เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล
Advertisements

เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Communication Media Lect. Thanapon Thiradathanapattaradecha
Chapter 5 สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ Transmission Media and Multiplexing This presentation demonstrates the new capabilities of PowerPoint and.
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ข้อดี 1. มีราคาถูก 2. ใช้งานง่ายมีความยืดหยุ่นในการใช้ งาน 3. ติดตั้งง่ายและมีน้ำหนักเบา ข้อเสีย 1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ ง่าย 2. ระยะทางจำกัด.
บทที่ 5 การให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ (E-Service)
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี 1. ราคาถูก 2. มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน 3. ติดตั้งง่าย และมีน้ำหนักเบา ข้อเสีย 1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย 2. ระยะทางจำกัด.
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย นาย ปรัชญา สิทธิชัยวงค์ ชั้น 4/6 เลขที่ 23 น. ส. สัตตบงกช ศรีวิชัย ชั้น 4/6 เลขที่ 22 จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
จัดทำโดย ด. ญ. ศศิปภา มณีขัติย์ ชั้น 2/6 เลขที่ 4.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
ข้อดีและข้อเสียของสื่อกลางใน การสื่อสารข้อมูล โดย นาย กิตติพิชญ์ เครือสุวรรณ.
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
การสื่อสารข้อมูล (D ATA C OMMUNICATIONS ) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์
โปรโตคอล Protocol คือข้อกำหนดหรือข้อตกลงที่ใช้ควบคุมการสื่อสารข้อมูลในเครือข่าย ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์หรือระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อื่น.
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งโดยผ่านสื่อกลาง เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลไฟเบอร์ออพติก, คลื่นไมโครเวฟ,
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลเบื้องต้น Data Communication
จัดทำโดย ด. ญ. ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18 ด. ญ. ณัฐธิดา วันเวียง ชั้น ม.1/12 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Communication Software
การสื่อสารข้อมูล.
สื่อหรือตัวกลางของระบบสื่อสารข้อมูล
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 3 ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ Computer Network System.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (COMPUTER NETWORK)
บทที่ 3 อุปกรณ์ต่างๆ ในเครือข่ายและรูปแบบการเชื่อมต่อระบบ
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (COMPUTER NETWORK)
บทที่ 3 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
ที่ปรึกษาโครงการ 1. นายประวัติวิทย์ สวัสดิ์ดวง ผส.ชป.13 ประธานที่ปรึกษา 2. นายไพศาล พงศ์นรภัทร ผชช.ชป.13 ที่ปรึกษา 3. นายไพรัตน์ ทับประเสริฐ.
อ.จุฑาวุฒิ จันทรมาลี Computer Science
ประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Coaxial Cable (สายโคแอกเซียล)
การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
1.เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater)
บทที่ 7 เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น (LAN)
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN)
การสื่อสารข้อมูล (DATA Communications)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สรุปงานศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ
พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สายคู่บิดเกลียวแบบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวนหรือไม่หุ้มฉนวน.
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
1. ความหมายของการสื่อสารข้อมูล
รายวิชา การบริหารการศึกษา
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล ผู้สอน...ศริยา แก้วลายทอง.
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
เครื่องโทรศัพท์ติดต่อภายใน intercommunication
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร Part2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network) จุดประสงค์ 1. บอกองค์ประกอบของการสื่อสาร ข้อมูล 2. บอกประโยชน์ของเครือข่าย คอมพิวเตอร์ 3. ยกตัวอย่างตัวอย่างที่ใช้ในเครือข่าย คอมพิวเตอร์ 1

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network) ความหมาย องค์ประกอบ ประโยชน์

การสื่อสารข้อมูล (data communications)เป็นการ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารโดยใช้ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์จากผู้ส่งผ่าน สื่อกลางไปยังผู้รับโดยผ่านช่อง ทางการสื่อสาร ทั้งแบบมีสายและ แบบไร้สาย

ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หมายถึง การนำเอาคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกัน ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป เพื่อให้ สามารถสื่อสารระหว่างกันได้

องค์ประกอบพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูล ผู้ส่ง (Sender) ผู้รับ (Receive) ข่าวสาร (Message) ตัวกลาง (Media) โพรโทคอล (Protocol) เป็นข้อตกลงหรือกฎเกณฑ์ ในการสื่อสาร

