ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
Advertisements

สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอหนองโดน
  การสนับสนุนการดำเนินงาน LTC ผ่าน "ศูนย์" ตามประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ.
สิริพินท์ ศิริโสภาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
สรุปผลการนิเทศ รอบที่ 1 คณะที่ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
SP Palliative เขต 3 พญ.กมลทิพย์ ประสพสุข.
ผู้เยี่ยมเสริมพลังลงพื้นที่เยี่ยมเสริมพลัง รพ.สต.ติดดาว
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาอุบัติเหตุ
นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ.
แผนบูรณาการ การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
หมวด ๔ : การจัดการระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ปี 2561 (ตาม ม.44)
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาล กองการพยาบาลสาธารณสุข
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
สรุปบทเรียน การขับเคลื่อนโครงการ
ตำบลจัดการสุขภาพ.
การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและทิศทางการดำเนินงานควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน โดย ทนุบูรณ์ กองจินดา.
แนวทางการจัดทำรายงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
ITA Integrity and Transparency Assessment
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
“ เผชิญความตายอย่างสงบ ”
นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ นโยบาย พรบ 08/04/62
รายงานการประเมินตนเอง
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
บทที่ 2 การดูแลความสะอาดสุขสบาย
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้
คณะที่ 3 : การบริหารทรัพยากรมนุษย์
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดสระแก้ว
บทบาทของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ในการสนับสนุนการจัดบริการอาชีวอนามัย
ชี้แจงตัวชี้วัด/โครงการNCD ปี 2561
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
แนวทางการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข รอบที่ 3 ประจำปี 2561
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
แนะนำหนังสือใหม่ สิงหาคม 2560
นโยบาย การป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 รอบที่ 2
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดสุรินทร์
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
ปัญหา อุปสรรคและแนวโน้มการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เชิงกลยุทธ์
ประชุมเครือข่าย COPD จังหวัดเชียงใหม่
การดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561
การใช้งานโปรแกรม Happinometer
หมวด 1 การนำองค์กร และการจัดการดี
ขอต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย กีรติหัตถยากร
การพัฒนาระบบบริการจังหวัดอำนาจเจริญ
ทิศทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
การพัฒนา รพ.สต.ตำบลคุณภาพ (ศูนย์เรียนรู้ด้าน IT)
อ.พรพนา ปัญญาสุข วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้ อยู่ระหว่างดำเนินการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หมวด ๒ การให้ความสำคัญสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา 2.4 บทบาทของภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วม มีการประชุม ให้ชุมชนมีส่วนร่วม โดยการจัดทำการทอดผ้าป่าครุภัณฑ์ทางการแพทย์ เพื่อเป็นคลังอุปกรณ์ให้กับรพ. สต. สำหรับผู้ป่วยติดเตียงหรือผู้พิการมาขอรับอุปกรณ์ มีการแจกซองผ้าป่าให้กับทุกบ้าน ประชาสัมพันธ์ให้คนมาร่วมบริจาค เพื่อให้คนในชุมชน สามารถมายืมอุปกรณ์กลับไปใช้ที่บ้านได้เช่นเตียงไม้เท้า เป็นต้น โดยมีประธานเป็นครูเกษียณอายุ

การทำงานกับชุมชน ภาคีเครือข่าย สุขภาพ

หมวด ๒ การให้ความสำคัญสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา 2.5 ความสัมพันธ์ความพึงพอใจของประชากรกลุ่มเป้าหมายชุมชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและการจัดการข้อร้องเรียน ผลการประเมินพึงพอใจอยู่ที่ร้อยละ 90 7.69 มีกล่องรับฟังความคิดเห็น มีการติดป้ายสิทธิผู้ป่วย ไม่มีเรื่องร้องเรียน จากการสอบถาม ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียพบว่าประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจ ในการให้บริการเช่น การมีแพทย์ออกตรวจทุกเดือน การอยู่เวรในวันธรรมดาและวันหยุด จนทำให้ ประชาชนจากพื้นที่อื่นเข้ามารับบริการ ในรพ. สต. เพิ่มมากขึ้น

หมวด ๓ การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา การจัดการอัตรากำลัง บุคลากรในระดับผู้ปฏิบัติมีความรู้ความสามารถบริหารจัดการดีทำให้งานดำเนินไปอย่างต่อเนื่องแม้จะมีภาระงานเพิ่มขึ้น บุคลากรอยากได้ผู้บริหารที่มีภาวะผู้นำที่ดีมีศักยภาพและสมรรถนะผู้บริหารครบถ้วนตามตำแหน่งทั้งนี้ผู้บริหารระดับสูงควรพิจารณาผู้ที่มีความเหมาะสม การสร้างความผาสุก -บุคลากรมีการประเมินความผาสุกโดยใช้โปรแกรมhappinometer ค่าเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ดีแม้จะมีภาระงานที่เพิ่มขึ้นแต่ก็ทำงานอย่างมีความสุข -มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ดีมาก ต้องการบุคลากรที่มีคุณภาพมาช่วยปฏิบัติงาน การพัฒนาระบบการเรียนรู้ของบุคลากร -มีการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่องพร้อมบันทึกการประชุม/อบรม -มีการพิจารณาเรื่องเงินเดือนที่โปร่งใสและเป็นธรรมโดยผ่านคณะกรรมการพิจารณา -ต้องจัดทำแผนพัฒนาและจัดสรรงบพัฒนาบุคลากรให้ชัดเจน -ขาดความเข้าใจในการจัดทำตัวชี้วัดรายบุคคลเพื่อใช้ในการเลื่อนขั้นเงินเดือน

หมวด ๓ การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา การเสริมพลังประชาชนและครอบครัว (Self Care) มีการจัดกิจกรรมถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพ3อ.2ส.ร่วมกับชุมชน บุคลากรทุกคนควรปฏิบัติตนตามหลัก3อ.2ส.เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ชุมชน

หมวด ๔ : การจัดการระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย เกณฑ์รพ.สต.ติดดาว ชื่นชม โอกาสพัฒนา - การจัดบริการตามสภาพปัญหา (ODOP/OTOP) -มีฐานข้อมูลผู้รับบริการที่ชัดเจน -มีการเก็บข้อมูลเป็นระบบ -มีขอบเขตการดูแลระบบการดูแลผู้ป่วยที่ดีเริ่มตั้งแต่กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยแยกสีตามรายโรคได้ชัดเจน -มีแพทย์ออกตรวจในคลินิกเรื้อรังทุกเดือน ในรพ. สต. มีทีมงานที่มีความสามารถบริหารจัดการผู้ป่วยในคลินิกได้อย่างมีประสิทธิภาพ -เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงาน ncd สามารถทำหน้าที่ exit nurse ได้เป็นอย่างดี คนไข้น้ำตาลไม่ลดเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานสามารถหาปัญหาของผู้ป่วยได้และทำให้ผู้ป่วยปรับพฤติกรรมตนเองได้อย่างถูกต้อง