Principal pathology of Infection พยาธิวิทยาการติดเชื้อ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Acute Diarrhea.
Advertisements

การศึกษาการใช้ Tienam ในผู้ป่วยโรคติดเชื้อภายในโรงพยาบาล
ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์
ศักยภาพของคนไทยในการผลิตและวิจัยวัคซีนใหม่
“ความสุขความเจริญอันแท้จริงนั้น หมายถึง ความสุขความเจริญที่บุคคลแสวงหามาได้ด้วยความเป็นธรรม ทั้งในเจตนาและการกระทำ ไม่ใช่ได้มาด้วยความบังเอิญหรือด้วยการแก่งแย่งเบียดบังมาจากผู้อื่น”
บัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ
ANAEROBIC BACTERIA วัตถุประสงค์ 1. อธิบายลักษณะ Anaerobic bacteria และ Anaerobic infection ได้ 2. บอกชื่อ Anaerobic bacteria ที่พบเกี่ยวข้อง.
ทิศทางในการดำเนินงานของห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา การดำเนินงานวิจัย พัฒนาและบริการวิชาการด้าน ไวรัสวิทยา โดยมุ่งเน้นศึกษาไวรัสที่เป็นปัญหาทางด้าน สาธารณสุขของประเทศ.
Haemoflagellate.
Other Protozoa.
Principal pathology of Infection พยาธิวิทยาการติดเชื้อ
Bacterial Taxonomy จัดทำโดย อาจารย์สมศักดิ์ อยู่บริบูรณ์
การสอบสวนโรค ที่เกิดจากอาหารและน้ำ Food and Water Borne Diseases
การสอบสวนโรคอาหารเป็นพิษ อุบลรัตน์ นฤพนธ์จิรกุล
โรคอุจจาระร่วง.
HIV/AIDS.
Viral Multiplication ดร. ยิ่งมณี ตระกูลพัว.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อทางเดินหายใจ
Center of Excellence in Immunology & Immune-mediated diseases ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านภูมิคุ้มกันวิทยาและโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน.
Microbiology and Parasitology Introduction to Microbiology
จุลินทรีย์ในสิ่งแวดล้อม
6. VASCULITIS PONGSAK MAHANUPAB,M.D. Department of Pathology
Infection General pathology Pathophysiology 24 June 12
Percent Resistance (by MIC) of Neisseria gonorrhoeae %R ที่มา : กลุ่มบางรักโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการส่งต่อ ผู้ป่วยอายุรกรรม ติดเชื้อ
Bone and joint infections
Consult the expert ? Thank you การดูผลการตรวจ serology ของ hepatitis B virus ดูอย่างไรคะ ?
งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ
การให้การปรึกษาเฉพาะ สำหรับกลุ่ม Key Affected Populations (KAPs)
Anaerobic culture methods
พลุและดอกไม้ไฟ.
สถานการณ์ และข้อมูลเกี่ยวกับ Ebola และ MERS COV
สมาชิก น.ส. กานต์ธีรา ปัญจะเภรี รหัสนักศึกษา ลำดับที่ 21 น.ส. มินลดา เหมยา รหัสนักศึกษา ลำดับที่ 22 น.ส. กรกฎ อุดมอาภาพิมล รหัสนักศึกษา
สถานการณ์การคลอดก่อนกำหนดจังหวัดนครสวรรค์
PERITONITIS IN CAPD.
แผลกระจกตา ( Corneal ulcer )
ผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพ Functional Foods
สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
ระบาดวิทยาของโรคติดเชื้อ ที่เป็นปัญหาสาธารณสุข ของประเทศ
สุขลักษณะส่วนบุคคลและการป้องกัน การปนเปื้อนในอาหาร
นิรันดร์ จ่างคง 4 กันยายน 2561 ณ ห้องประชุม ๑๐๐ ปี การสาธารณสุขไทย
มาตรฐานที่ ๒ การให้บริการวัคซีน
Intern Kittipos Wongnisanatakul
ระบบของร่างกายที่มีกลไกการป้องกันและทำลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอม
จัดทำข้อมูลวิชาการอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การแพ้ยา
BONE INFECTION (osteomyelitis)
หลักการและเทคนิคการเก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
The Child with Respiratory dysfunctionII
วิชาการผลิตสุกร ระดับปวส.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุคนธา ศิริ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
รู้เท่าทัน... พนมพร ห่วงมาก พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
Service Plan : Rational Drug Use(RDU)
AIDs/ STI/ TB/ Leprosy/ Hepatitis
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีชีวภาพและเทคโนโลยีทาง DNA
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการพัฒนาลดอัตราการติดเชื้ออช.1
สายรัดห่วงใยลด CA-UTI
รัชนีย์ วงค์แสน งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
PrEP คืออะไร Pre- Exposure Prophylaxis ยาต้านไวรัสเพื่อการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี รูปยา.
The Child with Renal Dysfunction
Rational Drug Use (RDU)
The Child with Renal Dysfunction
6. VASCULITIS Department of Pathology Faculty of Medicine
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
Introduce faculty member and their research interest
นายสมนึก ยอดใส ตำแหน่ง ครูชำนาญพิเศษ
โรคติดเชื้อฉวยโอกาส (Opportunistic infection) จำนวน CD4 ป้องกันได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Principal pathology of Infection พยาธิวิทยาการติดเชื้อ โดย รศ.นพ.สรรเพชญ เบญจวงศ์กุลชัย ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เชื้อจุลชีพแบ่งออกได้ดังนี้ ไวรัส (Virus) บักเตรี (Bacteria) เชื้อรา (Fungus) ปาราสิต (Parasite) แคลมมีเดีย (Chlamydiae) ริคเกทเซีย (Rickettsiae) ไมโครพลาสม่า (Mycoplasmas)

