การนำเสนอ โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา การจัดทำคำรับรองปฏิบัติราชการของกรมอนามัย เกณฑ์การประเมิน PMQA ของสำนักงาน ก.พ.ร. แนวนโยบายการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย ปี 2552 - การวิเคราะห์ระบบงานเพื่อรองรับเกณฑ์ PMQA ระดับ Fundamental Level - แนวทางการขับเคลื่อน PMQA เพื่อให้ บรรลุเป้าหมายปี 54 โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย 23 มีนาคม 2552 กพร. กรมอนามัย
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการกรมอนามัย ประจำปี 2552
กลุ่มเป้าหมาย กระทรวงนำร่องปี 2551 เพิ่มเติม ปี 2552 กระทรวงการคลัง และส่วนราชการระดับกรม ในสังกัด 9 กรม กระทรวงพลังงาน และส่วนราชการระดับกรม ในสังกัด 5 กรม กระทรวงอุตสาหกรรม และส่วนราชการ ระดับกรม ในสังกัด/ในกำกับ 8 กรม กระทรวงสาธารณสุข และส่วนราชการ ระดับกรม ในสังกัด 9 กรม 3
โครงสร้างและบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ/คณะทำงานที่เกี่ยวข้อง 1. คณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวง...... แต่งตั้งโดย รัฐมนตรีว่าการกระทรวง 2. คณะกรรมการเจรจาข้อตกลงและประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของส่วนราชการในกระทรวง...... แต่งตั้งโดย คณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ในกระทรวง...... 3. คณะทำงานจัดทำคำรับรองและประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของส่วนราชการในกระทรวง...... 4. คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผล ภาคราชการประจำกระทรวง (ค.ต.ป. ประจำกระทรวง) ค.ต.ป. ประจำกระทรวง ของกระทรวงนำร่อง
ขั้นตอนการดำเนินการตามระบบการจัดทำคำรับรองและการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองระหว่างส่วนราชการระดับกระทรวงและส่วนราชการระดับกรมในสังกัด(นำร่อง) 1 2 15 16 สำนัก งาน ก.พ.ร กำหนดกรอบการประเมินผล ของกระทรวง เจรจาข้อตกลง และจัดทำ คำรับรองฯ ระดับกระทรวง ติดตามประเมินผล รอบ 6,12 เดือน ระดับกระทรวง จัดสรรสิ่งจูงใจให้ ในระดับกระทรวง ส่งผลคะแนน ให้ ก.พ.ร.รับรอง 3 5 6 8 11 14 17 กำหนดกรอบการประเมินของกรม ให้สอดคล้องกับกรอบของสำนักงาน ก.พ.ร. กรอบ 4 มิติ ปฏิทิน ขั้นตอน แบบฟอร์ม เตรียมการเจรจากับกรม วิเคราะห์ความ เหมาะ สมของ kpi , จัดทำเอกสารประกอบการเจรจา, แต่งตั้ง กก.เจรจา คณะกรรม การเจรจาข้อตกลงของกระทรวง เจรจา KPI, ค่าเป้าหมายและเกณฑ์การให้คะแนนกับผู้บริหารกรม ตรวจ สอบความถูกต้องของ คำรับรอง ตรวจสอบ KPI Template ประเมินผล วิเคราะห์ SAR รอบ 6,12 เดือน Site visit 6,12 เดือน ประเมินผล 12เดือน จัดสรรสิ่งจูงใจ กำหนดหลักเกณฑ์ และจัดสรรสิ่งจูงใจให้ส่วนราชการ ระดับกรม กระ ทรวง (นำร่อง) 7 9 10 12 13 18 4 จัดทำคำรับ รอง ผู้บริหารของกรมลงนามคำรับรองกับกระ ทรวง จัดทำราย ละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template) ปฏิบัติราช การ ตามคำรับรอง รายงานผล กรอก e-SAR-Card รอบ 6, 9, 12 เดือน ส่งรายงาน 6,12 เดือน จัดสรรสิ่งจูงใจให้แก่ข้าราช การในสังกัด กรม กำหนดยุทธศาสตร์ของกรม เสนอ kpi ตามแผน ยุทธศาสตร์ของกรม
กระบวนการจัดทำคำรับรอง กพร. กรมอนามัย ระดับกระทรวง ระดับกรม 1. กระทรวงฯจัดส่งแผนที่ยุทธศาสตร์ให้ ส.กพร. 2. ส.กพร.วิเคราะห์แผน ยุทธศาสตร์กระทรวง 3.ส.กพร.เจรจา KPIs กับกระทรวง/กลุ่มภารกิจ 4.จัดทำคำรับรองระดับกระทรวง/กลุ่มภารกิจ 1. กรมจัดทำแผนที่ยุทธฯ(SM)ให้ กระทรวง 2. กระทรวงแต่งตั้งคณะ กรรมการ 3 ชุด 3. คณะที่ 3 กำหนดกรอบการประเมินเบื้องต้น 4. กรมจัดทำคำรับรอง (4 มิติ) เสนอคณะที่ 3 5.คณะที่ 2 เจรจากับกรม (12 มีนาคม 52) 6. กรมจัดทำคำรับรอง 7. กรมโดยหน่วยเจ้าภาพ KPIs จัดทำรายละเอียด พร้อม Template 8. กรมรายงานผลรอบ 6,9 และ 12 เดือน ระดับหน่วยงาน 1. กรมชี้แจงกรอบคำรับรอง (23-24มีค.52) 2. หน่วยงานจัดทำ SM รองรับเป้าหมายกรม 3. หน่วยงานจัดทำคำรับรอง (4มิติ)เสนอ 4. หน่วยงานเจรจา&กรม 5. จัดพิธีลงนามคำรับรอง (3 เมษายน52) 6. หน่วยงานจัดทำราย ละเอียดการประเมิน KPIs ส่งกองแผน 7.หน่วยงานรายงานผลรอบ 6,9 และ 12 เดือน พิธีลงนามคำรับรอง (2 เมย..52) ถ่ายทอดเป้าหมายสู่ระดับกรม
กรอบการประเมินระดับกระทรวง (KPI 1) ตัวชี้วัดที่ น้ำหนัก (ร้อยละ) เกณฑ์ 1.1.1) ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบสุขภาพที่ตอบสนองต่อปัญหาของจังหวัดชายแดนภาคใต้ 3 2 ขั้นตอน +ผลลัพธ์ 1.1.3) ร้อยละสถานบริการที่มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด 1 ผลลัพธ์ (65+/-5) 1.1.5) ระดับความสำเร็จในการลดอัตราป่วย/ตามด้วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญ (โรคหลอดเลือด / โรคหัวใจ / โรคเนื้องอกร้าย / โรคเบาหวาน / โรคความดัน / ..... ) 4 (เป็นร้อยละ) 1.1.6) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร (สุ่มตรวจอาหารสด / ตลาดสด / ร้าอาหาร / แผงลอย ตามแนวทาง กสธ.) 2 5 ขั้นตอน (เชื่อมโยงกับจังหวัด)
กรอบการประเมินระดับกลุ่มภารกิจ การพัฒนาสาธารณสุข (KPI 2) ตัวชี้วัดที่ น้ำหนัก (ร้อยละ) เกณฑ์ 2.1) จำนวนโรงพยาบาลมีกระบวนการเป็น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ - ในสังกัด - นอกสังกัด 3 1 ขั้นตอน +ผลลัพธ์ (178+/-10 15+/-5) 2.2) ร้อยละของหน่วยงานสาธารณสุข ที่สามารถปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพตามมาตรฐานที่กำหนด (40 %) 2.3) ระดับความสำเร็จในการจัดการผลงานวิชาการในการส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ รวมทั้งอนามัยสิ่งแวดล้อม 4 3 ขั้นตอน +ผลลัพธ์ (50% และ 1เรื่อง)
กรอบการประเมินระดับกรมอนามัย (KPI 3) ตัวชี้วัดที่ น้ำหนัก (ร้อยละ) เกณฑ์ 3.1) ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ถ่วงน้ำหนักตามเป้ามหายผลผลิต(ตามเอกสารงบฯ) 5 80, 85, 90, 95, 100% 3.2) ระดับความสำเร็จของโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวระดับทอง 2.5 2 ขั้นตอน 100, 130, 160 3.3) ระดับความสำเร็จของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง ผ่าเกณฑ์ระดับเพชร 2 ขั้นตอน , 36, 40,44 3.4) ระดับความสำเร็จของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดที่ผ่านเกณฑ์ประเมินเปป็นองค์กรไร้พุง 2 ขั้นตอน 38, 45, 70 จว. 3.5) ร้อยละของโรงพยาบาล(สังกัด สธ.) & โรงเรียน(สพฐ.) มีส้วมผ่านเกณฑ์มาตรฐานส้วมสาธารณะ 1.5 60,65,70,75,80% 20,30,40,50,60% 3.6) ร้อยละร้านอาหารและแผงลอยได้มาตรฐาน CFGT 81.0, 82.5, 84.0, 85.5, 87.0% 3.7) ร้อยละของตลาดประเภทที่ 1 ผ่านเกณฑ์ระดับดีและดีมาก 74.2, 74.7, 79.2, 81.7, 84.2%
เป้าหมายการพัฒนาระบบราชการปี 2552 ที่กรมอนามัยพิจารณาแล้ว มิติ : ประสิทธิผล(50%) มิติ : ประสิทธิภาพ(15%) กองแผนฯ/เจ้าภาพยุทธ์ การบรรลุเป้าหมายระดับกระทรวง 20 บรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ (13) บรรลุเป้าหมายร่วมระหว่างกระทรวง (5) ความสำเร็จเรื่องศูนย์บริการร่วม (2) 8)ร้อยละการเบิกจ่ายงบลงทุน 4 กอง ค. 9) การประหยัดพลังงาน 3 สลก. 2) การบรรลุเป้าหมายระดับกลุ่มภารกิจ 10 10)ระบบต้นทุนต่อหน่วยฯ 3 กอง ค. 3) การบรรลุเป้าหมายระดับ กรม 20 บรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์กรม บรรลุผลผลิตตามเอกสารงบฯ 11) ระบบตรวจสอบภายใน 3 กตส. 12) แผนพัฒนา กม. 2 ศกม. ตัวชี้วัด ก.พ.ร.ปี52 4) ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ 5 14) ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) 20 สลก./กพร. 5) การป้องกันปราบปรามทุจริต 5 กอง จ. เจ้าภาพระบบงานฯ/คกก.สนับสนุนฯ 6) การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารราชการ 5 สลก. มิติ : พัฒนาองค์กร(20%) มิติ : คุณภาพบริการ(15%) กพร. กรมอนามัย
กำหนดการจัดทำคำรับรองฯ (1) กองแผนฯ ร่วมกับ เจ้าภาพยุทธ์เพื่อถ่ายทอดเป้าหมายยุทธ์ (2) กพร.ร่วมกับเจ้าภาพระบบงาน เพื่อถ่ายทอดตัวชี้วัด GG./PMQA (3) จัดการประชุมชี้แจงหน่วยงานย่อย เพื่อเตรียมการจัดคำรับรอง (23-24มี.ค.) (4) พิธีลงนาม “คำรับรอง” (3 เม.ย.)
