บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์และ การโปรแกรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
Advertisements

คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
การเขียนโปรแกรม ภาษาซีเบื้องต้น โดย คุณครูปวีณา แนววงศ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
1 Search & Sort Search & Sort วรวิทย์ พูลสวัสดิ์.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
INTRODUCE SUBJECT สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
หลักการแก้ปัญหา อย่างมีขั้นตอน การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการทาง เทคโนโลยี สารสนเทศ หลักการ แก้ปัญหา การใช้หลักการใน การแก้ปัญหา.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
เนื่องจากในปัจจุบันโลกของเรา พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่มี หลากหลายชนิดหลากหลายแบบและมีการทำมาเพาะปลูกทั้ง การเพาะปลูกเพื่อบริโภค การเพาะปลูกเพื่อความสวยงาม.
เรื่อง ภาษาซีเบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
รายวิชา อัลกอริทึมและการเขียนโปรแกรม (Algorithm and Programming)
เกม คณิตคิดเร็ว.
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
หลักการโปรแกรม อ.ธนากร อุยพานิชย์.
Introduction to VB2010 EXPRESS
ภาษาวิชวลเบสิก (Visual Basic language).
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
สื่อการสอนรายวิชา ง30204 โปรแกรมภาษาชี ภาษาคอมพิวเตอร์และโปรแกรม
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 12 : การประพันธ์สื่อมัลติมีเดีย (Multimedia Authoring) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
การเขียนโปรแกรมร่วมสมัย
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language)
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์และ การโปรแกรม
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
รูปนิสิต บทคัดย่อ ผลการทดลอง วัตถุประสงค์ วิธีการที่นำเสนอ บทนำ
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การประกวดสิ่งประดิษฐ์ ของคนรุ่นใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์และ การโปรแกรม บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์และ การโปรแกรม รายวิชา สธ 113 การออกแบบโปรแกรมทาง ธุรกิจเบื้องต้น อ.อภิพงศ์ ปิงยศ

Overview โปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม ภาษาคอมพิวเตอร์สำหรับนักพัฒนาโปรแกรม ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษาซี

บทนำ คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ในการ สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานจะต้องป้อนคำสั่งที่เครื่อง คอมพิวเตอร์เข้าใจให้กับมัน การนำคำสั่งมาเรียงต่อกันให้ทำงานอย่างใดอย่าง หนึ่งเรียกว่า โปรแกรม ภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจเรียกว่า ภาษาเครื่อง (Machine Language) ซึ่งเป็นเลขฐานสอง มีการออกแบบตัวอักษรภาษาอังกฤษให้แทนคำสั่ง เลขฐานสอง เรียกว่า ภาษาโปรแกรม (Programming Language) ภาษาระดับต่ำ (Low-level Language) คือภาษา Assembly ส่วนภาษาระดับสูง (High-level Language) เช่น ภาษา C, Pascal, Basic เป็นต้น

โปรแกรมต้นฉบับภาษา Assembly โปรแกรมภาษา การแปลภาษา Assembly เป็นภาษาเครื่อง โปรแกรมต้นฉบับภาษา Assembly โปรแกรม Assembler รหัสภาษาเครื่อง

โปรแกรมภาษา (cont.) ขั้นตอนการแปลภาษาโปรแกรม โปรแกรมต้นฉบับ Interpreter (แปลทีละบรรทัด) รหัสภาษาเครื่อง โปรแกรมต้นฉบับ Compiler (แปลทั้งโปรแกรม) รหัสภาษาเครื่อง

Dennis Ritchie ผู้คิดค้นภาษา C และระบบปฏิบัติการ Unix

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม 1) กำหนดและวิเคราะห์ปัญหา 2) เขียนผังงานหรือซูโดโค้ด 3) เขียนโปรแกรม 4) ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม 5) ทำเอกสารและบำรุงรักษาโปรแกรม

ตัวอย่างที่ 1: หากต้องการออกแบบโปรแกรมให้รับค่าข้อมูล 3 ค่า แล้วแสดงค่าเฉลี่ยทางจอภาพ จะกำหนดและวิเคราะห์ปัญหาอย่างไร รับข้อมูลตัวที่ 1 รับข้อมูลตัวที่ 2รับข้อมูลตัวที่ 3 นำตัวเลขทั้ง 3 ตัวมารวมกัน แล้วนำผลรวมหารด้วย 3 แสดงค่าเฉลี่ยเป็นทศนิยมสองตำแหน่ง นำข้อมูลเข้า ประมวลผล นำข้อมูลออก

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม: 2) การเขียนผังงานหรือซูโดโค้ด เป็นการใช้เครื่องมือช่วยในการออกแบบโปรแกรม ลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม เรียกว่า อัลกอริทึม (Algorithm) อัลกอริทึมอาจเขียนให้อยู่ในรูปซูโดโค้ด (Pseudo code) หรือผังงาน (Flowchart) ก็ได้ ซูโดโค้ดจะใช้คำอธิบายโดยย่อ ไม่มีรูปแบบ ภาษาตายตัว ผังงานจะใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ แทนการทำงาน