องค์ประกอบพื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล ทางอิเล็กทรอนิกส์ SENDER RECEVIVER MEDIA MESSAGE PROTOCOL

สรุปประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1. การใช้โปรแกรมและข้อมูลร่วมกัน 2. การใช้งานทรัพยากรคอมพิวเตอร์ร่วมกัน 3. การติดต่อสื่อสารและการทำงานร่วมกัน 4. การใช้แหล่งเรียนรู้และความรู้ร่วมกัน

ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล(media) ตัวกลางประเภทมีสาย ตัวกลางประเภทไร้สาย

สื่อกลางประเภทมีสาย (Cable) 1. สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair : TP) สายคู่บิดเกลียวประกอบด้วยเส้นลวดทองแดงหุ้มด้วยฉนวนพลาสติกอย่างน้อย 2 เส้นพันบิดเป็นเกลียว ส่งข้อมูลในระยะทางไม่เกิน 100 เมตร

สื่อกลางประเภทมีสาย (ต่อ) 1.1 สายคู่บิดเกลียวแบบป้องกันสัญญาณรบกวนหรือสายเอสทีพี (Shielded Twisted Pair : STP) ป้องกันการรบกวนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ดียิ่งขึ้น

สื่อกลางประเภทมีสาย (ต่อ) 1.2 สายตีเกลียวคู่แบบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวนหรือสายยูทีพี (Unshielded twisted pair : UTP) มีราคาต่ำกว่าแบบ STP แต่ป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่า

สื่อกลางประเภทมีสาย (ต่อ) 2. สายโคแอกซ์หรือสายแกนร่วม (Coaxial cable) สายโคแอกซ์เป็นสายสัญญาณที่มีสายทองแดงเดี่ยวเป็นแกนกลางหุ้มด้วยฉนวน เพื่อป้องกันไฟรั่ว จากนั้นหุ้มด้วยฉนวนพลาสติก ลักษณะของสายเป็นแบบกลมและใช้สำหรับสัญญาณความถี่สูง

สื่อกลางประเภทมีสาย (ต่อ) 3. สายไฟเบอร์ออปติก หรือเคเบิลเส้นใยนำแสง (Fiber optic cable) เคเบิลเส้นใยนำแสงทำจากแก้วหรือพลาสติกที่มีความบริสุทธิ์สูง เป็นตัวกลางที่สำคัญในการส่งข้อมูลดิจิทัลได้ในปริมาณมากในระยะทางไกลหลายกิโลเมตร และมีข้อผิดพลาดในการส่งข้อมูลต่ำ

เส้นใยนำแสงหรือไฟเบอร์ออปติก (Fiber optic cable)

สื่อกลางประเภทไร้สาย (Wireless) เป็นการสื่อสารข้อมูลโดยอาศัยการส่งสัญญาณไปกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวกลางนำสัญญาณ

สื่อกลางประเภทไร้สาย (Wireless) 1. คลื่นวิทยุ (Radio wave) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่อยู่ในช่วง 10 GHz ถึง 1 GHz

สื่อกลางประเภทไร้สาย (ต่อ) 2. คลื่นไมโครเวฟ (Microwave) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงกว่าคลื่นวิทยุ มีการใช้งานทั้งในแบบการสื่อสารระหว่างสถานีบนพื้นโลกด้วยกัน หรือสถานนีบนพื้นโลกกับดาวเทียม โดยจะต้องติดตั้งจุดรับส่งสัญญาณเป็นระยะๆ

สื่อกลางประเภทไร้สาย (ต่อ) 3. อินฟราเรด (Infrared) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่อยู่ในย่านความถี่สูงกว่าไมโครเวฟแต่ต่ำกว่าความถี่ของแสงที่ตามนุษย์มองเห็นได้ ใช้กับการสื่อสารข้อมูลที่ไม่มีสิ่งกีดขวางระหว่างผู้ส่งและผู้รับ

ตัวอย่างสื่อกลางที่ใช้ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สื่อกลาง (Media) แบบมีสาย สายคู่บิดเกลียว STP (หุ้มฉนวน) UTP (ไม่หุ้มฉนวน) สายโคแอกซ์ สายไฟเบอร์ออปติก แบบไร้สาย คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ อินฟราเรด