เกณฑ์การพัฒนาระบบ PMQA สำนักงาน ก.พ.ร. ประจำปี 2552
แนวคิดในการพัฒนาเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐาน มุ่งเน้นให้ส่วนราชการนำไปปฏิบัติมากกว่าการเขียนรายงาน เน้นการวิเคราะห์กระบวนการอย่างเป็นระบบและการสร้างความเชื่อมโยงกับผลลัพธ์ ใช้ประโยชน์จากข้อมูลและตัวชี้วัดที่ส่วนราชการเก็บอยู่ เน้นการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและบูรณาการ เน้นการพัฒนามากกว่าการได้รางวัล
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ในระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) ประกอบด้วย 7 หมวด รวม 52 ประเด็น แต่ละประเด็นเป็นการมุ่งเน้นกระบวนการ และระบบงานพื้นฐาน ที่จำเป็นเพื่อตอบสนอง พรฎ.GG.ในเรื่องต่าง ๆ ส่วนราชการต้องดำเนินการในแต่ละประเด็นให้ครบในทุกข้อและทุกหมวด มีแนวทาง(มีระบบ) (A) มีการนำไปใช้จริง เริ่มเกิดผล (D) มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง มีการพัฒนา มีความก้าวหน้า เริ่มบูรณาการกับระบบงานอื่น ๆ (I) (L)
ขั้นตอนดำเนินการของส่วนราชการ ทำการประเมินตนเองภายใต้กรอบ Fundamental Level ระบุจุดที่ยังต้องพัฒนา(OFI) จัดทำแผนพัฒนาและปรับปรุงประจำปีให้สอดคล้องกับ OFI เป็นรายหมวด โดยระบุตัวชี้วัดที่เป็นผลลัพธ์ให้ชัดเจนด้วย (ส่ง มกราคม 52) ดำเนินการปรับปรุงตามแผนที่กำหนด การวัดผลความสำเร็จ (PMQA ปี 52) 1) การดำเนินการตามแผนที่กำหนด 2) ผลลัพธ์ตามที่กำหนดในแผน 3) ผลลัพธ์ตามหมวด 7 (ภาพรวม) 4) รายงานการประเมินตนเอง & แผน ปรับปรุงปี 53
Roadmap การพัฒนาองค์การ ตัวอย่าง 2554 2552 2553 1 5 2 กรมด้านบริการ 3 6 4 เน้นความสำคัญกับผู้รับบริการ โดยออกแบบกระบวนงานและพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1 4 3 กรมด้านนโยบาย 2 6 5 เน้นความสำคัญของยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบการวัดผลการดำเนินการที่เป็นระบบ
เกณฑ์การประเมินเรื่อง PMQA ปี 2552 ลำดับ เกณฑ์ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) 14.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์กร 2 หมวด - ร้อยละของจำนวนข้อที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพ PMQA ขั้นพื้นฐาน ของหมวดนั้น หมวดละ 4 คะแนน) - ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักใน การบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการ ดำเนินการตามแผน(2 แผนงาน แผนละ 2 คะแนน) 8 4 14.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ของส่วนราชการตามเกณฑ์คุณภาพฯขั้นพื้นฐาน (หมวด 7) 14.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความครบถ้วนของการประเมินองค์กร (หมวด P+52 ประเด็น) และการจัดทำแผนพัฒนาองค์กร (ปี 53 รายหมวดอีก 2 หมวด) รวมคะแนนร้อยละ 20 กพร. กรมอนามัย
ตัวชี้วัดที่ 14 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (สำหรับหน่วยงานย่อย) คะแนนเต็ม 14.1 ร้อยละความสำเร็จของการให้ความร่วมมือ ในการดำเนินการตามแผนพัฒนาระบบการเรียนรู้ ความต้องการและสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(C/SH) ของกรมอนามัย 100 14.2 ร้อยละความสำเร็จของการให้ความร่วมมือ ในการดำเนินการตามแผนพัฒนาและปรับปรุง กระบวนการที่สร้างคุณค่า/กระบวนการสนับสนุน ของกรมอนามัย 14.3 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของการดำเนินการ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (ที่นอกเหนือจาก 14.1 และ 14.2)
ขั้นตอนที่ ประเด็นการประเมินผล คะแนน ตัวชี้วัดที่ 14.1 ร้อยละความสำเร็จของการให้ความร่วมมือในการดำเนินการตามแผนพัฒนาระบบการเรียนรู้ความต้องการและสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(C/SH) ของกรมอนามัย ขั้นตอนที่ ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1 เข้าร่วมดำเนินการในทุกกิจกรรมตามแผนพัฒนาระบบการเรียนรู้ความต้องการและสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(C/SH) ของกรมอนามัย 20 2 ดำเนินการรับฟังความคิดเห็นของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามกรอบที่กำหนด 3 ดำเนินการจัดการข้อร้องเรียน / ข้อเสนอแนะ / ข้อคิดเห็น / คำชมเชย ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามกรอบที่กำหนด 4 ดำเนินการสร้างเครือข่ายและกิจกรรมสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามกรอบที่กำหนด 5 ดำเนินการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมตามกรอบที่กำหนด รวม 100
ตัวชี้วัดที่ 14.2 ร้อยละความสำเร็จในการให้ความร่วมมือดำเนินการตามแผนพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่า/กระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย ประเด็นการประเมินผล (i) นน. (Wi) เกณฑ์การให้คะแนน เทียบกับร้อยละของ ผลสำเร็จตามเป้าหมาย คะแนน ที่ได้ (Ci) Wi x Ci 20 40 60 80 100 กระบวนการที่สร้างคุณค่า ร้อยละของบุคลากรผู้ปฏิบัติงานในกระบวนการที่สร้างคุณค่าได้รับการถ่ายทอดให้ปฏิบัติงานตาม SOP ของกระบวนการที่สร้างคุณค่า(จำนวน 2 กระบวนการ) ที่ได้จัดทำ SOP ในปี งปม.51 หลักฐานที่ 39 0.10 65 70 75 C1 (W1 x C1) ร้อยละของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลาที่กำหนดของ “กระบวนการศึกษาวิจัย และการจัดทำเกณฑ์/มาตรฐาน/หลักสูตร/คู่มือ” 0.25 C2 (W2 x C2) “กระบวนการถ่ายทอดองค์ความรู้” 0.15 C3 (W3 x C3)
ตัวชี้วัดที่ 14.2 ร้อยละความสำเร็จในการให้ความร่วมมือดำเนินการตามแผนพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่า/กระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย (ต่อ) ประเด็นการประเมินผล (i) นน. (Wi) เกณฑ์การให้คะแนน เทียบกับร้อยละของ ผลสำเร็จตามเป้าหมาย คะแนน ที่ได้ (Ci) Wi x Ci 20 40 60 80 100 กระบวนการสนับสนุน ร้อยละของบุคลากรผู้ปฏิบัติงานในกระบวนการสนับสนุนได้รับการถ่ายทอดให้ปฏิบัติงานตาม SOP ของกระบวนการสนับสนุน(จำนวน 2 กระบวนการ) ที่ได้จัดทำ SOP ในปี งปม.51 หลักฐานที่ 40 0.10 65 70 75 C1 (W1 x C1) ร้อยละของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลาที่กำหนดของกระบวนการสนับสนุน “กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง” 0.25 C2 (W2 x C2) “กระบวนการพัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศ” 0.15 C3 (W3 x C3) รวม 1.00
