ข้อมูลและสารสนเทศ Data & Information.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน

Advertisements

การแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์
การแทนค่าข้อมูล และ Primary Storage (Memory)
Computer Code เลขฐานสอง bit (binary digit ) 1 byte = A.
Number System[1] เลขฐาน & ASCII CODE Number System[1]
ASCII รหัสแอสกี (ASCII Code) หรือ American Standard Code for Information Interchange เป็นรหัสที่ มีการใช้แพร่หลายกันมากที่สุด เช่น ในไมโครคอมพิวเตอร์
Peopleware & Data บุคลากรและข้อมูล.
Computer&Technology Mahidol Wittayanusorn School
Data representation (การแทนข้อมูล)
มาตรฐาน Protocols ที่ใช้ในสกาดา
Introduction to Digital System
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
Computer Coding & Number Systems
บทที่ 10 การทำงานกับ ข้อความ (string). สตริงในภาษา PHP ASCII (American Standard Code for Information Interchange) จำนวน 8 บิต เก็บได้ 256 ตัว Unicode.
การแทนข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการทำงานเพื่อเก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ การมองเห็นข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับการมองเห็นข้อมูลของผู้ใช้จะไม่เหมือนกัน.
ระบบฐานข้อมูล (Database Management System)
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
1. ความหมายฐานข้อมูล 2. โครงสร้างของฐานข้อมูล
แฟ้มข้อมูล Data Management.
หน่วยที่ 1 รู้จักกับฐานข้อมูล
รหัสคอมพิวเตอร์.
Introduction to Digital System
โปรโตคอล Protocol คือข้อกำหนดหรือข้อตกลงที่ใช้ควบคุมการสื่อสารข้อมูลในเครือข่าย ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์หรือระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อื่น.
Introduction to Computer Organization and Architecture
ระบบสารสนเทศ อ.วรพจน์ พรหมจักร.
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
1. วิธีการ Set ค่าคอมพิวเตอร์ก่อนติดตั้ง
Microsoft Access การใช้งานโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
ครั้งที่ 1 ระบบตัวเลข & ลอจิกเกต (Number Systems & Logic Gates)
สถิติในชีวิตประจำวัน : Statistics in Everyday life
Principles of Problem Solving and Basic Programming หลักการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น2(1-2-3) สัปดาห์ที่ 3 ชนิดข้อมูลและการแทนชนิดข้อมูลการประกาศตัวแปร.
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ * Management Information Systems
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า Information Technology for Study Skill 01/12/61.
ระบบเลขฐาน.
หน่วยที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : การนำเสนอมัลติมีเดียในรูปแบบดิจิตอล(Digital Representation) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
การจัดการฐานข้อมูลด้วยโปรแกรม MS Access 2013
การแทนข้อมูล ในคอมพิวเตอร์ ผศ. กัลยาณี บรรจงจิตร 31/12/61.
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 การบริหารจัดการข้อมูลและลำดับชั้นของการจัดเก็บข้อมูล
หน่วยการเรียนที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4 ฐานข้อมูล.
Database ฐานข้อมูล.
บทเรียนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
Chapter 9 กฎหมายพาณิชย์ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส Edit
บทที่ 2 การประมวลผลข้อมูล
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
Binary Numbers Hexadecimal Numbers
ข้อมูลและสารสนเทศ.
ระบบตัวเลข, Machine code, และ Register
บทที่ 5 ระบบเลขฐานและรหัสแทนข้อมูล
เรื่อง การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล MySQL Database
ข้อมูลและสารสนเทศ.
โครงสร้างข้อมูล( Data Structure)
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
รหัสแทนข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
[ บทที่ 1 ] ระบบฐานข้อมูล
Introduction to Public Administration Research Method
CIT2205 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการฐานข้อมูล
เสียง.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และการประมวลผลข้อมูล (Introduction to Computer and Data Processing) บทที่ Business Computer & Information.
Data resource management
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อมูลและสารสนเทศ Data & Information

ข้อมูล (DAtA) ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ฯลฯ โดยอยู่ในรูปแบบที่เหมาะสม ต่อการสื่อสาร การแปลความหมายและการประมวลผล ตัวอย่างข้อมูล เช่น เลข 1.0 อาจจะถูกกำหนดให้เป็นจำนวนหน่วยการเรียน ของวิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ 8.30 แทนเวลาเข้าเรียน สัญลักษณ์ แทนการเลี้ยวขวา

ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน ความสมบูรณ์ ความกระชับและชัดเจน คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี ความถูกต้อง ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน ความสมบูรณ์ ความกระชับและชัดเจน ความสอดคล้อง

