ด้านที่ 3 ด้านการบริหารงานการเงินและการคลัง การประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (สถ-อปท) (Local Performance Assessment : LPA) ประจำปี 2560 ด้านที่ 3 ด้านการบริหารงานการเงินและการคลัง
หลักฐานที่ต้องเตรียม หมวดที่ 1 ด้านการจัดเก็บรายได้ หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. สำเนาข้อบัญญัติที่ อบจ.ออก ทั้ง 3 ประเภท 2. สำเนาใบเสร็จรับเงินที่ได้มีการจัดเก็บในปีงบประมาณ 2559 3. ออกครบทั้ง 3 ประเภทแต่เก็บไม่ครบโดยเก็บ 2 หรือ 1 ประเภท ได้คะแนนเป็น 0 4. มีแต่ไม่ได้จัดเก็บ คือ ออกข้อบัญญัติโดยกำหนดอัตราภาษีเป็นร้อยละ 0 หรือมีการชะลอการจัดเก็บคะแนน เป็น 0 1.1.1 มีการออกข้อบัญญัติ อบจ. จัดเก็บภาษีและค่าธรรมเนียมบำรุง อบจ. จากการค้าน้ำมัน, ยาสูบ และผู้เข้าพักในโรงแรม เกณฑ์การให้คะแนน : มีและได้เก็บครบทั้ง 3 ประเภท มีแต่ไม่ได้จัดเก็บ 5
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. สำเนาข้อบัญญัติออกทุกประเภท 2. สำเนาใบเสร็จรับเงินที่ได้มีการจัดเก็บในปีงบประมาณ 2559 1.2.1 มีการออกข้อบัญญัติท้องถิ่นและได้จัดเก็บตาม พ.ร.บ. การสาธารสุข พ.ศ. 2535 ดังนี้ ( ) การควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ( ) การกำจัดขยะมูลฝอย ( ) การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ ( ) ตลาด ( ) สถานที่จำหน่ายหรือสถานที่สะสมอาหาร ( ) การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ( ) การจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ เกณฑ์การให้คะแนน : มีและได้จัดเก็บ 5 ประเภทขึ้นไป มีและได้จัดเก็บ 4 ประเภท มีและได้จัดเก็บ 3 ประเภท มีและได้จัดเก็บ 2 ประเภท มีและได้จัดเก็บ 1 ประเภท ไม่มี หรือมีแต่ไม่ได้จัดเก็บ 5 4 3 2 1
ประเมิน อบจ. แบบประเมิน หน้า 3, เทศบาลและ อบต. หน้า 5 ประเมิน อบจ. แบบประเมิน หน้า 3, เทศบาลและ อบต. หน้า 5 หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. รายงานการจัดส่งข้อมูลสถิติการคลังจากระบบ INFO (วัน/เดือน/ปี) ที่รายงาน 2. กรณีไม่ได้รายงานในระบบหรือรายงานแต่ไม่ได้จัดเก็บข้อมูลไว้ไม่รับการประเมินจากเอกสารอื่น 1.1.2/1.2.2 การรายงานสถิติการคลังท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ 2559 ภายในระยะเวลาที่กำหนดสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 เกณฑ์การให้คะแนน : เร็วกว่าวันที่ 31 ต.ค. 2559 ภายในวันที่ 31 ต.ค. 2559 ภายในวันที่ 1-20 พ.ย. 2559 ส่งหลังจากวันที่ 20 พ.ย. 2559 5 3 1
ประเมิน อบจ. แบบประเมิน หน้า 3, เทศบาลและ อบต. หน้า 5 ประเมิน อบจ. แบบประเมิน หน้า 3, เทศบาลและ อบต. หน้า 5 หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. หลักฐานการประชาสัมพันธ์ 2. รูปแบบสื่อ ได้แก่ - สื่อสังคมออนไลน์ (Facebook, Line) - เว็บไซต์ - จดหมายข่าว - ป้ายประชาสัมพันธ์ - สื่อสิ่งพิมพ์ (วารสาร,แผ่นพับ) - หอกระจ่ายข่าว/เสียงตามสาย - หน่วยเคลื่อนที่ - จดหมายแจ้งผู้เสียภาษีโดยตรง ฯลฯ 1.1.3/1.2.3 การประชาสัมพันธ์หลักเกณฑ์และวิธีการจัดเก็บภาษี เกณฑ์การให้คะแนน : โดยสื่อประชาสัมพันธ์ 8 รูปแบบขึ้นไป โดยสื่อประชาสัมพันธ์ 5-7 รูปแบบ โดยสื่อประชาสัมพันธ์ 3-4 รูปแบบ โดยสื่อประชาสัมพันธ์น้อยกว่า 3 รูปแบบ 5 3 1
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. โครงการแผนที่ภาษีของ อปท. 2. ทำมือหรือทำด้วยระบบคอมฯ ก็ได้ 3. จะทำตามโปรแกรม LTAX GIS หรือโปรแกรมของหน่วยงานอื่น ก็ต้องมีครบทั้ง 6 ขั้นตอน 4. กรณีทำในขั้นตอนที่ 2 แล้วให้ถือว่าได้ดำเนินการในขั้นตอนที่ 1 เสร็จแล้ว 5. กรณี อปท.ใด มีเอกสารที่ดินเป็น สปก.4-01 หากได้รับข้อมูลจาก สปก.จังหวัดเป็นไฟล์ Auto cat ให้ถือว่าดำเนินการ ขั้นตอนที่ 1 และ 2 แล้ว 6. กรณีพื้นที่ อปท.ใดไม่มีเอกสารที่ดินทั้งพื้นที่ (ไม่มีระวางที่ดิน) ไม่ต้องประเมิน (ตัดฐานคะแนนเต็ม) 1.2.4 การจัดทำแผนที่แม่บท มีขั้นตอนดังนี้ (1) ถ่ายระวางที่ดิน (พิมพ์ขาว) (2) สแกนระวางที่ดิน (เป็นไฟล์ภาพ) (3) จัดทำแนวเขตการปกครองในระวางที่ดิน (4) แบ่งเขต (Zone) ในระวางที่ดิน (5) แบ่งเขตย่อย (Block) (6) จัดทำรูปแปลงที่ดิน เกณฑ์การให้คะแนน : ดำเนินการแล้วถึงขั้นตอนที่ (6) ดำเนินการแล้วถึงขั้นตอนที่ (4) – (5) ดำเนินการแล้วถึงขั้นตอนที่ (3) ดำเนินการในขั้นตอนที่ (1) หรือ (2) ไม่มีการดำเนินการขั้นตอนใดๆ 5 4 3 1
