ยุทธศาสตร์ชาติกับการพัฒนา มจธ. ธนิตสรณ์ จิระพรชัย ศูนย์นวัตกรรมระบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 12 มกราคม 2547 ณ ห้องประชุมชั้น 9 สำนักงานอธิการบดี
แนวคิดการบริหารประเทศในยุคของการเปลี่ยนแปลง วิสัยทัศน์ประเทศ เป้าหมายของประเทศ Charter Vision/Mission Objective/Strategy/Policy SWOT Analysis กลยุทธ์ของประเทศ ปรับวัฒนธรรมการทำงาน ปรับค่านิยม และความเชื่อ สร้างวิสัยทัศน์ร่วม สร้างภาวะผู้นำ ที่มีความรู้ Culture/ Paradigm/ HR ปรับโครงสร้างกระทรวง Agenda based Area based Cluster CEO, COO และ CFO Delegating Integrating Structure Shared Vision/Value GFMIS e – Government e – Citizen Operation Center Process & Systems Tools เรื่องงปม.ก็ขอตรงจากสำนักงบประมาณได้ Monitoring & Evaluation System Matrix Reporting System
Key Performance Indicator ภาพรวมแนวทางการวางแผนกลยุทธ์ Vision Mission Objectives Strategies Policy Philosophy /Value SWOT Analysis Key Performance Indicator นโยบายแห่งรัฐ - รัฐธรรมนูญ - แผนพัฒนาฯ - นโยบายรัฐบาล นโยบาย แห่งองค์กร Flagships แผนระยะสั้น แผนระยะยาว แผนแม่บท ICT Plan/Project หน่วยงานระดับ คณะ/สำนัก
ปัญหาสำคัญของการจัดทำแผน และกระจายสู่ภาคปฏิบัติ ทำแผนโดยมีข้อมูลที่ไม่เพียงพอ วิเคราะห์คลาดเคลื่อน ไม่ได้มององค์กรในลักษณะองค์รวม ความเข้าใจในความหมายของแผนไม่ตรงกัน นิยามไม่ชัดเจน ขาดคำอธิบายการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ที่ชัดเจนทั้งในส่วนของแผน และระดับของ ความรับผิดชอบ ทั้งระดับมหาวิทยาลัย – คณะ/สำนัก – ภาควิชา ลำดับชั้นของแผนมากเกินไป ไม่เข้าใจในกระบวนการจัดทำแผนกลยุทธ์ และขาดการมีส่วนร่วม ส่งผลให้ขาดความมุ่งมั่นในการผลักดันแผนสู่ความสำเร็จ ภาระงานประจำเป็น กับดักของงานซ้ำซาก ไม่สามารถแยกความแตกต่างระหว่าง ผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ ไม่แน่ใจ ในการวัดความสำเร็จของโครงการ ขาดองค์ความรู้ในหลักการบริหารจัดการตามแนวทางใหม่ของรัฐ เรื่องงปม.ก็ขอตรงจากสำนักงบประมาณได้
ปัญหาสำคัญของการจัดทำแผน i ปัญหาสำคัญของการจัดทำแผน ทำแผนโดยมีข้อมูลที่ไม่ เพียงพอ วิเคราะห์คลาดเคลื่อน ไม่ได้มององค์กรในลักษณะองค์รวม ntuition สัญชาตญาณ nformation สารสนเทศ ntention ใส่ใจในความมุ่งหมาย มติคณะรัฐมนตรี (สำนักนายกรัฐมนตรี) www.thaigov.go.th สำนักงานคณะกรรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ www.nesdb.go.th สำนักงบประมาณ www.bb.go.th สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน www.ocsc.go.th เรื่องงปม.ก็ขอตรงจากสำนักงบประมาณได้
นโยบายรัฐบาล: การปรับเปลี่ยนกระบวนการ จัดทำและจัดสรรงบประมาณ (26 ก. พ นโยบายรัฐบาล: การปรับเปลี่ยนกระบวนการ จัดทำและจัดสรรงบประมาณ (26 ก.พ. 44) 15.2 ด้านการบริหารราชการ (5) “เร่งรัดการปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดทำและจัดสรรงบประมาณให้เป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศและส่งเสริมให้กระทรวง ทบวง กรม มีบทบาทในการตัดสินใจมากขึ้น พร้อมทั้งจัดให้มีระบบควบคุม ตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพ และโปร่งใส”
