมูลสุขภาพ จังหวัดสระแก้ว
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
สาขาการพัฒนาเครือข่าย สุขภาพอำเภอและบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 2
แนวทางการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2560
การบริหารระบบลูกโซ่ความเย็น ในระบบยา
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
แนวทางการดำเนินงานให้วัคซีน ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์สายพันธุ์ SA
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
โครงการพัฒนารูปแบบการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ (Adult Vaccination Clinic)
การปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข ปี ๒๕๖๑ จังหวัดสกลนคร ครั้งที่ ๑
ข้อมูล EPI จาก HDC ณ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
Measles Situation, Thailand 2011 – May 2012
งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (P&P) ปี 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Direction of EPI vaccine in AEC era ศ.พญ. กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ : คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ : กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

อะไรจะเกิดขึ้นหลังเปิด AEC ? การซื้อขายสินค้าระหว่างกันสะดวกขึ้น ข้อกำจัดการเดินทางระหว่างประเทศลดลง เงินทุน แรงงานทักษะสูงเคลื่อนย้ายได้เสรีมากขึ้น สังคมหลากหลายเชื้อชาติวัฒนธรรม กฎระเบียบเป็นมาตรฐานสากลมากขึ้น

Immunization schedule in AEC countries BCG DTP HepB Hib OPV M / MR / MMR JE Rota dT adult ไทย Yes DTP-HB - 5 2 Part พม่า DTP-HB-Hib 3 TT เขมร ลาว 1 เวียดนาม WHO vaccine-preventable diseases: monitoring system. 2014

The Challenges Measles

Measles elimination is aimed for the year 2020 in SEA

ปัญหาของหัดในประเทศไทยและทางแก้ หัดยังพบเรื่อยๆในประเทศไทย โดยเฉพาะผู้ที่ได้วัคซีนครั้งเดียวในวัยรุ่น และผู้ใหญ่ตอนต้นที่อายุ 15-35 ปี แม้ว่าการครอบคลุมของวัคซีนจะดี แต่มี primary vaccine failure เพราะฉีดเข็มแรกที่ 9 เดือน และยังฉีดเข็ม 2 ช้าไป (ป. 1 เมื่ออายุ 7 ขวบ) ทำให้เกิดการสะสมของเด็กที่มี primary failure อยู่มาก กว่าจะได้เข็ม 2 จึงมีการเปลี่ยนอายุเด็กที่ได้เข็มที่ 2 จาก ป.1 เป็น 2.5 ปี ตั้งแต่ 2557 มีต่างชาตินำเชื้อเข้ามาเติมให้เรื่อยๆ ต้องมี Catch-up ผู้ใหญ่ทุกคนที่อายุน้อยกว่า 35 ปี !!! ที่ไม่เคยรับวัคซีนตอนป.1 หรือ ป.6 หรือไม่แน่ใจ ควรได้รับวัคซีน MMR/MR อย่างน้อย 1 ครั้ง

ผู้ป่วยหัดอายุ 8 เดือน เป็นหัดก่อนอายุที่จะฉีด

เป็นหัดเมื่ออายุ 4 ปี อายุถึงเกณฑ์ที่เอกชนฉีดเข็ม 2 แต่ไม่ได้ฉีด เป็นหัดเมื่ออายุ 4 ปี อายุถึงเกณฑ์ที่เอกชนฉีดเข็ม 2 แต่ไม่ได้ฉีด

ชีวิตจริง

ตัวอย่างรายงานการระบาดผู้ป่วยยืนยันโรคหัด (IgM positive), ประเทศไทย , 2556 ลำดับ จังหวัด สถานที่ จำนวน (คน) อายุ วันเริ่มป่วย ลักษณะประชากร 1 ราชบุรี ศูนย์พักพิงบ้านถ้ำหิน 13 6 เดือน - 38 ปี 3 มค.-12 กพ. กระเหรี่ยง โรคระบาดจากพม่า 2 ตาก โรงเรียนรวมไทยพัฒนา 7 1-6 ปี 15 มีค.-14 เมย. ชายแดนพม่า, Low vaccine coverage 3 แม่ฮ่องสอน ศูนย์พักพิง แม่ลามาหลวง 23 6 เดือน - 44 ปี 7 มีค.-24 เมย.