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. การคัดลอกข้อมูลที่ดิน อปท.จะต้องขอถ่ายเอกสารสารบบที่ดิน (ทด.1 ทด.9 นส.5) หรือพิมพ์จากระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (LIS) ของ สนง.ที่ดิน แล้วคัดลอกข้อมูลที่ดินลงในแบบสำรวจข้อมูลที่ดิน (ผ.ท.1) ทุกแปลงและกำหนดรหัสแปลงที่ดินตามแผนที่แม่บท 2. จำนวนแปลงที่ดินที่คัดลอก ผ.ท.1X 100 จำนวนแปลงที่ดินตามแผนที่แม่บทฯ 3. ถ้าไม่ได้จัดทำแผนที่แม่บทจะไม่ได้คะแนนข้อนี้ 4. กรณีพื้นที่ของ อปท.ไม่มีเอกสารที่ดินทั้งพื้นที่ ไม่ต้องประเมิน (ตัดฐานคะแนนเต็ม) 1.2.5 ผลการคัดลอกข้อมูลที่ดิน เกณฑ์การให้คะแนน : คัดลอกข้อมูลลงในแบบสำรวจข้อมูลที่ดิน (ผ.ท.1) ได้ตั้งแต่ร้อยละ 70.01 ขึ้นไป ของแปลงที่ดินจากแผนที่แม่บทตามโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯ ของแต่ละ อปท. คัดลอกข้อมูลลงในแบบสำรวจข้อมูลที่ดิน (ผ.ท.1) ได้ตั้งแต่ร้อยละ 60.01-70.00 ขึ้นไป ของแปลงที่ดินจากแผนที่แม่บทตามโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯ ของแต่ละ อปท. คัดลอกข้อมูลลงในแบบสำรวจข้อมูลที่ดิน (ผ.ท.1) ได้ตั้งแต่ร้อยละ 35.01-60.00 ขึ้นไป ของแปลงที่ดินจากแผนที่แม่บทตามโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯ ของแต่ละ อปท. คัดลอกข้อมูลลงในแบบสำรวจข้อมูลที่ดิน (ผ.ท.1) ได้ไม่เกินร้อยละ 35 ของแปลงที่ดินจากแผนที่แม่บทตามโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯ ของแต่ละ อปท. ยังไม่ได้ดำเนินการ 5 4 3 1
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. อปท.จะต้องออกสำรวจรายละเอียดข้อมูลเกี่ยวกับทรัพย์สินต่างๆ ของประชาชนในพื้นที่ โดยจะบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับที่ดินลงในแบบ ผ.ท. 1 ข้อมูลเกี่ยวกับโรงเรือนและสิ่งปลูกสร้างลงในแบบ ผ.ท. 2 ข้อมูลป้ายและการประกอบการค้าลงในแบบ ผ.ท. 3 2. จำนวนแปลงที่ดินสำรวจข้อมูลภาคสนามX 100 จำนวนแปลงที่ดินตามแผนที่แม่บทฯ 3. ตรวจสอบกับจำนวนแปลงที่ดินจากแผนที่แม่บทแต่ละแผ่นตามโครงการฯ 4. กรณีพื้นที่ของ อปท.ไม่มีเอกสารที่ดินทั้งพื้นที่ ไม่ต้องประเมิน (ตัดฐานคะแนนเต็ม) 1.2.6 ผลการสำรวจข้อมูลภาคสนาม เกณฑ์การให้คะแนน : สำรวจข้อมูลภาคสนามได้ตั้งแต่ร้อยละ 70.01 ขึ้นไป ของแปลงที่ดินจากแผนที่แม่บทตามโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯของ อปท. สำรวจข้อมูลภาคสนามได้ตั้งแต่ร้อยละ 60.01-70.00 ขึ้นไป ของแปลงที่ดินจากแผนที่แม่บทตามโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯของ อปท. สำรวจข้อมูลภาคสนามได้ตั้งแต่ร้อยละ 35.01-60.00 ขึ้นไป ของแปลงที่ดินจากแผนที่แม่บทตามโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯของ อปท. สำรวจข้อมูลภาคสนามได้ไม่เกินร้อยละ 35.00 ของแปลงที่ดินจากแผนที่แม่บทตามโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯของ อปท. ยังไม่ดำเนินการ 5 4 3 1
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. สำเนา ภ.ร.ด. 2, ภ.บ.ท. 5 และ ภป.1 ที่มีการประทับตราข้อความว่าได้ตรวจสอบกับ ผ.ท. 4 และ ผ.ท. 5 แล้ว 2. ผ.ท. 5 ของผู้อยู่ในข่ายต้องชำระภาษีต้องบันทึกข้อมูลการชำระภาษี และได้ติดสลิปสีเขียวแล้ว 3. กรณีพื้นที่ของ อปท.ไม่มีเอกสารที่ดินทั้งพื้นที่ ไม่ต้องประเมิน (ตัดฐานคะแนนเต็ม) 4. สำเนา ผ.ท. 4 และ ผ.ท. 5 (บางราย) 1.2.7 การนำทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) และทะเบียนคุมผู้ชำระภาษี (ผ.ท.5) ไปใช้เป็นข้อมูลในการประเมินภาษี เกณฑ์การให้คะแนน : ใช้ในการประเมินทุกรายที่มายื่นแบบแสดงรายการเสียภาษี และจำนวนเงินภาษี ที่ประเมินตรงตาม ผ.ท. 4 และ ผ.ท. 5 ใช้ในการประเมินทุกรายที่มายื่นแบบแสดงรายการเสียภาษี แต่จำนวนเงินภาษีที่ประเมินไม่ตรงตาม ผ.ท.4 และ ผ.ท. 5 ใช้ในการประเมินไม่ครบทุกรายที่มายื่นแบบแสดงรายการเสียภาษี ไม่ได้นำไปใช้ในการประเมินภาษี 5 3 1
