การพัฒนาระบบการจัดเก็บฐานข้อมูล สุขภาพจิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
REGULAR EXPRESSION การบรรยายแบบสม่ำเสมอ
Advertisements

Palliative Treatment : From Cure to Care
ตัวอย่างที่ 2.8 วิธีทำ.
การควบคุมการ บริโภคยาสูบ สำนักโรคไม่ติดต่อ. นโยบายการควบคุมการบริโภค ยาสูบของ WHO  mpower M onitor tobacco use and prevention policies P rotect people.
การกำหนดค่าเบื้องต้นเพื่อการใช้งาน และส่งออก 43 แฟ้ม
43 แฟ้ม HDC Datacenter ข้อมูลและรายงาน EPI.
1. แนวทางการดำเนินงาน OPPP individual ในปี 2559  ระยะเวลาการรับข้อมูล การดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2559  มาตรฐานโครงสร้างแฟ้มข้อมูล และแฟ้มที่จะรับ  รูปแบบ.
โรคหัวใจและหลอดเลือด. กลุ่มกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิด ST Elevation MI หมายถึงกลุ่มโรคที่มีกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และตาย เฉียบพลัน ที่มีการเปลี่ยนแปลงทางคลื่นไฟฟ้าหัวใจชนิด.
นางสาวสรัญญา ชื่นเย็น (พี่ออย) เจ้าหน้าที่ศูนย์นวัตกรรมการจัดการ อ.ก้องภู นิมานันท์ อาจารย์ที่ปรึกษา 1.น.ส.นพรัตน์ ปฏิกรณ์ (คุ๊กกี้) นายบุรินทร์
รายงานและการบันทึกข้อมูล Functional + SpecialPP
การใช้เครื่องมือในระบบการบริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ในการอบรมการบริการผู้ป่วยระวังโรคซึมเศร้าสำหรับผู้ปฏิบัติ หลักสูตรกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
การประเมินคุณภาพการให้รหัสโรค
การบันทึกรหัสการคัดกรองบุหรี่ ปี 2560 จังหวัดสตูล
การเฝ้าระวัง และระบบการรายงานข้อมูล เพื่อการเฝ้าระวัง
การประเมินการใช้ยา ( Drug Use Evaluation,DUE )
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
Mental Health Crisis Assessment and Treatment Team (MCATT)
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
การนำผลการปฏิบัติงานลงสู่แฟ้ม HDC (43 แฟ้ม)
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
17 มิถุนายน 2559 โรงแรมเชียงใหม่ออร์คิด อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
สรุปผลการดำเนินงานข้อมูลสุขภาพ Health Data Center: HDC เขตสุขภาพที่ 12
5A (ถนนปชต) การส่งเสริมการเลิกสูบบุหรี่ในงานประจำ
INHOMESS นพ.นนท์ โสวัณณะ ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน
การใช้ Big Data และ Artificial Intelligence (AI) ในงานสร้างสุขภาพ
NUTRITION ในเด็ก 0-5 ปี เดือนแรก NUTRITION ในเด็กนักเรียน 6-14 ปี เดือน สุดท้าย SERVICENUTRITION COMMUNITY_SERVICE 0-5 ปี = 1E ปี = 1H300 ไม่ต้องมี
1.ตรวจสอบการตั้งค่าใน system setting
การบันทึกโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมการคัดกรองสารเคมีในเกษตรกร
การพิจารณากลุ่มเลข และเอกสาร หลักฐานที่ใช้ประกอบการ ลงทะเบียนในกองทุน
คำขอแก้ไขทะเบียน 1. ชื่อบริษัท : xxxx xxxxxxxx xxxx (จำนวน x คำขอ) 1.1 ชื่อผลิตภัณฑ์ : (ภาษาไทย) (English) ประเภท : (อาหารเสริมสำหรับสัตว์/วัตถุที่ผสมแล้ว)
เทคนิคการวิเคราะห์ความเหมาะสมของโครงการ และแนวทางการติดตามประเมินผลสำเร็จของ ชุดโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะ ที่ต้นทาง ชุดที่ ๓ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
คำขอแก้ไขทะเบียน 1. ชื่อบริษัท : xxxx xxxxxxxx xxxx (จำนวน x คำขอ) 1.1 ชื่อผลิตภัณฑ์ : (ภาษาไทย) (English) ประเภท : (อาหารเสริมสำหรับสัตว์/วัตถุที่ผสมแล้ว)
ประธานคณะทำงานเตรียมความพร้อมการดำเนินงาน
โครงการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ภายใต้พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ ระหว่างวันที่ พฤศจิกายน 2560 ณ โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค.
การกำหนดและการใช้คุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์ หลักสูตร นายทหารฝ่ายการส่งกำลังบำรุง (ฝอ.๔) ณ รร.กบ.ทบ. ๕ มิ.ย. ๖๐.
การปฐมนิเทศนักศึกษาฝึกงาน โรงเรียนเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สพส.
HDC CVD Risk.
ระบบจำนวนและ การแปลงเลขฐาน
ปัญหาสุขภาพจิตกับการใช้สุรา: แนวโน้มกับการป้องกัน
การดูแลและแนวทางการส่งต่อ-ส่งกลับผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
การบันทึกข้อมูล Social Risk ใน HDC
โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์
การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
การพัฒนาระบบการจัดเก็บฐานข้อมูล ผู้พิการ
พระพุทธศาสนา.
Scholarships Chayooth Theeravithayangkura
ปรับแนวทาง ตามมติคณะทำงานฯ ณ 16 ก.พ. 61
HDC Ncd PLus ธันวาคม 2560.
นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
เขตสุขภาพที่ 11 นพ. ประกอบ ลือชาเกียรติศักดิ์
การจัดตั้งหน่วยทะเบียนมะเร็ง และการควบคุมคุณภาพ
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
การประชุมเชิงปฏิบัติการ ณ ห้องประชุมโรงแรมฮอลิเดย์การ์เด้น
ความรู้พื้นฐานโรคทางจิตเวช
มีอะไรใหม่? ในโครงสร้างมาตรฐานข้อมูลสุขภาพ (43แฟ้ม) Version 2.3
HDC แผนแพทย์ไทย.
ประชุมเครือข่าย COPD จังหวัดเชียงใหม่
หอผู้ป่วยศัลยกรรมระบบปัสสาวะ โรงพยาบาลราชบุรี
แผนการดำเนินงาน คปสอ. (DPAC)
ภาควิชาทันตกรรมทั่วไปขั้นสูง
การผ่าตัดเสริมซิลิโคน
ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์
อาจารย์สิรินทร เลิศคูพินิจ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย สตรีและเด็กปฐมวัย 0-5 ปี
แนวทางการ ขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต
การจัดการคุณภาพข้อมูลบริการป่วยนอก
ประสานโครงการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบการจัดเก็บฐานข้อมูล สุขภาพจิต