ตัวอย่างการระบาดโรคหัด และ หัดเยอรมัน ในแรงงานต่างด้าว 2554-2556 ตัวอย่างการระบาดโรคหัด และ หัดเยอรมัน ในแรงงานต่างด้าว 2554-2556 หัดระบาดทั่วจังหวัดสมุทรสาครนานหลายเดือน ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ทั้งไทยและพม่า หัดระบาดใน 2 โรงงาน ของจังหวัดเพชรบูรณ์ พบเป็นแรงงานพม่า หัดเยอรมันระบาด ในหลายโรงงาน ในภาคตะวันออก พบเป็นแรงงานเขมร / ลาว หัดระบาดในจังหวัดภูเก็ต ในแหล่งขายของ ขายบริการ นานกว่าปี พบเป็นแรงงาน ไทย / พม่า ผู้ป่วยหัดเยอรมันที่มีผลยืนยันทางห้องปฏิบัติการ ปี 2554 จำนวนเขมรเกือบเท่าไทย

การปฏิบัติในเรื่อง MMR2 สปสช ได้จัดหาวัคซีนเพิ่ม และดำเนินการตามมติดังกล่าว ได้ตั้งแต่ สิงหาคม 2557 นอกจากนี้ เพื่อประโยชน์สูงสุดต่อเด็กกลุ่มนี้ กรมควบคุมโรคจะจัดหาวัคซีน เพื่อปิด gap immunity แก่เด็กอายุระหว่าง 2.5 -7 ปีพร้อมกันครั้งเดียวในปี 2558 ปิด gap (เริ่ม พค.-กย. 2558) 9 เดือน (เข็มหนึ่ง) 2.5 ปี (เริ่ม สค. 2557) 7 ปี (ยกเลิก 2559)

เมื่อกำจัดหัดได้ หัดเยอรมันก็จะหายไปเอง The Challenges หัดเยอรมันวินิจฉัยยาก แต่ยังพบได้เสมอ เกิดปัญหาโดยเฉพาะ congenital rubella จึงจำเป็นต้องกำจัดไปพร้อมหัด ด้วยวัคซีนตัวเดียวกัน เมื่อกำจัดหัดได้ หัดเยอรมันก็จะหายไปเอง

ปัญหาในการกำจัดหัด และควบคุมหัดเยอรมัน และคางทูม ทำอย่างไรให้ผู้ใหญ่อายุ < 35 ปี ได้ฉีด MMR อย่างน้อย 1 เข็ม อาจมีการขาดแคลน MMR (มีการผลิตจำหน่ายน้อยลง) - ต้องใช้ MR แทนชั่วคราว โดยเฉพาะช่วงรณรงค์

Diphtheria-Tetanus-Pertussis The Challenges Diphtheria-Tetanus-Pertussis

ปัญหาคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน ในประเทศไทย ปัญหาคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน ในประเทศไทย คอตีบและบาดทะยักพบน้อยลงมาก แต่ยังมีการระบาดของคอตีบในบางพื้นที่ มีความครอบคลุมในการใช้วัคซีนบาดทะยักสูงในผู้ที่มีบาดแผลและหญิงตั้งครรภ์ แต่ไม่ค่อยมีการใช้วัคซีนคอตีบ บาดทะยักเป็นโรคของผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ที่ไม่ค่อยมีโอกาสรับวัคซีนกระตุ้น คอตีบระบาด เพราะคอยมีต่างชาตินำเข้า และภูมิคุ้มกันในประชากรต่ำ ใช้วัคซีน DTwP-HB ใน EPI มีความครอบคลุมสูง ทำให้โรคในเด็กลดลง แต่ภูมิคุ้มกันจากวัคซีนไม่อยู่นานตลอดชีวิต ไอกรนยังพบมาก โดยเฉพาะในวัยรุ่นและผู้ใหญ่ ซึ่งวินิจฉัยยาก 17