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. สำเนา ผ.ท. 13 จากกองคลัง (แบบบัญชีแสดงรายการปรับข้อมูล) ที่ผู้บังคับบัญชาลงลายมือชื่อรับทราบ 2. สำเนา ผ.ท. 4 ว่ามีการปรับปรุงตาม ผ.ท. 13 หรือไม่ เช่น รหัสแปลงที่ดินใหม่ ฯลฯ 3. กรณีพื้นที่ของ อปท.ไม่มีเอกสารที่ดินทั้งพื้นที่ ไม่ต้องประเมิน (ตัดฐานคะแนนเต็ม) 4. กรณีไม่ต้องปรับปรุง ต้องมีการรายงานข้อมูลว่าได้ดำเนินการตรวจสอบแล้วไม่มีข้อมูลที่จะต้องปรับปรุง 1.2.8 การปรับข้อมูลทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) เป็นปัจจุบัน เกณฑ์การให้คะแนน : ดำเนินการปรับปรุงข้อมูลทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) เป็นปัจจุบัน ดำเนินการปรับปรุงข้อมูลทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท. 4) แต่ไม่เป็นปัจจุบัน ไม่ได้ดำเนินปรับปรุงข้อมูลทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) ไม่มีทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) 5 3 1
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. สำเนา ผ.ท. 13 จากกองคลัง (แบบบัญชีแสดงรายการปรับข้อมูล) ที่ผู้บังคับบัญชาลงลายมือชื่อรับทราบ 2. สำเนา ผ.ท. 7 ว่ามีการปรับปรุงตาม ผ.ท. 13 หรือไม่ เช่น รหัสแปลงที่ดินใหม่ ฯลฯ 3. กรณีพื้นที่ของ อปท.ไม่มีเอกสารที่ดินทั้งพื้นที่ ไม่ต้องประเมิน (ตัดฐานคะแนนเต็ม) 4. กรณีไม่ต้องปรับปรุง ต้องมีการรายงานข้อมูลว่าได้ดำเนินการตรวจสอบแล้วไม่มีข้อมูลที่จะต้องปรับปรุง 1.2.9 การปรับปรุงข้อมูลแผนที่ภาษี(ผ.ท.7) เป็นปัจจุบัน เกณฑ์การให้คะแนน : ดำเนินการปรับปรุงข้อมูลแผนที่ภาษี(ผ.ท.7 )เป็นปัจจุบัน ดำเนินการปรับปรุงข้อมูลแผนที่ภาษี (ผ.ท. 7) แต่ไม่เป็น ปัจจุบัน ไม่ได้ดำเนินปรับปรุงข้อมูลแผนที่ภาษี (ผ.ท. 7) ไม่มีข้อมูลแผนที่ภาษี (ผ.ท.7) 5 3 1
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. จำนวนผู้เสียภาษีที่ได้รับชำระจริง ปี 2559 (ภาษีโรงเรือนฯ+ภาษีป้าย+ภาษีบำรุงท้องที่) สูตร:จำนวนผู้เสียภาษีที่ได้รับชำระจริงปี 2559 - จำนวนผู้เสียภาษีที่ได้รับชำระจริงปี 2558 X100 / จำนวนผู้เสียภาษีที่ได้รับชำระจริง ปี 2558 1.2.10 อัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้เสียภาษีโรงเรือน และที่ดิน ภาษีป้าย และภาษีบำรุงท้องที่ เกณฑ์การให้คะแนน : เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 10.01 ขึ้นไป เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 7.51-10.00 เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 5.01-7.50 เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 2.51-5.00 เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 1.01-2.50 ไม่เพิ่มขึ้นหรือเพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ 1.00 5 4 3 2 1
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. จำนวนผู้เสียค่าธรรมเนียมที่ได้รับชำระจริง ปี 2559 (ภาษีโรงเรือนฯ+ภาษีป้าย+ภาษีบำรุงท้องที่) สูตร : จำนวนผู้เสียค่าธรรมเนียมที่ได้รับชำระจริงปี 2559 - จำนวนผู้เสียค่าธรรมเนียมที่ได้รับชำระจริงปี 2558 X100 / จำนวนผู้เสียค่าธรรมเนียมที่ได้รับชำระจริงปี 2558 1.2.11 อัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้เสียค่าธรรมเนียมและใบอนุญาตตาม พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 เกณฑ์การให้คะแนน : เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 10.01 ขึ้นไป เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 7.51-10.00 เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 5.01-7.50 เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 2.51-5.00 เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 1.01-2.50 ไม่เพิ่มขึ้นหรือเพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ 1.00 5 4 3 2 1