ร้อยละผู้ป่วยเข้าถึงบริการ ประเภทผู้ป่วย รหัส ICD 10 ความชุก กลุ่มอายุ เป้าหมาย % โรคซึมเศร้า F32,F33,F34.1,F38,F39 2.3 15 ปีขึ้นไป 50 โรคจิต F20 0.8 65 ผู้ป่วยที่เกิดจากการดื่มสุรา F10.0-F10.9 10.9 10 จิตเวชเด็ก Autistic F84 0.6 2-5 ปี 8 จิตเวชเด็กสมาธิสั้น ADHD F90 5.4 6-15 ปี Update 60-02-23

เยี่ยมบ้านผู้ป่วยสุขภาพจิต แฟ้มที่เกี่ยวข้อง รายละเอียด Person Typearea 1,3 diagnosis_opd Z09.9 Follow-up examination after unspecified treatment for other conditions (เยี่ยมบ้าน) community_service 1A020 เยี่ยมผู้ป่วยโรคจิต 1A021 เยี่ยมผู้ป่วยโรควิตกกังวล 1A022 เยี่ยมผู้ป่วยโรคซึมเศร้า 1A023 เยี่ยมผู้ป่วยโรคปัญญาอ่อน 1A024 เยี่ยมผู้ป่วยโรคลมชัก 1A025 เยี่ยมผู้พยายามฆ่าตัวตาย 1A028 เยี่ยมผู้ป่วยโรคจิตและปัญหาสุขภาพจิตอื่นๆ 1A029 เยี่ยมผู้ป่วยโรคจิตและปัญหาสุขภาพจิต ไม่ระบุรายละเอียด

การคัดกรองจิตเวช แฟ้มที่เกี่ยวข้อง รายละเอียด Person Typearea 1,3 diagnosis_opd Z13.3 Special screening examination for mental and behavioural disorders ถ้าคัดกรองแล้วพบภาวะซึมเศร้า ให้เพิ่มรหัส F329 specialpp ประเมินภาวะซึมเศร้า 2Q ประเมินภาวะซึมเศร้า 9Q ประเมินการฆ่าตัวตาย 8Q ประเมินความเครียด ST5 กลุ่มเป้าหมาย 7 กลุ่ม ผู้ป่วยโรคทางกายเรื้อรัง (เบาหวาน ไตวายเรื้อรัง มะเร็ง โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจและหลอดเลือด) หญิงตั้งครรภ์/หลังคลอด ผู้มีปัญหาสุรา/ยาเสพติด ผู้สูงอายุหรือผู้ป่วยสูงอาย ผู้ที่มาด้วยอาการซึมเศร้าชัดเจน ผู้ป่วยที่มีอาการทางกายหลายอาการที่หาสาเหตุไม่ได ผู้ที่มีการสูญเสีย : คนรักหรือทรัพย์สินจำนวนมาก