กระบวนการ จัดทำและจัดสรรงบประมาณ ระดับ ยุทธศาสตร์ชาติ เป้าหมายยุทธศาสตร์ 1 รัฐบาล กระบวนการ ติดตามและประเมินผล ตัวชี้วัด ปริมาณ เวลา คุณภาพ ต้นทุน PSA ยุทธศาสตร์กระทรวง เป้าหมายการ ให้บริการ(สาธารณะ) 2 กระทรวง แผนการให้บริการ (กลยุทธหน่วยงาน) 3 ส่วนราชการ เป้าหมายการให้บริการ ระดับหน่วยงาน SDA ศูนย์ต้นทุน (Cost Center) งาน / โครงการ ต้นทุนทางตรง/ต้นทุนทางอ้อม ผลผลิต กิจกรรมหลัก Baseline โครงการใหม่ กระบวนการนำส่งผลผลิต ตัวชี้วัด งบประมาณ นโยบาย การรายงาน การติดตาม แหล่งข้อมูล : สำนักงบประมาณ
ความสัมพันธ์ของแผนในระดับต่างๆของหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย ภารกิจ เป้าประสงค์ วิสัยทัศน์ นโยบาย กลยุทธ์หลักที่รวม กลยุทธ์ของคณะ/สำนัก กลยุทธ์ โครงการ คณะ/สำนัก วิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ กลยุทธ์ โครงการ โครงการ ภาควิชา โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ ความสัมพันธ์ของแผนในระดับต่างๆของหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย
วิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2543-2552) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มุ่งมั่น เป็นมหาวิทยาลัยใฝ่เรียนรู้ มุ่งสู่ ความเป็นเลิศในเทคโนโลยีและการวิจัย มุ่งธำรง ปณิธานในการสร้างบัณฑิตที่เก่งและดี มุ่งสร้าง ชื่อเสียงและเกียรติภูมิให้เป็นที่ภูมิใจของประชาคม มุ่งก้าว ไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำระดับโลก
ปัญหาสำคัญของการจัดทำแผน และกระจายสู่ภาคปฏิบัติ ถอดรหัส วิสัยทัศน์ 5 มุ่ง ขาดคำอธิบายการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ที่ชัดเจนทั้งในส่วนของแผน และระดับของ ความรับผิดชอบ ทั้งระดับ มหาวิทยาลัย – คณะ/สำนัก – ภาควิชา เรื่องงปม.ก็ขอตรงจากสำนักงบประมาณได้ จัดกลุ่มเมนูกลยุทธ์ มจธ.
Revenue Driven & Cost Consious Science & Management Strenthening e-University Learning Organization Research University Science & Management Strenthening มุ่งมั่น เป็นมหาวิทยาลัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งสู่ ความเป็นเลิศ ในเทคโนโลยี และการวิจัย มุ่งธำรง ปณิธานในการสร้าง บัณฑิตที่เก่งและดี มุ่งสร้าง ชื่อเสียงและเกียรติภูมิ ให้เป็นที่ภูมิใจ ของประชาคม มุ่งก้าว ไปสู่การเป็น มหาวิทยาลัย ชั้นนำระดับโลก KMUTT
อธิการบดี เป็น Manager นักวิชาการ เป็น คณะที่ปรึกษา Communications Management Model University Council Learning Organization KMUTT Agenda ประชาคม External Information Research University e - University Communications Team New Planning System KMUTT’s Vision Software & Academic Intelligence Science Strengthening Management Strengthening Corporate Memory Strategic Plan อธิการบดี เป็น Manager นักวิชาการ เป็น คณะที่ปรึกษา SI เป็นทีมเลขาฯ Revenue Driven/ Cost Conscious
Goals Outputs Outcomes Communications Infrastructure ภาพรวมของแผนทั้ง 6 ด้าน Reporting System Academic Intelligence Communications Infrastructure ข้อมูลที่ใช้สำหรับวางแผนกลยุทธ์ IT แผนที่สามารถนำไปปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ขององค์กร ร่องรอยของการทำงานที่ถูกบันทึก เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในองค์กร Communications Team แผน 1-5 ปีของ Flagships ทั้ง 6 ด้าน บุคลากรที่มีทักษะและเข้าใจ การบริหารจัดการ ตลอดจนการแปลงแผนสู่การปฏิบัติ รู้จักเครื่องมือการบริหารจัดการ และแนวการประชุมอย่างมีประสิทธิภาพ คณะทำงาน 6 Flagships