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. จำนวนเงินภาษีโรงเรือนฯ + จำนวนเงินภาษีป้าย+จำนวนเงินภาษีบำรุงท้องที่+จำนวนเงินค่าธรรมเนียมและใบอนุญาตฯ ที่จัดเก็บได้จริงในปี 2559 รวม X 100 / จำนวนเงินผู้ที่อยู่ในข่ายต้องชำระภาษีทั้งหมดปี 2559 1.2.12 สัดส่วนจำนวนเงินภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย ภาษีบำรุงท้องที่ ค่าธรรมเนียมและใบอนุญาต ตาม พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ที่จัดเก็บได้โดยรวมต่อจำนวนเงินผู้ที่อยู่ในข่ายต้องชำระภาษีทั้งหมดในปี 2559 เกณฑ์การให้คะแนน : ร้อยละ 90.01 ขึ้นไป ร้อยละ 87.26-90.00 ร้อยละ 85.01-87.25 ร้อยละ 82.26-85.00 ร้อยละ 80.01-82.26 ต่ำกว่าร้อยละ 80.01 5 4 3 2 1
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน จำนวนรายลูกหนี้ที่มีหนี้ค้างชำระเกินกว่า 3 ปี ก่อนปี 2557 X 100 / จำนวนผู้ชำระภาษีปี 2559 นับเฉพาะลูกหนี้ภาษี (ภาษีโรงเรือนฯ+ป้าย+บำรุงท้องที่) 1.2.13 อปท. มีลูกหนี้ผู้ค้างชำระภาษีเกินกว่า 3 ปี เป็นอัตราร้อยละของผู้ชำระภาษีปีปัจจุบัน เกณฑ์การให้คะแนน : ไม่มี มี แต่ไม่เกิน 2 % มี มากกว่า 2% แต่ไม่เกิน 5% มีมากกว่า 5% 5 3 1 จำนวนลูกหนี้ภาษีปี 2559 – จำนวนลูกหนี้ภาษีปี 2558 X 100 / จำนวนลูกหนี้ภาษีปี 2558 1.2.14 อปท. มีลูกหนี้ผู้ค้างชำระภาษีลดลงจากปีที่ผ่านมาเป็นอัตราร้อยละ (ตัวชี้วัดนำร่อง) ลดลงร้อยละ 1.01 ขึ้นไป หรือจัดเก็บได้ 100% เท่าเดิม หรือลดลงร้อยละ 0.01-1.00 ไม่ลดลงและมีลูกหนี้เพิ่มขึ้น
หลักฐานที่ต้องเตรียม หมวดที่ 2 การจัดทำงบประมาณ หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ ปี 2559 2. รายงานการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2559 3. รายงานการประชุมสภาที่เสนอร่างงบประมาณ 4. หน้ารายงานจากระบบ e-LAAS 2.1 อปท. เสนอร่างงบประมาณรายจ่ายประจำปีต่อสภาท้องถิ่น เกณฑ์การให้คะแนน : เสนอภายใน 15 กรกฎาคม เสนอภายใน 15 สิงหาคม เสนอภายใน 15 กันยายน เสนอหลัง 15 กันยายน 5 3 1 1. สำเนาหนังสือส่งสำเนาประกาศให้ผู้กำกับดูแล 2. สำเนาประกาศใช้ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ 2.2 อปท. จัดทำข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีให้สามารถใช้ทันได้ในวันที่ 1 ตุลาคม และส่งสำเนาประกาศให้ผู้กำกับดูแล และจัดทำรายงานข้อมูลเผยแพร่ประชาชนใน 30 วัน หลังสิ้นสุดงบประมาณ พ.ศ. 2559 ทำตามระดับ 3 และจัดทำรายงานข้อมูลรายรับ-รายจ่าย งบประมาณรายจ่ายประจำปี และเผยแพร่ให้ประชาชนทราบ ภายใน 30 วัน นับจากสิ้นปีงบประมาณ ทำตามระดับ 1 และส่งสำเนาประกาศงบประมาณรายจ่ายให้ผู้กำกับดูแลภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ประกาศ จัดทำข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจำปี 2559 ให้สามารถใช้ได้ทันในวันที่ 1 ตุลาคม 2558 ไม่มีการดำเนินการ
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ ปี 2559 งบลงทุน (เฉพาะค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) X 100 / งบประมาณรายจ่ายประจำปี 2559 ทั้งหมด 2.3 การตั้งงบประมาณรายจ่าย งบเพื่อการพัฒนาที่มิใช่รายจ่ายประจำ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 เกณฑ์การให้คะแนน : เกินร้อยละ 15 ขึ้นไป เกินร้อยละ 10 แต่ไม่เกินร้อยละ 15 เกินร้อยละ 5 แต่ไม่เกินร้อยละ 10 ไม่เกินร้อยละ 5 5 3 1 1. สำเนาหลักฐานการโอนงบประมาณรายจ่ายฯ 2. รายงานการขออนุมัติต่อผู้มีอำนาจ 3. รายงานการประชุมสภา 2.4 การโอนงบประมาณรายจ่ายประจำปีข้ามหมวด (ยกเว้น กรณีโอนตามนโยบายรัฐบาลและการโอนเงินเหลือจ่ายจากการจัดซื้อจัดจ้างหมวดครุภัณฑ์ฯ) มีการโอนงบประมาณข้ามหมวดรายจ่าย ไม่เกิน 4 รายการ มีการโอนงบประมาณข้ามหมวดรายจ่าย 5-7 รายการ มีการโอนงบประมาณข้ามหมวดรายจ่าย 8-10 รายการ มีการโอนงบประมาณข้ามหมวดรายจ่ายเกินกว่า 10 รายการ
หลักฐานที่ต้องเตรียม หมวดที่ 3 การพัสดุ หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. เอกสารโครงการจัดซื้อจัดจ้างกรณีสอบราคา/ประกวดราคา ไม่น้อยกว่า 5 โครงการ 2. หากไม่มีโครงการที่ต้องสอบราคา/ประกวดราคาให้จัดเตรียมเอกสารกรณีตกลงราคาไม่น้อยกว่า 5 รายการ 3. หากไม่มีงานก่อสร้างไม่ต้องประเมินข้อ 3 4. หากไม่มีการซื้อครุภัณฑ์ไม่ต้องประเมินข้อ 6 3.1 การบริหารพัสดุดำเนินการดังนี้ ( ) 1. จัดทำรายงานขออนุมัติจัดซื้อจัดจ้าง ( ) 2. ส่งประกาศเอกสารสอบ/ประกวดราคา ( ) 3. ทำป้ายประชาสัมพันธ์งานก่อสร้าง ( ) 4. เผยแพร่ผลการจัดซื้อจัดจ้างแต่ละโครงการ ( ) 5. สัญญาจ้างเกิน 1 ล้านบาท ต้องจัดส่ง สตง. กับ สรรพากร ( ) 6. จัดทำทะเบียนครุภัณฑ์ เกณฑ์การให้คะแนน : ดำเนินการรวมครบ 6 ข้อ ดำเนินการรวม 5 ข้อ ดำเนินการรวม 4 ข้อ ดำเนินการรวม 3 ข้อ ดำเนินการรวม 2 ข้อ ดำเนินการรวมน้อยกว่า 2 ข้อ 5 4 3 2 1