ชนิดและลักษณะของข้อมูล ข้อมูลสำหรับการประมวลผลแบ่งเป็น 2 ชนิด ข้อมูลชนิดจำนวน (Numeric data) ก) จำนวนเต็ม ข) จำนวนทศนิยม เช่น 25.78, 123.0 *104 ฯลฯ ข้อมูลชนิดอักขระ (Character data) เช่น Computer, 17, &76 ฯลฯ

 ประเภทของข้อมูล ถ้าจำแนกข้อมูลตามแหล่งที่มา จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data)  หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวม หรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรงซึ่งอาจจะได้จากการสอบถาม การสัมภาษณ์ การสำรวจ และการจดบันทึก ตลอดจนการจัดหามาด้วยเครื่องจักรอัตโนมัติ เช่นเครื่องอ่านรหัสแท่ง เครื่องอ่านแถบแม่เหล็ก                          2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)  หมายถึง ข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวม ไว้ให้แล้ว บางครั้งอาจมีการประมวลผลเพื่อเป็นสารสนเทศ เช่น สถิติ จำนวนประชากรแต่ละจังหวัด สถิติการนำสินค้าเข้า และการส่งสินค้าออก เป็นต้น   

สารสนเทศ สารสนเทศ คือ สิ่งที่ได้จากการนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้ ข้อมูล สารสนเทศ คือ สิ่งที่ได้จากการนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้ มาประมวลผล เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ตามจุดประสงค์ ข้อมูล การประมวลผล สารสนเทศ รูปแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลและสารสนเทศ

กระบวนการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล การรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การจัดกลุ่มข้อมูล การจัดเรียงข้อมูล การสรุปผล การคำนวณ การดูแลรักษาข้อมูล การเก็บรักษาข้อมูล การทำสำเนาข้อมูล การสื่อสารและเผยแพร่ข้อมูล การปรับปรุงข้อมูล

วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ                   (1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)                    หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูล ของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง                    (2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)                     หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชน ต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้อง

ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ : ระบบเลขฐานสอง คอมพิวเตอร์ทำงานด้วยกระแสไฟฟ้า ดังนั้นจึงมีการแทนที่สภาวะของกระแสไฟฟ้าได้ 2 ภาวะ คือ - สภาวะที่มีกระแสไฟฟ้า - สภาวะที่ไม่มีกระแสไฟฟ้า เพื่อให้โปรแกรมเมอร์สามารถสั่งการคอมพิวเตอร์ได้ จึงได้มีการสร้างระบบ ตัวเลขที่นำมาแทนสภาวะของกระแสไฟฟ้า โดยตัวเลข 0 จะแทนสภาวะไม่มีกระแสไฟฟ้า 1 แทนสภาวะมีกระแสไฟฟ้า

ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ ตัวอย่าง จงแปลง (10111012 ) เป็นเลขฐานสิบ ค่า weight = 26 25 24 23 22 21 20 เลขฐานสอง = 1 0 1 1 1 0 1 คำนวณค่า = (1x 26)+ (0x 25) + (1x 24) + (1x 23) + (1x 22) +(0x 21) + (1x 20) = 64+0+16+8+4+0+1 = 9310

การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง ตัวอย่าง จงเปลี่ยน (22110) เป็นเลขฐานสอง (LSB) 221 2 เศษ 1 110 เศษ 0 55 27 13 6 3 1 (22110) = (110111012) (MSB)

ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ : รหัสแทนข้อมูล รหัส EBCDIC (Extended Binary Code Decimal Interchange Code) รหัส ASCII (American Standard Code for Information Interchange) รหัส Unicode

ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ : รหัสแทนข้อมูล รหัส EBCDIC (Extended Binary Code Decimal Interchange Code) นิยมใช้กับระบบคอมพิวเตอร์เมนเฟรมและ IBM สามารถแทนข้อมูลได้ 256 สัญลักษณ์ รหัส ASCII (American Standard Code for Information Interchange) นิยมใช้ในกลุ่มคอมพิวเตอร์ประเภท PCs และที่ใหญ่กว่าบางชนิด โดยได้กำหนดให้กลุ่มของบิตในการแทนสัญลักษณ์ข้อมูลต่าง ๆ โค้ดนี้สามารถแทนสัญลักษณ์ได้ 256 สัญลักษณ์ บิตที่ใช้ จำนวน 8 บิต

ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ : รหัสแทนข้อมูล รหัส Unicode (Unicode Worldwide Character Standard) ใช้ 16 บิต ในการแทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ ด้วยการใช้เนื้อที่ขนาด 16 บิต ทำให้สามารถแทนสัญลักษณ์ได้ 65536 สัญลักษณ์ ซึ่งมากพอสำหรับตัวอักษรและสัญลักษณ์ทุกตัวในทุกภาษาในโลกนี้ ปัจจุบันระบบ Unicode มีใช้ในระบบปฏิบัติการ Windows NT ระบบปฏิบัติการ UNIX บางรุ่น

ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ : การจัดเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ B 01000010 A 01000001 N 01001110 G 01000111 K 01001011 O 01001111 รูปแสดงตัวอย่างการแทนข้อมูลด้วยรหัสเลขฐานสองในหน่วยความจำ

ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ : การจัดเก็บคำสั่งในหน่วยความจำ ตัวอักษรแทนรหัสภาษาเครื่อง ภาษาเครื่อง LD      A,(8000) 00111010,00000000,10000000 LD      B,A 01000111 LD      A,(8001) 00111010,00000001,10000000 ADD   A,B 10000000 LD      (8002),A 00110010,00000010,10000000 รูปแสดงตัวอย่างการแทนคำสั่งภาษาเครื่อง

การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยหน่วยต่างๆ โดยเรียงจากหน่วยเล็กที่สุดไปหาใหญ่ที่สุดดังภาพ Bit byte field record file

ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ : การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ : การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ รูปแสดงความสัมพันธ์ของโครงสร้างข้อมูลภายในแฟ้มข้อมูล

ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ : การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ : การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ พิจารณาการเก็บประวัติของนักเรียนในโรงเรียนแห่งหนึ่ง ประวัติของนักเรียนคนหนึ่ง ๆ จะบันทึกลงในระเบียนประวัติหนึ่งใบ โดยประกอบด้วยเขตข้อมูลต่าง ๆ เช่น ชื่อ นามสกุล วันเดือนปีเกิด ฯลฯ โดยที่ข้อมูลเหล่านี้อาจเป็นตัวเลขหรือตัวอักษรก็ได้ และใบระเบียนประวัติของนักเรียนในโรงเรียนจะได้รับการจัดเก็บไว้ในแฟ้มเดียวกัน รูปแสดงการจัดเก็บประวัตินักเรียน

แฟ้มข้อมูล - ลักษณะของแฟ้มข้อมูล เขตข้อมูล (Field) หมายถึง หน่วยเก็บข้อมูลหนึ่งที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อใช้เก็บค่าข้อมูลที่ต้องการ ระเบียน (Record) หมายถึง กลุ่มของเขตข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน record จึงประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่หนึ่งเขตข้อมูลขึ้นไป แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง กลุ่มของระเบียน (record) ข้อมูลที่มีเขตข้อมูล (field) เหมือนๆ กัน ซึ่งประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่ระเบียนขึ้นไป เช่น แฟ้มประวัตินักเรียนในชั้นเรียนประกอบด้วย ระเบียนข้อมูลประวัติของนักเรียนแต่ละคน ซึ่งประวัติเหล่านี้มีเขตข้อมูลที่เหมือนกัน โดยเขตข้อมูลที่เหมือนกันในระเบียนอาจมีค่าที่เหมือนกันหรือต่างกันก็ได้

ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ : การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ : การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ รูปแสดงการจัดเก็บประวัตินักเรียน filed Record รูปแสดงการจัดเก็บประวัตินักเรียนในคอมพิวเตอร์ โดยข้อมูลของนักเรียนแต่ละคนเก็บใน 1 ระเบียนและแต่ละระเบียนประกอบด้วย 7 เขตข้อมูล

ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ : แฟ้มข้อมูล – ข้อดีและข้อเสียของแฟ้มข้อมูล ข้อดี - การประมวลผลข้อมูลทำได้รวดเร็ว - ค่าลงทุนในเบื้องต้นต่ำ ไม่จำเป็นต้องใช้ที่มีประสิทธิภาพสูงก็สามารถประมวลผลได้ - โปรแกรมประยุกต์แต่ละโปรแกรมสามารถควบคุมการใช้งานในแฟ้มข้อมูลของตนเองได้ ข้อเสีย - มีความซ้ำซ้อนของข้อมูล - ความยากในการประมวลผลข้อมูลในแฟ้มข้อมูลหลายแฟ้ม - ไม่มีผู้ควบคุมหรือรับผิดชอบระบบทั้งหมด - ความขึ้นต่อกัน (Dependency) ระหว่างโปรแกรมประยุกต์และโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล

ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ : ฐานข้อมูล ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ : ฐานข้อมูล หมายถึง การรวบรวมรายละเอียดของข้อมูล ที่มีความสัมพันธ์กัน จากแหล่งต่างๆ ให้มาอยู่ในที่เดียวกัน ผู้ใช้งานสามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน เพื่อให้เกิดการใช้ข้อมูล ที่มีประสิทธิภาพทั้งในแง่ของการจัดการ และความถูกต้องแม่นยำของข้อมูล

ขอขอบคุณ http://neung.kaengkhoi.ac.th/mdata/data1.html#s1