Seroprotection to Diphtheria at Dansai 2012 มากกว่าครึ่งของผู้ใหญ่ไทย ไม่มีภูมิคุ้มกันโรคคอตีบ Seroprotection to Diphtheria at Dansai 2012 Diphtheria antibody levels among 446 subjects—Mukdahan Province, Thailand, 1996–1997. Tharmaphornpilas P et al. J Infect Dis. 2001;184:1035-1040

การระบาดของโรคคอตีบในภาคอีสาน ปี 2555

ประเทศลาวมีการระบาดของคอตีบ Herd immunity ของ Diphtheria = 85 % ผู้ป่วยโรคคอตีบชาวลาวข้ามฝั่งมารักษาที่ประเทศไทยหลายราย เช่นที่ อ.เชียงของ จ.เชียงราย อ.ท่าลี่ จ.เลย การระบาดในลาวยังมีอยู่ต่อเนื่อง สปป.ลาว ขอรับการสนับสนุน DAT จากไทย ประเทศไทยมีช่องว่างภูมิต้านทานโรค กลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อน หรือเกิดในช่วงต้นของ EPI เด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับไม่ครบ พื้นที่ต่างๆที่เสี่ยง Herd immunity ของ Diphtheria = 85 %

รายงานผู้ป่วยโรคคอตีบในประเทศไทย, 2555 Province Cases Chiang Rai 2 Phetchabun 5 Bungkan 1 Loei 27 Nong Bua LamPhu 3 Udon Thani Khon Kaen NakhonRatchasima Nakhon Si Thammarat Surat Thani Pattani 8 Songkhla Yala Total 63

นโยบาย ประเทศไทย ป้องกันคอตีบระบาด ยกระดับภูมิคุ้มกันของ diphtheria ให้สูงพอที่จะป้องกันการระบาดทั่วประเทศโดย ให้วัคซีน EPI ในเด็กให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ ทุกชาติพันธุ์ ให้ใช้วัคซีน dT แทน TT ในทุกโอกาส ทั้งที่มีบาดแผล หญิงมีครรภ์ ทะยอยฉีดกระตุ้นให้ผู้ใหญ่ (เช่น มาตรการรณรงค์ในวาระพิเศษ หรือ ฉีดเมื่ออายุลงท้ายด้วย “0” ได้แก่ 20, 30, 40, 50 ปี) ฉีดครอบคลุมให้พื้นที่ที่มีการระบาดแก่ทุกคน รวมทั้งเด็กที่ได้รับวัคซีนไม่ครบ มาตรการที่ต้องทำไปด้วยกัน จัดหาวัคซีนให้ทุกภาคส่วน ให้ความรู้แพทย์และประชาชน ให้เลิกใช้ TT รพ.จุฬาลงกรณ์ ยกเลิกแล้ว และใช้ dT แทน

โครงการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบและหัด เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 มี.ค. – เม.ย. 57 ต.ค. – ธ.ค. 57 ม.ค. – เม.ย 58 ขยายออกถึง กค.58 พ.ค. – ก.ย. 58 โครงการนำร่องรณรงค์ dT จ.มุกดาหาร (1.6 แสนโด๊ส) ขยายการรณรงค์ dT ภาคอีสาน 19 จังหวัด (~10 ล้านโด๊ส) ขยายการรณรงค์ dT ภาคเหนือ/กลาง /ใต้ รวม 57จังหวัด (~ 18 ล้านโด๊ส) ให้วัคซีน MR 2 .5 - 7 ปี ทั่วประเทศ

Policy ที่อยู่ระหว่างการผลักดัน แรงงานต่างด้าวเกิดหลัง พ.ศ. 2520 ต้องได้รับ MR จึงจะขึ้นทะเบียนทำงานได้ เด็กต่างด้าวที่ติดตามผู้ปกครองเข้ามา พื้นที่ต้องติดตาม ให้ได้รับวัคซีนเหมือนเด็กไทย เด็กเข้าศูนย์เด็กเล็ก / โรงเรียน ต้องได้รับวัคซีนครบถ้วน

THANK YOU