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน งบประมาณโครงการหมวดครุภัณฑ์ที่ดิน และสิ่งก่อสร้างที่ตั้งตามข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติรวมทุกโครงการ - งบประมาณที่ลงนามสัญญาทุกโครงการ X 100 / งบประมาณในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติฯ (ตรวจเฉพาะโครงการที่มีการจัดซื้อจัดจ้าง) 3.2 ร้อยละของงบที่ อปท. ประหยัดได้จากการดำเนินการสอบราคา และประกวดราคาหรือการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ของโครงการในหมวดครุภัณฑ์ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 (เฉพาะโครงการในเทศบัญญัติ/ข้อบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจำปี) เกณฑ์การให้คะแนน : เกินร้อยละ 5 ขึ้นไป เกินร้อยละ 2.5 แต่ไม่เกินร้อยละ 5 เกินร้อยละ 0 แต่ไม่เกินร้อยละ 2.5 ร้อยละ 0 5 3 1 แผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างตามประกาศ คตง. งบลงทุนตามข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ (กรณีตั้งงบประมาณไว้ไม่ถึงวงเงินที่ต้องรายงานตามประกาศ คตง. ไม่ประเมินข้อนี้ ตัดฐานคะแนนเต็ม) 3.3 การจัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างโครงการงบลงทุนทั้งหมด ไม่น้อยกว่าระยะเวลาที่ตามกฎหมายกำหนด ตามแบบรายงานแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง (ภายในวันที่ 15 ตุลาคม ของทุกปี) จัดทำฯ ภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดครบทุกโครงการ จัดทำฯ ไม่ครบ 1 โครงการ จัดทำฯ ไม่ครบ 2 โครงการ จัดทำฯ ไม่ครบเกินกว่า 2 โครงการหรือไม่จัดทำฯ
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ 2. เอกสารการจัดซื้อจัดจ้าง 3. แบบรายงานผลการปฏิบัติงานจัดซื้อจัดจ้างตามประกาศ คตง. 4. ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง 5. หลักฐานการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เช่น ลงเวปไซต์ หนังสือส่ง สตง. หรือติดประกาศฯลฯ (กรณีตั้งงบประมาณไว้ไม่ถึงวงเงินที่ต้องรายงานตามประกาศ คตง. ไม่ประเมินข้อนี้ ตัดฐานคะแนนเต็ม) 3.4 การเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง (งบลงทุนสิ่งก่อสร้าง, งบครุภัณฑ์ที่มีงบประมาณสูงสุด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559) ดังนี้ (1) ชื่อโครงการ (2) งบประมาณ (3) ผู้ซื้อซอง (4) ผู้ยื่นซอง (5) ผู้ได้รับการคัดเลือก (6) มีการระบุวิธีการจัดจ้าง (7) มีการแสดงเหตุผลที่ใช้ในการตัดสินใจ เกณฑ์การให้คะแนน : เผยแพร่ครบทั้ง 7 องค์ประกอบ เผยแพร่ได้ 5-6 องค์ประกอบ เผยแพร่ได้ 3-4 องค์ประกอบ เผยแพร่ได้น้อยกว่า 3 องค์ประกอบ 5 3 1 แผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างตามประกาศ คตง. รายงานผลการปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างตามแผนฯ สำเนาหนังสือส่ง สตง. สำเนาหลักฐานการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ งบลงทุนตามข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ - ต้องรายงานภายใน 30 วัน นับแต่วันทำการสุดท้ายของไตรมาส 3.5 การรายงานผลการจัดซื้อจัดจ้าง (งบลงทุน) ตามประกาศคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ข้อ 6 ให้ผู้รับตรวจจัดให้มีการตรวจสอบติดตามผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง แล้วรายงานผลการตรวจสอบให้สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินทราบเป็นประจำ (รายงานตามแบบรายงานผลการปฏิบัติตามแผนฯ) รายงานฯ ภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดครบทุกโครงการ รายงานฯ ไม่ครบ 1 โครงการ รายงานฯ ไม่ครบ 2 โครงการ รายงานฯ ไม่ครบเกินกว่า 2 โครงการหรือไม่รายงานฯ