ตัวอย่างซูโดโค้ดและผังงานของการจัดเรียงแบบแทรก (Insertion Sort)

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม: 3) การเขียนโปรแกรม หลังจากผ่านการออกแบบมาแล้ว โปรแกรมเมอร์ จะต้องเขียนโปรแกรมเพื่อให้คอมพิวเตอร์ ประมวลผลได้ โดยใช้ภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ การเขียนโปรแกรมแต่ละภาษาต้องเขียนตามหลัก ไวยากรณ์ (Syntax) ในภาษานั้น การเลือกใช้ภาษาจะพิจารณาจากความถนัดของ ผู้เขียนโปรแกรมและลักษณะของโปรแกรมที่จะ เขียน

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม: 4) การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม จุดผิดพลาดของโปรแกรมเรียกว่า บัก (Bug) การแก้ไขข้อผิดพลาดให้ถูกต้องเรียกว่า ดีบัก (Debug) ข้อผิดพลาดมีสองประเภทคือ Syntax Error การเขียนโปรแกรมผิดไวยากรณ์ Logic Error ผลลัพธ์ของโปรแกรมออกมาไม่ถูกต้อง

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม: 5) ทำเอกสารและบำรุงรักษา ทำให้ผู้ใช้สามารถใช้งานโปรแกรมได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เอกสารมี 2 ประเภท คือ User Guide และ Program Document การบำรุงรักษาโปรแกรม (Maintenance) ผู้เขียนโปรแกรมต้องคอยตรวจสอบการใช้งาน จริง แก้ไขข้อผิดพลาด และอัพเดตโปรแกรมให้ ทันสมัยอยู่เสมอ

ภาษาคอมพิวเตอร์สำหรับพัฒนาโปรแกรม ตัวอย่างเช่น Basic เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง เกิดขึ้น เมื่อปี 1963 รูปแบบภาษาค่อนข้างง่าย แต่ ประสิทธิภาพค่อนข้างต่ำ FORTRAN มาจากคำว่า FORmula TRANslator เกิดขึ้นเมื่อปี 1950 เหมาะสำหรับ ใช้ในการคำนวณทางคณิตศาสตร์ COBOL ชื่อเต็มคือ Common Business Oriented Language ถูกประกาศใช้ในปี 1960 เดิมทีเป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง (Structure) แต่ปัจจุบันได้พัฒนาให้เขียน โปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP)

ภาษาคอมพิวเตอร์สำหรับพัฒนาโปรแกรม (cont.) PASCAL เกิดขึ้นในปี 1970 ตั้งชื่อตามนัก คณิตศาสตร์ที่ประดิษฐ์เครื่องคำนวณในยุคแรกๆ เป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง ภาษา C ถูกพัฒนาขึ้นในห้องปฏิบัติการเบลล์ (Bell Laboratory) ของบริษัท AT&T ในปี 1970 เพื่อใช้บน Unix เป็นภาษาที่ได้รับความ นิยมสูง และสามารถควบคุมฮาร์ดแวร์ได้โดยตรง C++ พัฒนาต่อจากภาษาซี โดยเพิ่ม ความสามารถในการเขียนโปรแกรม เชิงวัตถุลงไป C# ถูกพัฒนาขึ้นเมื่อปี 2000 โดยบริษัท ไมโครซอฟต์ เป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ มีความคล้ายคลึงกับภาษา Java มาก

ภาษาคอมพิวเตอร์สำหรับพัฒนาโปรแกรม (cont.) Visual Basic (VB) พัฒนาโดยบริษัท ไมโครซอฟต์ โดยชุดคำสั่งจะคล้ายกับภาษา Basic เดิม ผู้เขียนสามารถสร้างหน้าจอเพื่อ ติดต่อกับผู้ใช้ได้ง่าย Java เกิดขึ้นเมื่อปี 1995 โดยบริษัท Sun Microsystem (ปัจจุบันเป็นของ Oracle) เป็น ภาษาที่พัฒนาให้เป็นการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ โดยเฉพาะ เป็นภาษาที่มีการใช้งานอย่าง แพร่หลายมากที่สุดภาษาหนึ่ง Python เกิดขึ้นเมื่อปี 1991 ถูกพัฒนาโดย Python software foundation ถูกออกแบบมา เพื่อให้เขียนโปรแกรมโดยใช้จำนวนบรรทัดน้อย กว่าภาษา C++ หรือ Java เป็นภาษาที่กำลัง ได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน

ภาษาโปรแกรมที่ได้รับความนิยมที่สุดในโลก ปี 2015 อ้างอิงจาก: http://spectrum.ieee.org/computing/software/the-2015-top-ten-programming-languages

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษาซี โดยปกติแล้วการเขียนโปรแกรมจะใช้ซอฟต์แวร์ที่ เรียกว่า IDE (Integrated Development Environment) ในการพัฒนา IDE ที่ใช้กับภาษา C เช่น Dev-C++, Turbo C และ Visual C++

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษาซี (cont.) Text Editor Source Code Compiler Object (Binary) Include Library Executable file (.exe) Runner Results