ภายนอก ภายใน กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหมวด 7 PMQA ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2552 Financial Perspective ประสิทธิผล (ผลลัพธ์) กระทรวง กลุ่มภารกิจและกรมสามารถปฏิบัติราชการได้บรรลุตามเป้าหมายยุทธศาสตร์ กระทรวงดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการ ที่มีเป้าหมายร่วมกันระหว่างกระทรวง RM1 ภายนอก Customer Perspective คุณภาพการให้บริการ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความ พึงพอใจ/ไม่พึงพอใจต่อการให้บริการของส่วนราชการ RM2 Internal Work Process Perspective ประสิทธิภาพ RM5 การเบิกจ่าย งบลงทุนที่มี ประสิทธิภาพ การใช้ พลังงานมี ประสิทธิภาพ มีระบบการบริหาร ความเสี่ยง RM6 กระบวนงานสร้างคุณค่า และ กระบวนงานสนับสนุน ที่ได้ดำเนินการ ตามมาตรฐาน SOP (2 ตัว) RM3 ภายใน RM4 Learning and Growth Perspective การพัฒนาองค์กร บุคลากรได้รับ การพัฒนาขีดสมรรถนะ ตามแผนพัฒนาบุคลากร ระบบฐานข้อมูลสนับสนุน ยุทธศาสตร์ ที่ครอบคลุม ถูกต้องและทันสมัย RM9 RM7 การจัดการ ความรู้(KM) ระบบการกำกับ ดูแลองค์กรที่ดี RM10 RM8 Strategy Map /Balanced Scorecard หมายเหตุ : ตัวชี้วัดหมวด 7 (อาจเป็น Tailor made) โดยการเจรจา ข้อตกลง กับกระทรวง : ตัวชี้วัด ภาคบังคับ 22 กพร. กรมอนามัย
เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยของผลสำเร็จตามเป้าหมาย ตัวชี้วัดที่ 14.3 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของการดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (ที่นอกเหนือจาก 14.1 และ 14.2) ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด นน. (Wi) เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยของผลสำเร็จตามเป้าหมาย คะแนน ที่ได้ (Ci) Wi x Ci 20 40 60 80 100 14.3.1 ร้อยละของบุคลากรที่รับทราบและเข้าใจวิสัยทัศน์ วัฒนธรรมองค์การ เป้าประสงค์ระยะสั้น ระยะยาว ผลการดำเนินงานที่คาดหวังไว้ และนโยบายที่สำคัญของกรมอนามัย(หมวด 1 และระบบสื่อสารภายในองค์การ) 0.15 65 70 75 C1 (W1 x C1) 14.3.2 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล(หมวด 2) ขั้น ตอน ที่ 1 ขั้น ตอน ที่ 2 ตอน ที่ 3 ตอน ที่ 4 ตอน ที่ 5 C2 (W2 x C2) 14.3.3 ร้อยละของการมีส่วนร่วมในการจัดทำข้อมูลกระบวนการสร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุนตามแบบฟอร์มที่กำหนดได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ภายในระยะเวลาที่กำหนด(หมวด 4) 85 90 95 C3 (W3 x C3)
เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยของผลสำเร็จตามเป้าหมาย ตัวชี้วัดที่ 14.3 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของการดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (ต่อ) ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด นน. (Wi) เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยของผลสำเร็จตามเป้าหมาย คะแนน ที่ได้ (Ci) Wi x Ci 20 40 60 80 100 14.3.4 ระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ของหน่วยงาน(หมวด 4) 0.15 ขั้น ตอน ที่ 1 ตอน ที่ 2 ตอน ที่ 3 ตอน ที่ 4 ตอน ที่ 5 C4 (W4 x C4) 14.3.5 ร้อยละของบุคลากรได้รับการพัฒนาขีดสมรรถนะตามแผนพัฒนาขีดสมรรถนะบุคลากรของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 (หมวด 5) 65 70 75 85 C5 (W5 x C5) 14.4.6 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงของหน่วยงานในด้าน การจัดทำระบบควบคุมภายในของหน่วยงาน C6 (W6 x C6) คะแนนรวม 1.00
แนวนโยบายการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย ประจำปี 2552
การเรียนรู้ความคาดหวังของ C/SH (หน่วยงานภาครัฐ) 1 การเรียนรู้ความคาดหวังของ C/SH (หน่วยงานภาครัฐ) ความคาดหวังให้กรมอนามัยเป็นองค์กรหลักในด้านใด การผลิตองค์ความรู้ การถ่ายทอดองค์ความรู้ การพัฒนาและผลักดันนโยบายและกฎหมาย ความพึงพอใจต่ำสุด จำนวนสื่อที่สนับสนุนไม่เพียงพอ / ไม่ทันกาล การบริการของ จนท.ไม่ประทับใจ ไม่มั่นใจต่อความ สามารถของ จนท.กรม ความพึงพอใจสูงสุด องค์ความรู้ / เทคโนโลยี ในการแก้ไขปัญหาดี การถ่ายทอด พัฒนาเครือข่าย ประชาชน รูปแบบ/เนื้อหาสื่อที่ผลิตมีความเหมาะสม นโยบายของกรมอนามัยเป็นที่ยอมรับของภาคีเครือข่าย
ศูนย์การพัฒนา ขีดความสามารถของเครือข่ายและประชาชน วิสัยทัศน์กรมอนามัย “เป็น องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี” องค์กรหลัก ศูนย์การพัฒนา ขีดความสามารถของเครือข่ายและประชาชน 4 เป็นผู้แทน / ศูนย์ความร่วมมือระหว่างประเทศ 5 1 3 เป็นศูนย์ องค์ความรู้ / Technology /นวัตกรรม เป็นแกนหลัก ในการพัฒนาความเข้มแข็งของระบบงาน เป็นหลักในการสร้าง/ผลักดันนโยบายและกฎหมาย 2
กรมอนามัยจะยังคง Vision/Mission /Share value เดิม ? 1 กรมอนามัยจะยังคง Vision/Mission /Share value เดิม ? วิสัยทัศน์ “เป็น องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี” พันธกิจ 2) ถ่ายทอดและผลักดัน/สนับ สนุน(Transfer technology & Facilitator) ให้เครือข่ายสามารถจัดการ สวล.& ส่งเสริมสุขภาพได้ ตามหลักวิชาการมาตรฐานและกฎหมาย 1) ผลิต พัฒนาองค์ความรู้ นวัตกรรม (Innovation and Technical Development) ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนไทย 3) พัฒนา ผลักดัน และสนับสนุนให้เกิดนโยบาย และ กฎหมายที่จำเป็น (Policy and Regulation Advocacy) 4) พัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้เข้มแข็ง (System Capacity Building) วัฒนธรรมองค์กรกรมอนามัย จรรยาข้าราชการกรมอนามัย H E A L T H กพร. กรมอนามัย
โจทย์ที่กรมอนามัยต้องดำเนินการ 1) ต้องบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์กรมอนามัย ปัญหา คือ ยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบ(มิติ 2-4) ไม่ได้มีความสัมพันธ์กับเป้าหมายยุทธศาสตร์ที่ต้องการให้บรรลุ รวมทั้ง PMQA ก็ไม่สามารถรองรับยุทธศาสตร์ได้ 2) ต้องดำเนินการตามเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการของ ก.พ.ร. ตาม “คำรับรอง” KPI 12 3) ต้องพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐให้ได้ตาม เกณฑ์ PMQA กพร. กรมอนามัย
ปัญหารูปธรรมในด้านเนื้องาน เมื่อปรากฏว่า ผลงานด้าน VIA ไม่บรรลุผล เราไม่สามารถวิเคราะห์หาสาเหตุในเชิงระบบได้ และไม่รู้ว่ามีปัญหาเรื่องศักยภาพบุคลากรหรือ เป็นเรื่องระบบการสนับสนุน กรณีเรื่อง โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ มีผู้รับผิด ชอบน้อย และ ไม่ทราบว่ามีระบบงานรองรับอย่างไร กรณีเรื่อง เมืองน่าอยู่ มีปัญหาด้านระบบฐานข้อมูลรองรับที่ไม่ชัดเจน ตัวชี้วัดส่วนใหญ่ มุ่งที่ผลลัพธ์ (ซึ่งไม่ผิด) แต่ยังขาดการกำหนดตัวชี้วัดเชิงกระบวนการ (อย่างที่ อ. อมรฯ เสนอแนะ) กพร. กรมอนามัย
ปัญหาอุปสรรคของการดำเนินการ การพัฒนาระบบ PMQA กรมอนามัย มีปัญหา เรื่อง 1.1 การเชื่อมโยงการปฏิบัติงานประจำ กับ การพัฒนา PMQA ยังไม่เป็นเนื้อเดียวกัน 1.2 การดำเนินการแต่ละคณะหมวด ขาดการเชื่อมโยง และบูรณาการระหว่างหมวดเรื่อง ทำให้เกิดความ ซ้ำซ้อนในการจัดประชุมของแต่ละหมวด 1.3 บทบาทของผู้บริหารขององค์การมีส่วนรวมในการ ดำเนินการน้อย 1.4 การขับเคลื่อน PMQA แบบทั่วทั้งองค์กรในทุก หน่วยงานย่อย เป็นภาระหนักมาก โดยเฉพาะ หน่วยงานเล็ก 2. การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ ยังไม่นิ่ง และ ไม่สามารถเชื่อมโยงการพัฒนาองค์กร(PMQA) ให้ตอบสนองกับเป้าหมายยุทธศาสตร์อย่างเป็นรูปธรรม กพร. กรมอนามัย