เชื้อจุลชีพเข้าสู่ร่างกายคนได้หลายทาง (route of infection) ทางผิวหนัง (skin) และเยื่อหุ้มตา (conjunctive) ทางเดินหายใจ (respiratory tract) ทางปาก (oral) ทางเพศสัมพันธ์ (sexual contact) ทางเดินปัสสาวะ (urinary tract) ผ่านทางรก (Transplacental route) ถ่ายเลือด (Blood transfusion)

ทางผิวหนัง (skin) และเยื่อหุ้มตา (conjunctive) Malaria – ยุงกัดคน ทางผิวหนังปล่อยเชื้อเข้าสู่กระแสเลือด filariform - Strongyloides stercolaris และ (hook worms) ตัวอ่อนระยะ cercariae (Schistosoma spp) Staphylococcus aureus, Staphylococus epidermidis Chlamydia trachomatis

ทางเดินหายใจ (respiratory tract) ไวรัส บักเตรี เชื้อรา Pnuemonia ไวรัส ได้แก่ หัด (measles) หรือ อีสุกอีใส (chickenpox) เป็นต้น

ทางปาก (oral) ไข่หรือตัวอ่อนระยะติดต่อ บักเตรี (เช่น Salmonella typhi ) hepatitis A และ E viruses, poliovirus และrotavirus เป็นต้น น้ำลายของผู้ป่วย เช่น เชื้อ HIV, herpesviruses และ mumps viruses เป็นต้น

ทางเพศสัมพันธ์ (sexual contact) Treponema pallidum (โรคซิฟิลิส) Neisseria gonorrhoeae (โรคหนองใน) Chlamydia trachomatis Herpes simplex virus [HSV-2] papillomaviruses Trichomonas vaginalis เชื้อ HIV

ทางเดินปัสสวะ (urinary tract) Escherichia coli Trichomonas vaginalis Neisseria gonorrhoeae

ผ่านทางรก (Transplacental route) Toxoplasma gondii (Toxoplasmosis) Treponema pallidum (โรคซิฟิลิส) HIV HBV (Hepatitis B virus)