Management Strengthening กลยุทธ์ที่ 1 สร้างวัฒนธรรมการบริหารให้เหมาะสมกับวิสัยทัศน์ของ มหาวิทยาลัย กลยุทธ์ที่ 2 ปรับปรุงประสิทธิภาพและความคล่องตัวของระบบบริหารจัดการใน มหาวิทยาลัย กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาระบบการจัดสรรทรัพยากรเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด กลยุทธ์ที่ 4 นำระบบการจัดการสารสนเทศและช่องทางการสื่อสารที่เหมาะสม มาใช้เพื่อให้ระบบการจัดการและการวัดผลดำเนินไปอย่างมี ประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 5 สร้างทักษะทางด้านการบริหารจัดการให้กับนักศึกษาและบุคลากร ภายนอก
Science Strengthening กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์พื้นฐานใน มหาวิทยาลัยให้เข้มแข็ง กลยุทธ์ที่ 2 นโยบายการพัฒนาการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ในมหาวิทยาลัย กลยุทธ์ที่ 3 นโยบายการบริการวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และกระจาย ความรู้สู่ชุมชน กลยุทธ์ที่ 4 สร้างความรู้ความเข้าใจในความสำคัญของวิทยาศาสตร์แก่ บุคลากรของ มจธ.
Research University กลยุทธ์ที่ 1 เน้นการศึกษาระดับบัณฑิต (Graduate Studies Focus) กลยุทธ์ที่ 2 สร้างนักวิจัยให้มีชื่อเสียงระดับโลก (World Renowned Researchers) ในสาขาที่มหาวิทยาลัยมีศักยภาพและเชี่ยวชาญ กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาศักยภาพศูนย์วิจัยเชี่ยวชาญเฉพาะทาง (Excellent Research Centers) กลยุทธ์ที่ 4 เพิ่มขีดความสามารถของสวนอุตสากรรมให้เป็นสวนอุตสาหกรรม ในมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุด (Best University Industrial Park) กลยุทธ์ที่ 5 การสร้างเครือข่ายในการทำวิจัย (Research Network/Consortium) กลยุทธ์ที่ 6 สร้างผู้ประกอบการทางเทคโนโลยี (Technological Entrepreneurs) กลยุทธ์ที่ 7 สร้างระบบบริหารจัดการงานวิจัยที่มีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 8 สร้างโครงสร้างพื้นฐานที่สนับสนุนการทำวิจัย
Learning Organization กลยุทธ์ที่ 1 แผนกลยุทธ์การสร้างแรงจูงใจบุคลากรมหาวิทยาลัย กลยุทธ์ที่ 2 แผนกลยุทธ์การเรียนรู้ระดับบุคคล กลยุทธ์ที่ 3 แผนกลยุทธ์การสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ กลยุทธ์ที่ 4 แผนกลยุทธ์การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม กลยุทธ์ที่ 5 แผนกลยุทธ์การสร้างและสานวิสัยทัศน์ร่วมภายในองค์กร (Shared Vision)
กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาแหล่งทรัพยากรสารสนเทศเพื่อสังคมการเรียนรู้ e-University กลยุทธ์ที่ 1 การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ ค่านิยม และวัฒนธรรมเพื่อเป็น e-University กลยุทธ์ที่ 2 การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาระบบ (e-Management) กลยุทธ์ที่ 3 การเตรียมความพร้อมด้าน ICT เพื่อการผลิตและการบริการ สารสนเทศ การบริหารจัดการ และการพัฒนาบุคลากร กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาแหล่งทรัพยากรสารสนเทศเพื่อสังคมการเรียนรู้