3) ต้องพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐให้ได้ตาม เกณฑ์ PMQA 1) ต้องบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์กรมอนามัย แนวคิดใหม่ที่ กรมอนามัยจะตอบโจทย์ 2) ต้องดำเนินการตามเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการของ ก.พ.ร. ตาม “คำรับรอง” 3) ต้องพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐให้ได้ตาม เกณฑ์ PMQA หมวด 7 กพร. กรมอนามัย
กลไกการพัฒนาระบบ PMQA ปี 2552 1 กลไกการพัฒนาระบบ PMQA ปี 2552 ปรับกลไกคณะกรรมการ PMQA ให้มีความเป็นเอกภาพในการขับเคลื่อน และเชื่อมโยงทุกหมวด ดูแลทั้งคำรับรองฯ และ PMQA ปรับบทบาทของทีม Fast Track ให้เป็น Facilitator ให้กับหน่วยงานเจ้าภาพ หรือ Process Owner ในทุกเรื่อง ที่ประชุมกรม (คณะกก. กพร.) กรมอนามัย คำรับรอง พัฒนาPMQA คณะกรรมการอำนวยการ CCO/ผู้บริหารหน่วยเจ้าภาพ (กพร.เป็นเลขาฯ) หน่วยงานเจ้าภาพ หน่วยงานเจ้าภาพ/ Process Owner Auditor Mentor คณะกก.สนับสนุน PMQA (24 คน) Facilitator หน่วยงานย่อย คณะ กก. (ตามจำเป็น) ทีม PMQA (CA)หน่วย งานย่อย หน่วยงานย่อย คณะ กก. หมวด 1 2 3 4.1 6 4.2 5 7 กพร. กรมอนามัย
การกำหนดหน่วยงานเจ้าภาพ สำนัก ว. (กอง สอ./ศกม./ศูนย์ Lab) 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ หน่วยงานเจ้าภาพ 1 การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก สำนัก ส. (กอง อพ./ท./ภ.) 2 การลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น กอง อพ. (กอง ท./กอง ภ./สำนัก ส.) 3 การแก้ไขปัญหาโรคอ้วนในคนไทย กอง ภ.(หลัก)/กอง อ. 4 การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สำนัก ส. (กอง ท. / ภ./อ.) 5 การพัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ สำนัก ว. (กอง สอ./ศกม./ศูนย์ Lab) 6 ส่งเสริมการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กอง สช. (ศกม./ศูนย์ Lab)
การกำหนดหน่วยงานเจ้าภาพ 2 หมวด ระบบงานบริหารงาน (กรม) หน่วยงานเจ้าภาพ 1 กพร. สลก.(การสื่อสาร) กตส.(Internal Audit) 2 กองแผนงาน 3 สลก.ร่วมกับ กพร. 4 สนง.สนับสนุน KM 5 กองการเจ้าหน้าที่ 6 สำนัก ส./สำนัก ว. และ กองคลัง ระบบกำกับดูแลองค์การที่ดี ระบบตรวจสอบภายใน การสื่อสาร สู่บุคลากร ระบบแผนงาน และถ่ายทอด ระบบ RM ระบบการเรียนรู้ความต้องการของ C/SH ระบบการสร้างคววมสัมพันธ์ C/SH ระบบข้อมูลสารสนเทศ ระบบ KM ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล (HRM) ระบบสร้างความพึงพอใจ/ความผาสุก ระบบการพัฒนากระบวนงานสร้างคุณค่า/สนับสนุน
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ และการถ่ายทอด การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี(GG) อธิบดีให้แนวคิดการบูรณาการ โดยใช้ Matrix ระหว่าง PMQA กับประเด็นยุทธศาสตร์ หมวด 6 (กระบวนงาน) หมวด 5 (HRM) หมวด 4 (ระบบข้อมูล,KM) หมวด 3 (ให้ความสำคัญ C/SH) หมวด 2 (จัดทำแผน/ถ่ายทอด) หมวด 1 (การนำองค์กร) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 มิติที่ 1 ประสิทธิผล มิติที่ 2 คุณภาพบริการ มิติที่ 3 ประสิทฺภาพ มิติที่ 4 พัฒนาองค์กร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ และการถ่ายทอด ผลลัพธ์หมวด 7 การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี(GG) การป้องกันปราบปรามทุจริต การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ระบบตรวจสอบภายใน ระบบควบคุมภายใน การเบิกจ่ายงบลงทุน ระบบต้นทุนต่อหน่วยฯ การประหยัดพลังงาน
บทบาทของเจ้าภาพประเด็นยุทธศาสตร์/ระบบงาน 3 เจ้าภาพประเด็นยุทธศาสตร์ หน่วยงานเจ้าภาพระบบงาน 1.กำหนดเป้าหมายยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับนโยบายกระทรวง/กรม 1.กำหนดเป้าหมายการพัฒนาระบบที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์กรม อ./เกณฑ์ PMQA สนับสนุน 2.วางกลไกการพัฒนาระบบ 2.จัดทำ SM/SLM กรม 4.แผนRM/ ผลกระทบ(-) 3.กำหนดบทบาท 3.จัดทำSM/SLM หน่วยงาน 3.1 หน่วยงาน เจ้าภาพเอง 3.2 หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง 5.กบง.หลัก 6.ระบบงาน 4.แผนปฏิบัติ & สนับสนุน 7.IS 8.HRD 9.CRM 5.แผนการประเมินผล(A3) 10.แผนKM กพร. กรมอนามัย
แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาตำบลโพนแพงเข้มแข็ง สู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุข แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาตำบลโพนแพงเข้มแข็ง สู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุข ภายในปี พ.ศ. 2553 17/5/50 จัดทำแผน งานโครงการของชุมชน จัดเวทีประชาคม จัดทำโครงการเสนองบประมาณ ติดตามผลการดำเนินกิจกรรม รณรงค์ให้ชุมชนห่าง ไกลยาเสพติด ฝึกอบรมเพื่อปลูกจิตสำนึกแก่ชุมชน จัดกิจกรรมรณรงค์ สร้างขวัญและกำลังใจ ส่งเสริม/อนุรักษ์ให้เห็นความสำคัญของวัฒนธรรมภายในชุมชน จัดกิจกรรมตามจารีตประเพณี(ฮีต 12 ครอง 14) จัดทำหลักสูตรภูมิปัญญาท้องถิ่น ค้นหาคนดี ศรีโพนแพง สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรฯของชุมชน และภาคีพัฒนา จัดเวทีเพื่อสร้างความเข้าใจ แกนนำระดับตำบล ประชาสัมพันธ์ ร่วมกันพัฒนาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ส่งเสริม/สนับ สนุน ดำเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง จัดทำบัญชีครัวเรือน ส่งเสริมอาชีพในครัวเรือน ลดต้นทุนด้านการผลิต ส่งเสริมให้การ ศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพ สำรวจผฝุ้ไม่จบการศึกษาภาคบังคับ วางแผนร่วมกัน ติดตามประเมินผล ประชาชน ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจระหว่าง รร.และชุมชน จัดประชุมสร้างความเข้าใจบท-บาทและหน้าที่ของ รร.และชุมชน จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ในวันสำคัญ ส่งเสริม และพัฒนาด้านกีฬา จัดอบรมบุคลากรด้านกีฬา ประชาสัมพันธ์เรื่องกีฬา พัฒนาศักยภาพของอสม. จัดฝึกอบรมให้ความรู้ด้านสาธารณสุข จัดหาวัสดุอุปกรณ์เวชภัณฑ์ยาเพื่อให้การบริการ จัดงานวัน อสม.ของโพนแพง สร้างเวทีพบปะหน่วยงานสนับสนุนงบประมาณ จัดเวทีหารือร่วมกัน นำเสนอแผนงาน/โครงการ เชิญหน่วยงานภาคีลงพื้นที่ ภาคี สร้างเชื่อมร้อยเครือข่ายของกลุ่มอาชีพต่างๆ สร้างเครือข่ายกลุ่มอาชีพต่างๆในชุมชน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่มต่างๆ สร้าง/ส่งเสริม ผู้ฝึกสอน ตามความสนใจ/ต้องการของแต่ละกลุ่ม สำรวจความต้องการ/ความสนใจของชุมชน จัดกลุ่มตามความต้องการ/ความสนใจ จัดทำแผน ดำเนินการฝึกอบรมความต้องการและสนใจของกลุ่ม สร้างเวทีแสดงความสามารถของชุมชน สำรวจและรวบรวมข้อมูลความสามารถของ ปชช. จัดเวทีประชาคม จัดทำแผนฯ จัดกิจกรรม ส่งเสริม/สร้าง ความตระหนักให้กับปชช.เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ สำรวจ และจัดเก็บข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ รณรงค์เรื่องพฤติกรรมสุขภาพที่ได้จากข้อมูลการสำรวจ ติดตาม+ประเมินผล ส่งเสริม/สร้าง /จัดตั้งสหกรณ์การเกษตร/กลุ่มอาชีพ สำรรวจกลุ่มอาชีพต่างๆ แต่งตั้งคณะกรรมการกลุ่ม จัดทำแผนบูรณาการกลุ่ม สร้าง/สนับสนุนระบบติดตามประเมินผล และสามารถตรวจสอบได้ ตั้งคณะกรรมการ ศึกษาดูงานตัวอย่างดีๆ บูรณาการการบริหารจัดการแต่ละองค์กร กระบวนการ จัดตั้งและพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ชุมชนในหมู่บ้าน พัฒนา ศสมช.