ถ่ายเลือด (Blood transfusion) HIV HBV (Hepatitis B virus)

ด่านป้องกันการติดเชื้อจุลชีพเข้าสู่ร่างกายได้แก่ ด่านป้องกันชั้นแรก ผิวหนัง (skin) เยื่อบุผิว (mucosal surface) ผลผลิตที่เป็นน้ำย่อยและสิ่งขับถ่าย (secretory and excretory by-products) เชื้อจุลชีพที่อาศัยอยู่ตามปกติ ในอวัยวะ (Normal flora) ด่านป้องกันชั้นที่สอง การอักเสบ (inflammation) ภูมิคุ้มกัน (immune response) Humoral immune : Antibody Cell-mediated immune : MPS

เชื้อจุลชีพเมื่อเข้าสู่ร่างกาย แบ่งตามที่อยู่อาศัยได้ ดังนี้ อาศัยอยู่ในเซลล์ (intracellular) ต้องอยู่ในเซลล์เท่านั้น (obligate intracellular) poliovirus, Chlamydia trachomatis, Rickettsia prowazekii, Leishmania donovani บางขณะอยู่ในเซลล์ (facultative intracellular) Histoplasma capsulatum, Trypanosoma cruzi, Mycobacterium tuberculosis อาศัยอยู่นอกเซลล์ (extracelluar) Mycoplasma pneumoniae, Streptococcus pneumoniae, Trypanosoma gambiense, Wuchereria bancrofti อยู่ที่ผิวหนัง (cutaneous) Staphylococcus epidermidis, Trichophyton sp. อยู่ที่เยื่อบุผิว (mucosa)     Vibrio cholerae, Giardia lambia, Enterobius vermicularis (oxyuriasis พยาธิเข็มหมุด). Candida albicans (Thrushในปาก)

เชื้อจุลชีพเมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้ว กระจายไปในอวัยวะต่างๆได้หลายทาง หลอดเลือด (Hematogenous spread)พัดพาไปตามกระแสโลหิต อาศัยอยู่ใน เซลล์กินสิ่งแปลกปลอม (migratory macrophages) เช่น เชื้อไวรัส HIV-1 อาศัยอยู่ใน เม็ดเลือดแดง เช่น เชื้อมาเลเรีย เป็นต้น พัดเกาะติดไปกับ วัตถุลอยในกระแสเลือด (emboli) ท่อน้ำเหลือง (Lymphatic spread)ไปตามกระแสน้ำเหลือง แพร่กระจายโดยตรงไปยังอวัยวะข้างเคียง (Direct extension) แพร่กระจายไปตามของเหลวในร่างกาย (tissue fluid spread) แพร่กระจายไปตามเส้นประสาท (neural spread) Rabies, Varicella zoster แพร่กระจายผ่านรกเข้าสู่ทารกในครรภ์ (placental-fetal route) HIV, hepatitis B virus, Treponema pallidum (syphilis), toxoplasma gondii

เชื้อจุลชีพก่อให้เกิดพยาธิสภาพร่วมที่สำคัญได้แก่ Serous inflammation including epidemal exfoliation Catarrhal inflammation Suppurative inflammation (การอักเสบเป็นหนอง) Hemorrhagic inflammation Membranous inflammation Pseudomembranous inflammation Gangrenous inflammation Granulomatous inflammation Ulcer (แผล) Cellulitis Chronic interstitial inflammation Cellular inclusion bodies

Carcinogenesis Without specific pathologic morphological changes Anemia

เชื้อจุลชีพพวกฉวยโอกาส (Opportunistic and AIDS-associated infectiions) Cytomegalovirus (CMV) Pneumocystis carinii (Pneumocystis jiroveci) Cryptosporidium parvum Toxoplasma gondii Candida sp. (Candida albicans) Cryptococcus neoformans Aspergillus sp. Mucor Pseudomonas aeruginosa