Revenue Driven & Cost Consious กลยุทธ์ที่ 1 การสร้าง ปรับปรุง มาตรฐานของระบบการทำงานในด้านการบริหารจัดการรายได้และต้นทุน กลยุทธ์ที่ 2 สร้างกลไกการส่งเสริมขยายฐานตลาดของมหาวิทยาลัย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อขยายตลาดเปิดโอกาสในการบริการวิชาการในทุกรุ)แบบต่อสังคม กลยุทธ์ที่ 3 สร้างระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการรายได้และต้นทุน กลยุทธ์ที่ 4 เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจร่วมกันในการบริหารจัดการรายได้และต้นทุน กลยุทธ์ที่ 5 สร้างระบบติดตามประเมินผลการทำงานและพัฒนาระบบการทำงานให้เอื้อต่อการแข่งขัน กลยุทธ์ที่ 6 สร้างระบบศึกษาและติดตามยุทธศาสตร์ชาติด้านการจัดการงบประมาณ
รวมกลยุทธ์ทั้ง 6 Flagships ได้ความสัมพันธ์ เป็น 7 Clusters การเรียนรู้ Cluster งานวิจัย Cluster การบริหารจัดการ Cluster เครือข่าย Cluster วัฒนธรรมองค์กร Cluster โครงสร้างองค์กร Cluster การสื่อสารและ เทคโนโลยีสารสนเทศ http://www.si.kmutt.ac.th/
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคเหนือ 1 : เชื่อมโยงเศรษฐกิจกับนานาชาติ 2 : ใช้ธรรมชาติและวัฒนธรรมเสริมรายได้ การท่องเที่ยว 3 : พัฒนาศักยภาพการผลิตและทรัพยากรมนุษย์ 4 : เร่งฟื้นฟูและอนุรักษ์ธรรมชาติให้กลับคืนมา สู่ความสมบูรณ์ 5 : เป็นแหล่งผลิต เพิ่มมูลค่า การตลาด การวิจัย ด้านการเกษตร
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคอีสาน 1 : ยกระดับฐานการผลิตหลักของภาค 2 : ร่วมมือกับกลุ่มอินโดจีนเพื่อขยายฐานอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจพื้นที่ชายแดนของภาค 3 : การสร้างโอกาสและศักยภาพให้คนจน 4 : การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนเพื่อคืนสมดุลสู่ธรรมชาติ 5 : การสร้างคนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน Cluster ทางเศรษฐกิจ การเกษตรและอาหาร การค้าและบริการ อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว OTOP
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคกลาง 1: พัฒนาความรู้และการจัดการทางด้านเทคโนโลยีเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในการพัฒนาสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรม 2 : การผสมผสานทักษะกับความรู้ในการพัฒนา สินค้าเชิงวัฒนธรรม ส่งเสริมการท่องเที่ยวมรดกโลก และพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตร 3 : สร้างแรงจูงใจ Knowledge worker ทั้งในและต่างประเทศมาอยู่ในพื้นที่เพื่อให้เป็นศูนย์กลางการวิจัยและพัฒนา (Silicon Valley of Asia) 4 : ศูนย์กลางเชื่อมโยงรับและกระจายสินค้าระหว่างภาคต่างๆ (Inter-Regional Logistic Hub)
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคใต้ 1 : เป็นศูนย์กลางการผลิตการตลาดภาคเกษตรสู่สากล 2 : เป็นเอกแห่งการท่องเที่ยวทางทะเลระดับโลกเชิงอนุรักษ์และวัฒนธรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ยังยืน 3 : เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล 4 : ศูนย์กลางขนส่งสินค้าเชื่อมโยงประเทศฝั่งอันดามัน-อ่าวไทย ประตูเชื่อมโยงเศรษฐกิจเอเชียใต้เป็นเมืองท่าสองทะเล 5 : การค้าชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้านและชาวมุสลิม 6 : อิสลามศึกษานานาชาติ 7 : เป็นศูนย์กลางยางพาราโลก