เป็นศูนย์การเรียนรู้ชุมชนตามความต้องการของชุมชน จัดผู้เชี่ยวชาญเป็นวิทยากรศูนย์ จัดหาอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการเรียนรู้ของชุมชน จัดหาสถานที่เหมาะสมจัดตั้งศูนย์ จัดหา/ส่งเสริมเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับชุมชน สำรวจข้อมูลด้านเทคโนโลยี แยกแยะ คัดกรอง พัฒนา ปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ จัดหาให้เพียงพอกับความต้องการของชุมชน ส่งเสริม อสม ให้มีบทบาทการมีส่วนร่วมในชุมชน อบรมความรู้ ความสามารถของ อสม. จัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ จัดหางบประมาณ วัสดุอุปกรณ์การทำงาน ประเมินขีดความสามารถ อสม. ส่งเสริมการเรียนรู้ จัดการอบรม ศึกษาดูงาน จัดเวที/ตลาดนัดการเรียนรู้ของชุมชน พื้นฐาน ตัวอย่าง
แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาตำบลโพนแพงเข้มแข็ง สู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุข แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาตำบลโพนแพงเข้มแข็ง สู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุข ภายในปี พ.ศ. 2553 17/5/50 นำมาจากผังจุดหมายปลายทาง(ผู้บริหารเห็นชอบและพิจารณาแล้วว่าอยู่ในวิสัยที่จะเป็นไป)... เราต้องทำอะไร ?(ยุทธศาสตร์) จัดทำแผนงานโครงการของชุมชน จัดเวทีประชาคม จัดทำโครงการเสนองบประมาณ ติดตามผลการดำเนินกิจกรรม รณรงค์ให้ชุมชนห่างไกลยาเสพติด ฝึกอบรมเพื่อปลูกจิตสำนึกแก่ชุมชน จัดกิจกรรมรณรงค์ สร้างขวัญและกำลังใจ ส่งเสริม/อนุรักษ์ให้เห็นความสำคัญของวัฒนธรรมภายในชุมชน จัดกิจกรรมตามจารีตประเพณี(ฮีต 12 ครอง 14) จัดทำหลักสูตรภูมิปัญญาท้องถิ่น ค้นหาคนดี ศรีโพนแพง สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรฯของชุมชน และภาคีพัฒนา จัดเวทีเพื่อสร้างความเข้าใจ แกนนำระดับตำบล ประชาสัมพันธ์ ร่วมกันพัฒนาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ กำหนดกลยุทธ์(3-5 กลยุทธ์ต่อ 1 เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์) “เราต้องทำอย่างไร?”ซึ่งเป็นแนวทางหลักๆ ที่จะให้ได้ตามเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์“ไม่ใช่นำกิจกรรม มาใช้เป็นกลยุทธ์” นิยมใช้คำว่า - พัฒนา, เพิ่ม - ส่งเสริม, สนับสนุน - สร้าง,สร้างเสริม ส่งเสริม/สนับสนุน ดำเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง จัดทำบัญชีครัวเรือน ส่งเสริมอาชีพในครัวเรือน ลดต้นทุนด้านการผลิต ส่งเสริมให้การศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพ สำรวจผฝุ้ไม่จบการศึกษาภาคบังคับ วางแผนร่วมกัน ติดตามประเมินผล ประชาชน สร้างเวทีพบปะหน่วยงานสนับสนุนงบประมาณ จัดเวทีหารือร่วมกัน นำเสนอแผนงาน/โครงการ เชิญหน่วยงานภาคีลงพื้นที่ ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจระหว่าง รร.และชุมชน จัดประชุมสร้างความเข้าใจบทบาทและหน้าที่ของ รร.และชุมชน จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ในวันสำคัญ ส่งเสริม และพัฒนาด้านกีฬา จัดอบรมบุคลากรด้านกีฬา ประชาสัมพันธ์เรื่องกีฬา พัฒนาศักยภาพของอสม. จัดฝึกอบรมให้ความรู้ด้านสาธารณสุข จัดหาวัสดุอุปกรณ์เวชภัณฑ์ยาเพื่อให้การบริการ จัดงานวัน อสม.ของโพนแพง ภาคี สร้างเชื่อมร้อยเครือข่ายของกลุ่มอาชีพต่างๆ สร้างเครือข่ายกลุ่มอาชีพต่างๆในชุมชน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่มต่างๆ สร้าง/ส่งเสริม ผู้ฝึกสอน ตามความสนใจ/ต้องการของแต่ละกลุ่ม สำรวจความต้องการ/ความสนใจของชุมชน จัดกลุ่มตามความต้องการ/ความสนใจ จัดทำแผน ดำเนินการฝึกอบรมความต้องการและสนใจของกลุ่ม สร้างเวทีแสดงความสามารถของชุมชน สำรวจและรวบรวมข้อมูลความสามารถของ ปชช. จัดเวทีประชาคม จัดทำแผนฯ จัดกิจกรรม ส่งเสริม/สร้าง ความตระหนักให้กับปชช.เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ สำรวจ และจัดเก็บข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ รณรงค์เรื่องพฤติกรรมสุขภาพที่ได้จากข้อมูลการสำรวจ ติดตาม+ประเมินผล ส่งเสริม/สร้าง /จัดตั้งสหกรณ์การเกษตร/กลุ่มอาชีพ สำรรวจกลุ่มอาชีพต่างๆ แต่งตั้งคณะกรรมการกลุ่ม จัดทำแผนบูรณาการกลุ่ม สร้าง/สนับสนุนระบบติดตามประเมินผล และสามารถตรวจสอบได้ ตั้งคณะกรรมการ ศึกษาดูงานตัวอย่างดีๆ บูรณาการการบริหารจัดการแต่ละองค์กร กระบวนการ จัดหา/ส่งเสริมเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับชุมชน สำรวจข้อมูลด้านเทคโนโลยี แยกแยะ คัดกรอง พัฒนา ปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ จัดหาให้เพียงพอกับความต้องการของชุมชน จัดตั้งและพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ชุมชนในหมู่บ้าน พัฒนา ศสมช.เป็นศูนย์การเรียนรู้ชุมชนตามความต้องการของชุมชน จัดผู้เชี่ยวชาญเป็นวิทยากรศูนย์ จัดหาอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการเรียนรู้ของชุมชน จัดหาสถานที่เหมาะสมจัดตั้งศูนย์ ส่งเสริมการเรียนรู้ จัดการอบรม ศึกษาดูงาน จัดเวที/ตลาดนัดการเรียนรู้ของชุมชน ส่งเสริม อสม ให้มีบทบาทการมีส่วนร่วมในชุมชน อบรมความรู้ ความสามารถของ อสม. จัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ จัดหางบประมาณ วัสดุอุปกรณ์การทำงาน ประเมินขีดความสามารถ อสม. พื้นฐาน ตัวอย่าง
แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาคุณภาพบริการสุขภาพชุมชน ฅนเดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี ภายในปี 2550 (ระยะ 1 ปี) 12. พัฒนาความพึงพอใจในบริการสุขภาพ ประชาชน ตัวอย่าง 10.สร้างและพัฒนาแกนนำระดับชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 11.ชุมชนสามารถพึ่งตนเองในการดูแลสุขภาพได้ 8.อปท.และองค์กรในชุมชน มีส่วนร่วมสนับสนุนทรัพยากรและดำเนินงานด้านสุขภาพ 9.โรงเรียนและวัดมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพ ภาคี 7. องค์กรภาครัฐและเอกชน สนับสนุนและเข้าร่วม ดำเนินงานกิจกรรมด้านสุขภาพ 6. พัฒนาระบบประสานงานและการสื่อสารที่ ดีทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน กระบวนการ 4. พัฒนาระบบนิทศ ติดตามและประเมินผลที่ดี 5. สร้างระบบการประสาน แผนระหว่างองค์กร 2. พัฒนาสถานบริการสาธารณสุขของรัฐให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน(HA/HPP/PCU) ทุกแห่ง 3.สร้างศูนย์การดูแลผู้ป่วย โรคเรื้อรัง พื้นฐาน 1.การพัฒนาฐานข้อมูล ด้านสุขภาพ (8 ตุลาคม 2549) 40
เป้าหมายยุทธศาสตร์ กับ PMQA และระบบงานประจำ ใน “คำรับรอง” ประเด็นยุทธศาสตร์ 6 เรื่อง คำรับรองฯ 12 KPIs KPI 1-3 -เป้าหมายยุทธ์ (3 ระดับ) KPI 4 -ความพึงพอใจ KPI 5-6 -ป้องกันทุจริต -เปิดเผย KPI 8-11 -เบิกจ่าย –In. Audit –ต้นทุน –ประหยัด KPI 12 -พัฒนา กม. KPI 14 - PMQA ระบบ งานประจำ หมวด 7 (RM1-10) หมวด 1 (การนำองค์กร) หมวด 2 (แผน/ถ่ายทอด) หมวด 3 (ให้ความสำคัญ C/SH) หมวด 4 (ระบบข้อมูล,KM) หมวด 5 (HRM) หมวด 6 (กระบวนงาน) LD1-7 SP1-7 CS1-10 PMQA IT 1-7 HR1-5 เกณฑ์ 52 ประเด็น PM1-6