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2559 2. สำเนาหนังสือแจ้ง สตง. 3. หลักฐานการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ (กรณีตั้งงบประมาณไว้ไม่ถึงวงเงินที่ต้องรายงานตามประกาศ คตง. ไม่ประเมินข้อนี้ ตัดฐานคะแนนเต็ม) 3.6 อปท. จัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างสำหรับครุภัณฑ์ ที่มีราคาเกินหนึ่งแสนบาทและที่ดินสิ่งก่อสร้างที่มีราคาเกินหนึ่งล้านบาท และได้ส่งสำเนาให้ สตง. ภูมิภาคในเวลาที่กำหนดรวมทั้งประกาศเผยแพร่ เกณฑ์การให้คะแนน : มีการประกาศเผยแพร่ภายในสามสิบวันหลังจากงบประมาณรายจ่ายประจำปีมีผลใช้บังคับและส่งสำเนาให้ สตง.ภูมิภาคภายใน 31 ตุลาคม มีการประกาศเผยแพร่ และส่งสำเนาให้ สตง.ภูมิภาคภายใน 31 ต.ค. มีการประกาศเผยแพร่ ไม่มีการดำเนินการ 5 3 1 1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2559 2. สำเนาหนังสือส่ง ผวจ./นอ. 3. รายงาน/บันทึก ที่ผู้บริหารเห็นชอบราคากลาง 4. รายงานการประชุมคณะกรรมการกำหนดราคากลาง 5. กรณีการก่อสร้างไม่เกินห้าล้านบาท (ตัดฐาน) 3.7 งบลงทุนที่มีวงเงินค่าก่อสร้างตั้งแต่ห้าล้านบาทขึ้นไป ที่ อปท. เป็นผู้ตั้งงบประมาณให้รายงาน ผวจ.กรณีเทศบาล/อบจ. หรือรายงานนายอำเภอ กรณี อบต. นับแต่ผู้บริหารท้องถิ่นได้เห็นชอบหรืออนุมัติราคากลางนั้น รายงานภายใน 2 วันทำการ รายงานภายใน 3 วันทำการ รายงานภายใน 4 วันทำการ รายงานเกินกว่า 4 วันทำการ
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2559 2. สำเนาประกาศของ อปท. 3. หลักฐานการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ช่องทางเว็บไซต์กรมบัญชีกลางและเว็บไซต์หน่วยงาน หรือช่องทางอื่นๆ 3.8 กรณีงานจ้างก่อสร้างวงเงินเกินหนึ่งแสนบาท อปท.ได้ประกาศเผยแพร่ราคากลางตามแนวทาง ป.ป.ช. ในเว็บไซต์อย่างน้อย 2 เว็บไซต์ ขึ้นไปตามแบบที่กำหนด เกณฑ์การให้คะแนน : ดำเนินการครบทุกโครงการและเผยแพร่มากกว่า 1 ช่องทาง ดำเนินการครบทุกโครงการ ดำเนินการแต่ไม่ครบทุกโครงการ ไม่ได้ดำเนินการ 5 3 1 สำเนาประกาศจัดซื้อจัดจ้าง สำเนาหนังสือส่งเพื่อขอใช้สถานที่กลาง สำหรับปิดประกาศ รับซอง หรือเปิดซอง กรณีไม่มีการจัดซื้อจัดจ้างวิธีสอบราคา/ประกวดราคา ไม่ต้องนำมาเป็นฐานในการคำนวณคะแนน 3.9 มีการใช้สถานที่กลางสำหรับปิดประกาศรับซองและเปิดซองสอบราคา มีการใช้สถานที่กลางสำหรับปิดประกาศ รับซองและเปิดซองสอบราคา มีการใช้สถานที่กลางทั้งวิธีสอบราคาและประกวดราคาแต่ได้ดำเนินการเฉพาะการปิดประกาศ รับซอง หรือเปิดซอง มีการใช้สถานที่กลางเฉพาะวิธีสอบราคาหรือประกวดราคา และได้ดำเนินการเฉพาะการปิดประกาศ รับซอง หรือเปิดซอง ไม่มีสถานที่กลาง
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. สำเนาคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลาง 2. สำเนารายงานการประชุมคณะกรรมการฯ 3. สำเนาการเห็นชอบราคากลางฯ 4. สำเนาการเปิดเผยราคากลางในเว็บไซต์กรมบัญชีกลาง (e-GP) และเว็บไซต์ของ อปท. 3.10 การดำเนินการเกี่ยวกับราคากลาง เกณฑ์การให้คะแนน : มีการแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลาง มีการขออนุมัติเห็นชอบราคากลาง และมีการเปิดเผยราคากลางตามแนวทางการเปิดเผยราคากลางของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไม่มีการดำเนินการหรือดำเนินการไม่ครบถ้วนถูกต้องตามระเบียบ 5 เอกสารโครงการจัดจ้างทุกโครงการ เอกสารการส่งมอบงาน เอกสารการตรวจรับการจ้าง หลักฐานแสดงวันที่ประธานคณะกรรมการตรวจการจ้างรับทราบการส่งมอบงานและนัดตรวจรับงาน 3.11 คณะกรรมการตรวจการจ้างได้ออกไปตรวจรับงานจ้างที่ผู้รับจ้างส่งมอบภายใน 3 วันทำการ นับตั้งแต่วันที่ประธานคณะกรรมการตรวจการจ้างได้ทราบการส่งมอบงาน ดำเนินการเร็วกว่า 3 วันทำการ ดำเนินการภายใน 3 วันทำการ ดำเนินการภายใน 4-5 วันทำการ ดำเนินการเกินกว่า 5 วันทำการ 3 1
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. สำเนาการเปิดเผยราคากลางในเว็บไซต์กรมบัญชีกลาง (e-GP) และเว็บไซต์ของ อปท. 2. สำเนาประกาศเผยแพร่ราคากลาง 3. ภาพถ่ายการปิดประกาศเผยแพร่ฯ 4. เลขคุมสัญญาในระบบ e-GP ทุกโครงการที่เกิน 1 แสนบาท 5. สำเนาหนังสือส่งกรณีส่งไปเผยแพร่ยังหน่วยงานภายนอก 3.12 งบลงทุนงานจ้างก่อสร้าง อปท. ได้จัดทำและประกาศเผยแพร่ราคากลาง รายละเอียดการคำนวณราคากลาง ตาม BOQ (Bill Of Quality) ซึ่งผู้บริหารได้เห็นชอบแล้ว (1) เผยแพร่ทางเว็บไซต์ อปท./หรือเว็บไซต์ของจังหวัด (2) เผยแพร่ทางเว็บไซต์ของกรมบัญชีกลาง (3) ปิดประกาศ ณ ป้ายประชาสัมพันธ์ของ อปท. หรือสถานที่กลางสำหรับเป็นศูนย์รวมข่าวจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น เกณฑ์การให้คะแนน : ดำเนินการครบทั้ง 3 ข้อ ดำเนินการครบทั้ง 2 ข้อ ดำเนินการเพียง 1 ข้อ ไม่ได้ดำเนินการ 5 3 1