แบบประเมินระดับความรุนแรงของการเสพติดนิโคติน (Fagerstrom Test for Level of Nicotine Dependence ) การแปลผล FTND ซึ่งเป็นแบบประเมินจำนวน 6 ข้อ จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน ประเมินได้คะแนนไม่เกิน 4 คะแนน แสดงว่ามีระดับการเสพติดนิโคตินค่อนข้างต่ำ ประเมินได้คะแนนอย่างน้อย 6 คะแนน แสดงว่าผู้สูบบุหรี่มีระดับการเสพนิโคตินค่อนข้างสูง

คำถามที่ใช้ คะแนน คุณสูบบุหรี่มวนแรกหลังตื่นนอนตอนเช้าเมื่อใด สูบทันทีหลังตื่นนอนหรือภายในไม่เกิน 5 นาที สูบหลังตื่นนอนเกิน 5 นาที แต่ไม่เกินครึ่งชั่วโมง สูบหลังตื่นนอนเกินครึ่งชั่วโมงแต่ไม่เกิน 1 ชั่วโมง สูบหลังตื่นนอนเกิน 1 ชั่วโมง   3 2 1 คุณรู้สึกอย่างไร หากไม่สามารถสูบบุหรี่ได้ในพื้นที่ที่ห้ามสูบเป็นระยะเวลานาน เช่น ในห้องสมุด หรือ ในโรงภาพยนตร์ หงุดหงิด อึดอัด เฉยๆ    ในแต่ละวันบุหรี่มวนใดที่คุณคิดว่า ถ้าไม่ได้สูบแล้วจะหงุดหงิดมากที่สุด มวนแรกที่สบในตอนเช้า มวนไหน ๆ ก็เหมือนกัน โดยปกติคุณสูบบุหรี่วันละกี่มวน มากกว่า 31 มวนขึ้นไป 21-30 มวน 11-20 มวน ไม่เกิน 10 มวน โดยเฉลี่ยคุณสูบบุหรี่มากที่สุดในช่วง 2- 3 ชั่วโมงแรกหลังตื่นนอนมากกว่าช่วงอื่นๆ ของวันใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ ขณะเมื่อคุณป่วยต้องนอนอยาบนเตียงเกือบตลอดเวลาคุณต้องสูบบุหรี่ หรือไม่

ผู้สูบบุหรี่ที่ควรได้รับ คำแนะนำให้เลิกบุหรี่ การบันทึกข้อมูลผู้ป่วยนอก / ผู้ป่วยใน ว่าเป็นผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยเป็น ผู้สูบบุหรี่ ตามรหัส ICD 10 การให้บริการเลิกบุหรี่   หมายถึง รหัส ICD 10 ผู้สูบบุหรี่ต้องได้รับการ บำบัดรักษาตามแนว ทางการบำบัดรักษาโรค ติดบุหรี่ ผู้ที่ได้รับการประเมินระดับความรุนแรงของการเสพติดสารนิโคติน (Fagerstrom Test) ได้คะแนน 4-10 คะแนน แสดงว่ามีระดับการเสพติด นิโคตินระดับปานกลาง ถึง รุนแรง F17.2 (Tobacco Dependence) เมื่อได้รับการบำบัดรักษาอย่างต่อเนื่อง เพิ่มรหัส Z 50.8 (การบำบัดรักษา ต่อเนื่อง) ผู้สูบบุหรี่ที่ควรได้รับ คำแนะนำให้เลิกบุหรี่ ผู้ที่ได้รับการประเมินระดับความรุนแรงของการเสพติดสารนิโคติน (Fagerstrom Test) ได้คะแนนน้อยกว่า 4 คะแนน แสดงว่ามีระดับการเสพ ติดนิโคตินค่อนข้างต่ำ Z72.0 (Tobacco Use) เมื่อได้รับคำแนะนำเพื่อให้เลิกบุหรี่ ให้เพิ่มรหัส Z71.6 (การให้ คำแนะนำเพื่อเลิกบุหรี่)

การบันทึกข้อมูลผู้ป่วยนอก / ผู้ป่วยใน ว่าเป็นผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยเป็น ผู้ติดสุรา ตามรหัส ICD 10 การให้บริการเลิกสุรา F10.0-F10.9 Mental and behavioral disorders due to use of alcohol ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรมที่เกิดจากการเสพสุรา Z502 Alcohol rehabilitation การฟื้นฟูสภาพผู้ติดสุรา

XXXX XXXXXX