ความคาดหวัง ให้เจ้าภาพระบบงานวิเคราะห์ระบบงานตาม FL แล้วบูรณาการให้เป็นระบบงานกลาง พร้อมกำหนดหลักเกณฑ์ ให้หน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์/หน่วยย่อยไปประยุกต์ใช้ตามภารกิจหน้าที่ โดย คกก.สนับสนุน PMQA จะเป็น Fa ตามการร้องขอ คณะ กก. อนก.PMQA หน่วยงานเจ้าภาพ ประเด็นยุทธ์ หน่วยงานเจ้าภาพระบบงาน SM/SLM 6 แผ่น ที่ใช้แนวคิด PMQA วิเคราะห์ระบบงานตามเกณฑ์ FL 1 2 3 4 5 6 คำรับรองฯ กรม (SLM กรมที่บูรณาการกับระบบงาน) วางระบบงานแบบบูรณาการ ชี้แจง กระบวนการ&เกณฑ์คุณภาพ ของระบบงาน คำรับรองหน่วยงาน SLM(สำนัก/กอง/ศอ.) ระบบ แผนงาน ร่วมจัดทำ ทีมสนับสนุน PMQA ดำเนินงานตามคำรับรองฯ อย่างมีคุณภาพตามเกณฑ์ ติดตาม/สนับ สนุน/ประเมินผล KPI มิติ 1(เป้าหมายยุทธฯ) KPI มิติ4 (PMQA) KPI มิติ2-3 (กพร./GG) ติดตามกำกับ/รายงาน /ประเมินผล
ระบบงานตาม Fundamental Level กำหนด C/SH & ช่องทางสื่อสาร มีระบบรับข้อร้องเรียนและจัดการ ปรับปรุงบริการ &ประกาศStd/คู่มือ การเปิดระบบราชการให้ ปชช.มีส่วนร่วม ประเมินความพึงพอใจ/ไม่พอใจ สร้างระบบความสัมพันธ์ (CRM) กำหนดวิธีการติดตามคุณภาพการให้บริการ การเรียนรู้ความต้องการ ของ C/SH และการสร้างความสัมพันธ์ 3 CS 1-10 6 การพัฒนากบง.สร้างคุณค่า/สนับสนุน PM1-6 1 การบริหารทรัพยากรบุคคล (HRM) 5 กำหนด กบง.สร้างคุณค่า/สนับสนุน จัดทำข้อกำหนดที่สำคัญ/ออกแบบ จัดทำ SOP กบง. สื่อสารและนำไปสู่การปฏิบัติ/ปรับปรุง (PDCA) มีระบบรองรับภาวะฉุกเฉิน 2 การนำองค์กร&กำกับดูแลองค์การที่ดี การวางแผนงาน และถ่ายทอด SP 1-7 HR1-5 LD 1-7 จัดทำแผนยุทธศาสตร์(ที่มีข้อมูลนำเข้าครบ) กำหนดเป้าหมายกลยุทธ์ จัดทำแผนบริหารความเสี่ยง 4 ด้าน(กลยุทธ์/ IT/GG /กบง.) การสื่อสารสู่บุคลากร การ Cascading สู่หน่วย งานย่อยเป็นคำรับรองฯ การถ่ายทอดสู่บุคคล การติดตาม/ประเมินผล การทบทวนและนำผลการทบทวนปรับปรุงงาน จัดทำแผนพัฒนาบุคคลตามยุทธศาสตร์ การประเมินประสิทธิภาพการพัฒนาเพื่อปรับปรุง การพัฒนาระบบการประเมินผลบุคคล แผนการสร้างความก้าว หน้า Career Path การสำรวจปัจจัยและปรับปรุงด้านความผาสุกและการสร้างแรงจูงใจ กำหนดวิสัยทัศน์/พันธกิจ/เป้าประสงค์ มีนโยบายการกำกับดูแลแลองค์การที่ดี การมอบหมายอำนวจ การสร้างบรรยากาศ/แรงจูงใจ ติดตามกำกับและทบทวนเป้าหมาย การตรวจสอบภายในและระบบควบคุมภายใน ระบบข้อมูลรองรับแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการ/กระบวนงานหลัก/สนับสนุน/คำรับรองฯ ระบบสารสนเทศรองรับ C/SH และ บุคลากร ระบบ warning system เพื่อรับรู้ปัญหาที่ทันกาล มีการบริหารความเสี่ยงระบบข้อมูล ได้แผนยุทธศาสตร์ (4ปี) & แผนปฏิบัติการรายปี 4.1 ระบบ ฐานข้อมูล การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี(GG) IT 1-7 ระบบ KM 4.2
ภายนอก ภายใน กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหมวด 7 PMQA ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2552 Financial Perspective ประสิทธิผล (ผลลัพธ์) กระทรวง กลุ่มภารกิจและกรมสามารถปฏิบัติราชการได้บรรลุตามเป้าหมายยุทธศาสตร์ กระทรวงดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการ ที่มีเป้าหมายร่วมกันระหว่างกระทรวง RM1 ภายนอก Customer Perspective คุณภาพการให้บริการ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความ พึงพอใจ/ไม่พึงพอใจต่อการให้บริการของส่วนราชการ RM2 Internal Work Process Perspective ประสิทธิภาพ RM5 การเบิกจ่าย งบลงทุนที่มี ประสิทธิภาพ การใช้ พลังงานมี ประสิทธิภาพ มีระบบการบริหาร ความเสี่ยง RM6 กระบวนงานสร้างคุณค่า และ กระบวนงานสนับสนุน ที่ได้ดำเนินการ ตามมาตรฐาน SOP (2 ตัว) RM3 ภายใน RM4 Learning and Growth Perspective การพัฒนาองค์กร บุคลากรได้รับ การพัฒนาขีดสมรรถนะ ตามแผนพัฒนาบุคลากร ระบบฐานข้อมูลสนับสนุน ยุทธศาสตร์ ที่ครอบคลุม ถูกต้องและทันสมัย RM9 RM7 การจัดการ ความรู้(KM) ระบบการกำกับ ดูแลองค์กรที่ดี RM10 RM8 Strategy Map /Balanced Scorecard หมายเหตุ : ตัวชี้วัดหมวด 7 (อาจเป็น Tailor made) โดยการเจรจา ข้อตกลง กับกระทรวง : ตัวชี้วัด ภาคบังคับ 44 กพร. กรมอนามัย
ระบบงานที่รองรับเกณฑ์ PMQA (FL 52 ประเด็น) ระบบการนำองค์การ (กพร.) ระบบแผนงานและการติดตามประเมินผล (กอง ผ.) ระบบการเรียนรู้และสร้างความสัมพันธ์กับ C/SH (สลก.) ระบบข้อมูลสารสนเทศ(กอง ผ.) ระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล (กอง จ.) ระบบการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนงานสร้างคุณค่าและกระบวน งานสนับสนุน (สส./สว./กอง ค.) การสื่อสารภายในองค์การ (สลก.) ระบบการจัดการความรู้ขององค์การ (สทป./สนง.KM) Jigsaw
กระบวนการสื่อสาร สร้างความเข้าใจ กระบวนการสร้างบรรยากาศ/มอบหมาย ระบบการนำองค์การ หมวด 2 วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ ค่านิยม ผลการดำเนินการที่คาดหวัง กำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญ LD 1 กระบวนการกำหนด ทิศทางองค์การ หมวด 2 ระบบติดตามประเมินผล หมวด 4 LD 4 LD 1 ระบบสื่อสาร กระบวนการทบทวนผลการดำเนินงาน กระบวนการสื่อสาร สร้างความเข้าใจ Two ways communication หมวด 1 LD 5 LD 2 กระบวนการกำกับ ดูแลองค์การที่ดี กระบวนการสร้างบรรยากาศ/มอบหมาย ด้านรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม LD 2 มอบอำนาจ LD 7 หมวด 3 ด้านผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 6 LD 3 LD 6 ด้านองค์การ การเรียนรู้ขององค์การ สร้างแรงจูงใจ หมวด4.2 หมวด 5 ด้านผู้ปฏิบัติการ ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ระบบแผนงานและการติดตามประเมินผล
กระบวนการรอง 1.1 การจัดทำแผนภาพ (Flow Chart) การดำเนินงาน 1.2 การวิเคราะห์ทางยุทธศาสตร์(รวบรวมข้อมูล/วิเคราะห์) 1.3 การทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ ฯ 1.4 การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ 1.5 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ แผนบริหารทรัพยากร แผนบริหารความเสี่ยง 1.6 การจัดทำ MTEF 1.7 การจัดทำความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ 1.8 การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี / แผนปฏิบัติการประจำปี (ตามกรอบเวลา) 2.1 การกำหนดกลไกการสื่อสารและถ่ายทอดแผนปฏิบัติราชการ 2.2 การสื่อสารทำความเข้าใจแผน 4 ปี แผนประจำปี 2.3 การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ ของหน่วยงาน 2.4 การจัดทำคำรับรองปฏิบัติราชการ ของหน่วยงาน 2.5 การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีของหน่วยงาน 2.6 การจัดทำรายละเอียด แผนงานโครงการของหน่วยงาน 3.1 การกำหนดกลไกการติดตามประเมินผล 3.2 การจัดทำ/ทบทวนระบบรายงานผลการดำเนินงาน 3.3 การรายงานผล 3.4 การจัดเก็บข้อมูลผลการดำเนินงาน ตัววัดต่าง ๆ 4.1 การสร้างช่องทางเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.2 การทบทวนแผน/ผล 4.3 การจัดทำฐานข้อมูลความรู้การดำเนินงาน