หมวดที่ 4 การบริหารการเงินและการคลัง หลักฐานที่ต้องเตรียม หมวดที่ 4 การบริหารการเงินและการคลัง หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน สูตร = จ่ายจริง X 100 / รับจริง 1. รายงานรับ-จ่ายเงินสดประจำเดือนกันยายน 2559 2. เฉพาะที่กำหนดในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ 4.1.1 อปท.เบิกจ่ายเงินงบประมาณในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2559 เกณฑ์การให้คะแนน : ร้อยละ 90.00 ขึ้นไป ร้อยละ 85.00-89.99 ร้อยละ 75.00-84.99 น้อยกว่าร้อยละ 75.00 5 3 1 สูตร = จ่ายจริงแต่ละไตรมาส X 100 / งบประมาณรายจ่ายประจำปี 2559 ทั้งหมด 1. งบรายไตรมาส 2. รายงานรับ- จ่ายเงินสดประจำเดือน ธ.ค. 58 , มี.ค. 59, มิ.ย. 59 และ ก.ย. 59 3. เป้าหมายตามมติครม. ไตรมาส 1-4 = 30 , 52,73 และ 96 4.1.2 อปท. เบิกจ่ายเงินงบประมาณในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2559 ตามเป้าหมายแต่ละไตรมาส เป็นไปตามเป้าหมายทั้ง 4 ไตรมาส เป็นไปตามเป้าหมาย 3 ไตรมาส เป็นไปตามเป้าหมาย 2 ไตรมาส เป็นไปตามเป้าหมายน้อยกว่า 2 ไตรมาส
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน สูตร = ค่าตอบแทนจ่ายจริง X 100 ค่าตอบแทนรวม4ไตรมาสตามแผนฯ สูตร = ค่าใช้สอยจ่ายจริง X 100 ค่าใช้สอยรวม4ไตรมาสตามแผนฯ สูตร = ค่าวัสดุจ่ายจริง X 100 ค่าวัสดุรวม4ไตรมาสตามแผนฯ สูตร = ครุภัณฑ์ฯจ่ายจริง X 100 ค่าครุภัณฑ์ฯรวม4ไตรมาสตามแผนฯ 1. เมื่อคำนวณออกมาแล้วต้องไม่มากกว่าหรือน้อยกว่าร้อยละ 80 2. อปท. ไม่จัดทำแผนฯหรือจัดทำแต่ไม่ ครบถ้วนถูกต้อง = 0 คะแนน 3. สำเนารายงานการรับ-จ่ายเงินสด เดือน กันยายน 2559 4. แผนการใช้จ่ายเงินของหน่วยงานย่อยและ แผนรวมของ อปท. 4.1.3 อปท. มีการบริหารจัดการในเรื่องเบิกจ่ายเงิน 4 ประเภท (ค่าตอบแทน, ค่าใช้สอย, ค่าวัสดุ, ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง เป็นไปตามแผนการใช้เงิน เกณฑ์การให้คะแนน : เป็นไปตามแผน 4 ข้อ ร้อยละ 80.00 เป็นไปตามแผน 3 ข้อ ร้อยละ 80.00 เป็นไปตามแผน 1-2 ข้อ ร้อยละ 80.00 ไม่เป็นไปตามแผน 5 3 1
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน สูตร = จำนวนเงินกันกรณีไม่มีหนี้ผูกพันทุกรายการหมวดครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง X 100 / งบประมาณรายจ่ายประจำปี+งบประมาณจ่ายเพิ่มเติม (ถ้ามี) 1. รายงานการประชุมสภาฯ 2. บันทึกขออนุมัติกันเงินกรณีไม่มีหนี้ฯ 3. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 4. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม (ถ้ามี) 4.1.4 การกันเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีและงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมกรณียังไม่ก่อหนี้ผูกพันในหมวดค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง เป็นอัตราร้อยละของงบประมาณรายจ่ายประจำปีและงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม เกณฑ์การให้คะแนน : ไม่มีการกันเงิน กันเงินไม่เกินร้อยละ 5 กันเงินไม่เกินร้อยละ 10 กันเงินเกินร้อยละ 10 5 3 1
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. รายงานการจ่ายเงินสะสม ปี 2559 ไม่รวมกรณีสาธารณภัย 2. สำเนารายงานการประชุมสภาฯ 3. วัตถุประสงค์ของรัฐบาล ดังนี้ - สนับสนุนการดำเนินการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - ปรับปรุงหรือจัดให้มีแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร - ปรับปรุงหรือจัดให้มีแหล่งน้ำเพื่อการบริโภค - โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวตามนโยบายรัฐบาล (ท่องเที่ยววิถีไทย) - โครงการส่งเสริมการใช้ยางพาราภายในประเทศตามนโยบายรัฐบาล - โครงการหรือกิจการตามอำนาจหน้าที่ของ อปท. ที่เห็นว่าจำเป็นต้องดำเนินการเพื่อประโยชน์ของประชาชน 4.1.5 อปท.