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1: มุ่งเป็นฐานการผลิตและส่งออกสินค้าเกษตรอุตสาหกรรมด้วยระบบการผลิตที่ปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อมสู่ชายแดนตะวันตกและนานาชาติ พัฒนาระบบการผลิตให้มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยของสินค้าเกษตรอุตสาหกรรม ศูนย์เครือข่ายการศึกษาและประสานการพัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตรและเทคโนโลยีสาสนเทศพัฒนาการผลิต สินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมปลอดภัย เสริมสร้างสิ่งแวดล้อมเพื่อคุณภาพที่ดีของประชาชนในกลุ่มจังหวัด เพิ่มขีดความสามารถการส่งออกจากผลิตภัณฑ์แปรรูปประมงและเกษตร 2 : ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
นครปฐม ราชบุรี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ 1.โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตอ้อยและน้ำตาล 2. โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตอาหารปลอดภัย 3. โครงการจัดตั้งศูนย์ตรวจสอบสินค้าเกษตร 4.โครงการจัดตั้งตลาดกลางสินค้าเกษตรปลอดภัย 5. โครงการปรับปรุงโรงฆ่าสัตว์(สุกร) 6. โครงการจัดตั้งศูนย์เครือข่ายเทคโนโลยีการเกษตร 7. โครงการพัฒนาเส้นทางรองรับการค้าชายแดน 8. โครงการพัฒนาคุณภาพลุ่มน้ำแม่กลองและท่าจีนและการปลูกต้นไม้เพิ่มพื้นที่สีเขียว 9. โครงการเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัด การฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวเสื่อมโทรมและการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวใหม่ 1. โครงการเพิ่มผลผลิตและพัฒนาคุณภาพการผลิตด้านการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล 2.โครงการพัฒนาคุณภาพและเพิ่มมูลค่าส่งออกสับปะรด 3.โครงการส่งเสริมการขยายกำลังผลิตเหล็กและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง 4.โครงการพัฒนาสมรรถนะการตรวจรับรองสินค้าประมง 5.โครงการพัฒนาคุณภาพสินค้าทะเลแปรรูป 6.โครงการพัฒนาคุณภาพวัตถุดิบสินค้าประมงต้นทาง 7.โครงการสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์มะพร้าว 8.โครงการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลสื่อประชาสัมพันธ์และบริการแก่นักท่องเที่ยว4จังหวัด 9.โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวทางแม่น้ำลำคลองสองทะเล 10.โครงการปรับปรุงเส้นทางมาตรฐานเดียวสมุทรสาคร-ประจวบ 11.โครงการขยายท่าเรื่อเพื่อการพาณิชย์และอุตสาหกรรม 12.โครงการปรับปรุงเส้นทางสายคลองโคน-บางตะบูน 13.โครงการฟื้นฟูและบำรุงรักษาพื้นที่ป่าชายเลนเพื่อการอนุรักษ์ 14.โครงการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำชายฝั่งทะเล4จังหวัด 15.โครงการจัดทำผังภาค 4 จังหวัด
สิ่งที่ต้องร่วมกันทำใน Workshop ครั้งต่อไป Flagships Mile Stone สิ่งที่ต้องร่วมกันทำใน Workshop ครั้งต่อไป Strategy Strategy1 Strategy2 Strategy3 Strategy4 KPI KPI KPI KPI KPI KPI KPI KPI KPI Project Project Project Project Project Project Project Project Project KPI’s Project KPI’s Project KPI’s Project KPI’s Project KPI’s Project KPI’s Project KPI’s Project KPI’s Project KPI’s Project KPI’s Project
Thanitsorn Chirapornchai มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี King Mongkut’s University of Technology Thonburi ธนิตสรณ์ จิระพรชัย Thanitsorn Chirapornchai ศูนย์นวัตกรรมระบบ System Innovation Center 91 Suksawad 48, Thung Kharu, Bangmod, Bangkok 10140, Thailand Homepage : http://www.kmutt.ac.th Tel. 0-2470-8038 Fax. 0-2470-8000 Mobile : 0-1808-6820 E-mail Address : thanitsorn.chi@kmutt.ac.th