(4.1) ระบบข้อมูลสารสนเทศ IT 1,2,3,4 4.3 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4.1 กระบวนงานพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ IT 5 4.2 กระบวนงานพัฒนาระบบเฝ้าระวังและเตือนภัยด้านวิชาการ/บริหารจัดการ 4.4 กระบวนงานบำรุงรักษาและบริหารความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 4.5 กระบวนงานการใช้ข้อมูลเพื่อการบริหารงาน 4.5 กระบวนงานประเมินผลระบบข้อมูลสารสนเทศ และการสื่อสาร
(4.2) ระบบการจัดการความรู้ การจัดทำแผนสนับสนุนการจัดการความรู้ของKM team การจัดทำแผน KM ที่รองรับประเด็นยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน การสร้างความรู้/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งExplicit /Tacit K ด้วยรูปแบบต่างๆ การจัดทำระบบคลังความรู้(ด้านElectronic) การประเมินผลการจัดการความรู้ขององค์การ
HR 3 การปรับปรุงระบบงาน HR 3 วางแผนและบริหารกำลังคน(ปริมาณและคุณภาพ) นโยบาย/แผนยุทธศาสตร์ด้านทรัพยากรบุคคล (หมวด 1+2) HR 3 แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลตามแนวทาง HR scorecard HR1 การสร้างความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากร บรรยากาศในการทำงาน+แรงจูงใจ(การยกย่องชมเชย(HR3)) HR 3 การปรับปรุงระบบงาน -การมอบอำนาจการตัดสินใจ -ความคล่องตัว -การมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารจัดการ HR 3 การสรรหา คัดเลือก และการรักษาบุคลากร ผลลัพธ์การดำเนินการ (หมวด 7) HR 3 การพัฒนาบุคลากร - การประกันคุณภาพการฝึกอบรม การประเมินประสิทธิผล และความคุ้มค่า (HR4) HR 2 การประเมินผลการปฏิบัติงาน HR 5 การสร้างความก้าวหน้า ในหน้าที่การงาน - บุคลากรทั่วไป - Talent/HIPPสายงานหลัก (HR3) - สืบทอดตำแหน่งบริหาร (HR3) HR 3 วางแผนและบริหารกำลังคน(ปริมาณและคุณภาพ) HR 3 – การจัดระบบฐานข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล - การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารทรัพยากรบุคคล การวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้ (หมวด 4)
(6) ระบบการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนงาน สร้างคุณค่า / สนับสนุน การกำหนด/ทบทวนข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสร้างคุณค่า/สนับสนุน PM2 การกำหนด/ทบทวนกระบวนการสร้างคุณค่า/สนับสนุน PM1 การออกแบบกระบวนการสร้างคุณค่า/สนับสนุน PM3 กระบวนการสร้างคุณค่าที่รองรับต่อภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉิน PM4 กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานSOP ของกระบวนการสร้างคุณค่า/สนับสนุน PM5 การนำSOPไปปฏิบัติการปรับปรุงกระบวนการ สร้างคุณค่า/กระบวนการสนับสนุน PM6
กระบวนการวิเคราะห์ประเด็นการสื่อสาร ระบบการสื่อสาร กระบวนการวิเคราะห์ประเด็นการสื่อสาร 1.1 ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อวิเคราะห์ระบบการสื่อสาร 1.2 สำรวจความต้องการประเด็นการสื่อสาร 1.3 สรุปผลสำรวจประเด็นการสื่อสาร 2. กระบวนการวางแผน และดำเนินการสื่อสารตามแผน 3. กระบวนการติดตามและประเมินผล Out Put = การรับรู้การสื่อสาร ระบบการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพทั่วทั้งองค์กร
(3) ระบบการเรียนรู้ความต้องการสร้างความสัมพันธ์กับ C/SH ระบบงานของกรมอนามัย (3) ระบบการเรียนรู้ความต้องการสร้างความสัมพันธ์กับ C/SH 7.1 กระบวนการวิเคราะห์ประเด็นการสื่อสาร 7.2 กระบวนการวางแผน / ดำเนินการสื่อสาร 7.3 กระบวนการติดตามและประเมินผล (7) ระบบการสื่อสารภายในฯ 1.1 กระบวนการกำหนด ทิศทางองค์การ LD 1 1.2 กระบวนการสื่อสาร สร้างความเข้าใจ 1.3 กระบวนการสร้างบรรยากาศ LD 2 1.4 กระบวนการกำกับดูแลองค์การที่ดี LD 5 1.5 กระบวนการทบทวนผลการดำเนินงาน LD 4 (1) ระบบการนำองค์การ CS1 3.1กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดกลุ่ม C/SH 3.2 กระบวนการรับฟังและ รวบรวมความเห็นของ C/SH 3.4 กระบวนการเปิดโอกาสให้ C/SH มีส่วนร่วม (5 ระดบ) CS2 CS6 3.3 กระบวนการจัดการข้อร้องเรียนของ C/SH 3.5 กระบวนการปรับปรุงคุณภาพบริการ CS4 CS2,3 CS5 กระบวนการกำหนด Std./วิธีการ/ระยะเวลาการให้บริการ (ประกาศ/คู่มือ/แผนภูมิการให้บริการ) 6.กระบวนการสร้างเครือข่าย/กิจกรรมสัมพันธ์ กับ C/SH CS9 2.2 กระบวนการสื่อสารและถ่ายทอดไปสู่ การปฏิบัติ 2.1.กระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติการ 4ปี / รายปี 2.3 กระบวนการ ติดตามประเมิน 2.4 กระบวนการ ทบทวนแผน / ผล (2) ระบบแผนงานและการติดตามประเมินผล SP 1, 2,3,6,7 SP 2,4 SP 4,5,6 SP 5,6 (4) ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.1 กระบวนงานพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ 4.5 กระบวนงานประเมินผลระบบข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร 4.4 กระบวนงานบำรุงรักษาและบริหารความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 4.3 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4.2 กระบวนงานพัฒนาระบบเฝ้าระวังและเตือนภัยด้านวิชาการ/บริหารจัดการ 4.5 กระบวนงานการใช้ข้อมูลเพื่อการบริหารงาน IT 1,2,3,4 IT 5 IT 6 8. กระบวนการติดตาม ประเมินผลการปรับปรุงคุณภาพบริการ CS10 9. กระบวนการวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของ C/SH CS7,8 การกำหนด/ทบทวนกระบวนการสร้างคุณค่า/สนับสนุน PM1 การกำหนด/ทบทวนข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสร้างคุณค่า/สนับสนุน PM2 การออกแบบกระบวนการสร้างคุณค่า/สนับสนุน PM3 กระบวนการสร้างคุณค่าที่รองรับต่อภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉิน PM4 กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานSOP ของกระบวนการสร้างคุณค่า/สนับสนุน PM5 การนำSOPไปปฏิบัติการปรับปรุงกระบวนการ สร้างคุณค่า/กระบวนการสนับสนุน PM6 (6) ระบบการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนงานสร้างคุณค่า / สนับสนุน HR 3 การวางแผนและบริหารทรัพยากรบุคคล HR1 การสร้างความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากร บรรยากาศในการทำงาน+แรงจูงใจ(การยกย่องชมเชย(HR3)) HR 3 การสรรหา คัดเลือก และการรักษาบุคลากร HR 5 การสร้างความก้าวหน้า ในหน้าที่การงาน - บุคลากรทั่วไป - Talent/HIPPสายงานหลัก - สืบทอดตำแหน่งบริหาร HR 3 การพัฒนาบุคลากร - การประกันคุณภาพการฝึกอบรม การประเมินประสิทธิผล และความคุ้มค่า (HR4) HR 3 การปรับปรุงระบบงาน -การมอบอำนาจการตัดสินใจ -ความคล่องตัว -การมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารจัดการ HR 3 – การจัดระบบฐานข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล - การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารทรัพยากรบุคคล HR 2 การประเมินผลการปฏิบัติงาน (5) ระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล การจัดทำแผนสนับสนุนการจัดการความรู้ของKM team การจัดทำแผน KM ที่รองรับประเด็นยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน การสร้างความรู้/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งExplicit /Tacit K ด้วยรูปแบบต่างๆ การจัดทำระบบคลังความรู้(ด้านElectronic) (8) ระบบการจัดการความรู้ การประเมินผลการจัดการความรู้ขององค์การ
รางวัล PMQA ภาพรวม กับ ภาพหน่วยงานย่อย PMQA(FL) กรมอนามัย ศูนย์อนามัย สำนัก/กอง
ประเด็นที่ระบบงานจะต้องเชื่อมโยงกับเจ้าภาพยุทธศาสตร์ หมวด /ระบบ ประเด็นเรื่อง บทบาท เจ้าภาพระบบงาน เจ้าภาพ ยุทธศาสตร์ หน่วยงานย่อย 1 1.1 การกำหนดนโยบาย และทิศทาง 4 ด้าน 11 เรื่อง 1.2 การติดตามกำกับ/ทบทวน จัดประชุมผู้บริหารเพื่อกำหนด และปฏิบัติตามนโยบาย หน่วยรับผิดชอบนโยบายรวบรวมประเมินผลนโยบายแต่ละด้านตามที่ได้รับมอบ หมาย ร่วมกำหนดและปฏิบัติตามนโยบาย รายงานผลการปฏิบัติส่งหน่วยรับผิดชอบนโยบาย 2 2.1 การจัดทำแผนยุทธ-ศาสตร์(4ปี) และ แผน ปฏิบัติการประจำปี 2.2 การติดตามกำกับและทบทวนผลงานและแผนงาน จัดเวทีทำแผนยุทธ์และร่วมจัดทำแผน พัฒนาระบบงานสนับสนุน รวบรวมเป็นแผนยุทธ์กรม และการDeploy สู่หน่วยย่อย วางระบบการราย- งาน(DOC)รองรับ วิเคราะห์ผลงานในภาพรวมตาม KPIsที่สำคัญเสนอผู้บริหาร เป็นหลักจัดทำแผนยุทธศาสตร์ที่ประ-สานPIRAB/PMQAครอบคลุม 4 มิติ วิเคราะห์ความเสี่ยง/ผล กระทบทางลบ ดำเนินการตามแผน กำหนด KPIsที่สำคัญ ติดตามผลและราย งานผลงาน (DOC) วิเคราะห์ผลงานเสนอผู้บริหาร ร่วมพิจารณาในการจัดทำแผนยุทธ์/ตามภารกิจ ดำเนินการตามแผนความเสี่ยง/ผลกระทบทางลบ รายงานผลงานสู่ DOC ร่วมวิเคราะห์ผลงานที่เกี่ยวข้อง
ประเด็นที่ระบบงานจะต้องเชื่อมโยงกับเจ้าภาพยุทธศาสตร์ หมวด /ระบบ ประเด็นเรื่อง บทบาท เจ้าภาพระบบงาน เจ้าภาพ ยุทธศาสตร์ หน่วยงานย่อย 3 3.1 ระบบการรับฟัง C/SH 3.2 ระบบการจัดการข้อร้อง เรียน 3.3 ระบบการเปิดโอกาสให้ ปชช. มีส่วนร่วม 5 ระดับ 3.4 การสร้างเครือข่าย&กิจกรรมสัมพันธ์ 3.5 การกำหนดบริการที่จะปรับปรุงและวัดความพึงพอใจ วางระบบ & จัดทำแบบสำรวจกลาง จัดช่องทางรับเรื่อง & แจ้งหน่วยที่เกี่ยวข้องจัดการ ประสาน/รวบรวมผลงาน จัดเวทีเพื่อกำหนดบริการและแบบประเมินความพึงพอใจ จัด Focus Gr.รายประเด็นยุทธ์ จัดการข้อร้องเรียนที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการสำรวจ (ศอ.1-12) จัดช่องทาง & จัด การข้อร้องเรียน 4.1 4.1.1 การพัฒนาระบบฐานข้อมูลกลางตามยุทธ์และพันธกิจ รวมทั้งระบบงาน 4.1.2 การพัฒนาระบบการเฝ้าระวัง/เตือนภัย/ความเสี่ยง จัดการระบบข้อมูล /พัฒนาระบบ IT&การใช้ประโยชน์ เป็นแกนดำเนินการพัฒนา ร่วมเสนอความต้องการ &ใช้ประ โยชน์ & รายงาน ร่วมพิจารณา & ดำเนินการตามเกณฑ์ ร่วมเสนอความต้องการ&ใช้ประ โยชน์ & รายงาน ทุกหน่วยวิเคราะห์เนื้องานที่จะเปิดโอกาสตามระดับที่เหมาะสม กำหนดกิจกรรมสัมพันธ์กับ C/SH ตามยุทธศาสตร์และพันธกิจ ร่วมพิจารณาบริการและจัด ทำแบบประเมิน ร่วมพิจารณาและดำเนินการสำรวจ
หมวด /ระบบ ประเด็นเรื่อง บทบาท เจ้าภาพ ระบบงาน เจ้าภาพ ยุทธศาสตร์ หน่วยงานย่อย 4.2 4.2.1 การจัดทำแผนจัดการความรู้และดำเนินการ 4.2.2 การจัดทำระบบคลังความรู้ จัดทำแผนสนับสนุน KMให้เจ้าภาพยุทธ์/หน่วยงานย่อย วางระบบ IT รองรับความรู้กลาง จัดทำแผน KM รองรับยุทธศาสตร์&ดำเนินการ(3เรื่อง) สร้างความรู้/สรุปบทเรียนส่งคลังความรู้กลาง จัดทำแผน KM ของหน่วยงานย่อย &ดำเนินการ 5 5.1 การวางแผนและบริหารกำลังคน 5.2 จัดทำแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล เป็นแกนจัดทำแผนบริหารกำลังคน - Role Profile - วิเคราะห์ปริมาณ/ คุณภาพ - การสรรหา/เกลี่ย กำลังคน - Career path เป็นแกนจัดทำแผน พัฒนาฯภาพรวม - รองรับยุทธ์/ภารกิจ - จัดทำกรอบการทำ IDP / HiPPS - พัฒนาเรื่องกลางๆ - Succession Plan - กรอบการประเมิน บุคคล ร่วมพิจารณาเกณฑ์ /เสนอความต้อง การ ร่วมเสนอความเห็น &ดำเนินการในฐานะ Line Manager พัฒนาในเรื่องวิชาการเฉพาะ จัดทำ Performance Managementและประเมิน ร่วมพิจารณาเกณฑ์ /เสนอความต้องการ ร่วมเสนอความ เห็น & ดำเนินการในฐานะLine Manager
ประเด็นที่ระบบงานจะต้องเชื่อมโยงกับเจ้าภาพยุทธศาสตร์ หมวด /ระบบ ประเด็นเรื่อง บทบาท เจ้าภาพระบบงาน เจ้าภาพ ยุทธศาสตร์ หน่วยงานย่อย 5 (ต่อ) 5.3 การสร้างความผาสุก/ความพึงพอใจของบุคลากร เป็นแกนวิเคราะห์ปัจจัยการสร้างความผาสุก & จัดทำแผน ประเมินผล/ดำเนิน การอย่างต่อเนื่อง ร่วมวิเคราะห์ และ ดำเนินการตามแผนในฐานะ Line manager 6 6.1 การกำหนดกระบวนงานที่จะปรับปรุงและพัฒนา 6.2 การปรับปรุงพัฒนากระบวนงาน เป็นแกนทำเกณฑ์ & จัดเวทีสนับสนุน & ร่วมจัดทำ SOP จัดเวทีประเมินผล/ลปรร. เพื่อพัฒนาปรับปรุง วิเคราะห์/กำหนดกระบวนหลัก/สนับ สนุน &จัดทำ SOP ปฏิบัติตาม SOP & ร่วมประเมินผล ร่วมวิเคราะห์/กำหนดกระบวนหลักสนับ สนุน &จัดทำ SOP ปฏิบัติตาม SOPร่วมประเมินผล 7 7.1 การสื่อสารภายในองค์การ วางระบบการสื่อสาร & ดำเนินการสื่อสารให้บุคลากรรับรู้ เสนอเรื่องที่จะสื่อสารภายใน ดำเนินการสื่อสารภายในหน่วยย่อย
เป้าหมายการพัฒนาระบบราชการ ของกรมอนามัย ?? 2 ปี ?? รางวัลคุณภาพแห่งชาติ(TQA) 650 คะแนน) ปี 54 ปี 53 รางวัล“คุณภาพแห่งชาติ” (TQC) (350 คะแนน) ปี 52 รางวัล PMQA “Success-ful Level” รางวัล PMQA “Fundamental Level” (52 ประเด็น)
การตั้งธงในการพัฒนาระบบ PMQA END 400 ข้อเสีย (ของเดิม) -ต้องอธิบายเกณฑ์ ใหม่ทุกปี -เกณฑ์เป็นแท่งๆ ไม่เชื่อมโยงกัน 300 รางวัล“คุณภาพแห่งชาติ” (TQC) (350 คะแนน) Mean เกณฑ์ PMQA /TQA (90 คำถาม) 200 Successful Level 100 Fundamental Level ข้อดี : (ของใหม่) -เห็นเป้าหมายระยะ ยาวชัดเจน -มีการพัฒนาเกณฑ์ อย่างต่อเนื่องในระยะ เวลาพอสมควร 48 52 53 54 เหมือนกัน/เรียนรู้มาแล้ว
นโยบายการขับเคลื่อน PMQA กำหนดให้ขับเคลื่อนทุกระบบงาน (ทุกหมวด) ในทุกประเด็นยุทธศาสตร์ ภายใต้เงื่อนไข กรมอนามัยปักธงการพัฒนา PMQA ตามเกณฑ์สากล TQC ระดับ 350 คะแนน “ร่วมทำเต็มที่ หวังผลได้ คะแนน เรียนรู้เป็นหลัก”
การขับเคลื่อน PMQA ร่วมกับ อ.ที่ปรึกษา 16,20 มีค. (2) กพร.จัดประชุมผู้บริหาร กำหนดนโยบาย (หมวด 1) พร้อมทบทวนลักษณะสำคัญองค์การ 20 เมย. (4) เตรียมข้อมูลตามที่ อ.ที่ปรึกษากำหนด - ด้าน C/SH (หมวด 3) - สถานการณ์ปัญหา/นโยบาย (หมวด 2/4) (3) จัดประชุมเตรียมความพร้อมของเจ้าภาพยุทธศาสตร์ในการจัดทำแผนปฏิบัติการปี 53 ที่สอดคล้องกับเกณฑ์คุณภาพ PMQA (อ.ที่ปรึกษา) (27 เมย.) (5)จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำแผน ปฏิบัติ ปี53การอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ได้ - แผนงานที่ครอบคลุม 4 มิติ (ทั้ง 6 หมวด 1 ระบบ) - เค้าโครงของคำรับรอง ปี 53 - การถ่ายทอดเป้าหมาย (6) ได้ SM / SLM ที่ยุทธศาสตร์และ PMQA เป็นเนื้อเดียวกัน หมวด 4.1 เชื่อมโยง หมวด 4.2 หมวด 5 หมวด 6 18/19 พค.-กค.52 หมวด 7
สวัสดี กพร. กรมอนามัย