มีการเบิกจ่ายเงินโดยจ่ายเงินจากเงินสะสมเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของรัฐบาล (ตัวชี้วัดนำร่อง) เกณฑ์การให้คะแนน : เป็นไปตามวัตถุประสงค์ครบทุกโครงการและส่งรายงาน สถ.ทราบทุกโครงการ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ครบทุกโครงการ เป็นไปตามวัตถุประสงค์แต่ไม่ครบทุกโครงการ ไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ กรณี อปท. ไม่มีเงินสะสมจะจ่ายหรือมีแต่ไม่ใช้จ่าย ได้คะแนนเป็น 0 ถือว่าไม่สนองนโยบายรัฐบาล 5 3 1
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน สูตร = งบประมาณราจ่ายทั้งหมด - รายจ่ายประจำ X 100 / งบประมาณรายจ่ายทั้งหมด 1. งบการเงินประจำปี / งบเดือนกันยายน 59 2. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 4.1.6 การใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายงบเพื่อการพัฒนาที่มิใช่รายจ่ายประจำพิจารณาจากการเบิกจ่ายปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 (ไม่รวมการกันเงินเหลื่อมปี) เกณฑ์การให้คะแนน : เบิกเกินร้อยละ 80 ขึ้นไป เบิกเกินร้อยละ 75 แต่ไม่เกินร้อยละ 80 เบิกเกินร้อยละ 60 แต่ไม่เกินร้อยละ 75 เบิกไม่เกินร้อยละ 60 5 3 1 สูตร = จำนวนวันทำการถัดจากวันสิ้นเดือนถึงวันที่เสนอผู้บริหารท้องถิ่นรวมทั้ง 12 เดือน หารด้วย 12 - สำเนารายงานงบเดือนทั้ง 12 เดือน 4.2.1 การบันทึกบัญชีเป็นปัจจุบันและจัดทำรายงานการเงินประจำเดือนเสนอผู้บริหารท้องถิ่นได้ในเดือนถัดไป โดยเฉลี่ย ภายใน 5 วันทำการ ภายใน 6-10 วันทำการ ภายใน 11-15 วันทำการ เกินกว่า 15 วันทำการ
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. รายงานการบันทึกข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติในระบบ e-LAAS 2. รายงานการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณหรือเปลี่ยนแปลงคำชี้แจงงบประมาณในระบบฯ 4.2.2 การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ .ศ. 2559 เกณฑ์การให้คะแนน : อนุมัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีและมีการบันทึกการโอนและหรือการเปลี่ยนแปลงคำชี้แจงงบประมาณในระบบฯ บันทึกและอนุมัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ทำบันทึกงบประมาณรายจ่ายประจำปีไม่ครบถ้วน ยังไม่มีการบันทึกงบประมาณรายจ่ายประจำปี 5 3 1 สูตร = จำนวนผู้ที่ต้องเสียภาษีทั้งสามประเภทที่บันทึกในระบบ e-LAAS X 100 /จำวนอยู่ในข่ายต้องเสียภาษีตามทะเบียนคุมทุกรายในระบบมือ สำเนาเอกสารที่พิมพ์จากระบบฯ สำเนารายละเอียดผู้ชำระภาษี หรือรายงานรายชื่อผู้เสียภาษีทั้งหมด 4.2.3 การบันทึกข้อมูลผู้เสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย (กรณีเทศบาลและอบต.เท่านั้น ไม่ใช้กับ อบจ.) บันทึกข้อมูลได้ร้อยละ 90.01 ขึ้นไป ของผู้ที่อยู่ในข่ายฯ บันทึกข้อมูลได้ร้อยละ 80.01-90.00 ของผู้ที่อยู่ในข่ายฯ บันทึกข้อมูลได้ร้อยละ 70.01-80.00 ของผู้ที่อยู่ในข่ายฯ บันทึกข้อมูลได้ไม่เกินร้อยละ 70.00 ของผู้ที่อยู่ในข่ายฯ
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน สูตร = จำนวนบุคลากรฝ่ายการเมืองและฝ่ายประจำในปัจจุบัน X 100 /จำนวนบุคลากรฝ่ายการเมืองและฝ่ายประจำที่บันทึกในระบบ e-LAAS 1. รวมข้าราชการครู ศพด.ด้วย 2. ไม่รวมข้าราชการครูโรงเรียน 3. สำเนารายงานจากระบบฯ 4. สำเนาฐานข้อมูลเงินเดือนจากระบบฯ 4.2.4 การบันทึกข้อมูลบุคลากรของ อปท. ทั้งฝ่ายการเมืองและฝ่ายประจำให้ครบถ้วน ถูกต้องเป็นปัจจุบันทั้งข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลบุคลากรและข้อมูลการรับเงิน เกณฑ์การให้คะแนน : บันทึกข้อมูลได้ร้อยละ 85.01-100 ของบุคลากรทั้งหมด บันทึกข้อมูลได้ร้อยละ 70.01-85.00 ของบุคลากรทั้งหมด บันทึกข้อมูลได้ร้อยละ 55.01-70.00 ของบุคลากรทั้งหมด บันทึกข้อมูลได้ร้อยละ 0-55.00 ของบุคลากรทั้งหมด 5 3 1 - สำเนาเอกสารที่พิมพ์จากระบบฯ ทะเบียนรายรับ-สมุดเงินสดรับ ณ เดือนที่เข้าตรวจ ทะเบียนรายรับ/สมุดเงินสดรับ ที่บันทึกมือ 4.2.5 การดำเนินการรับและบันทึกข้อมูลในระบบฯ ดำเนินการรับในระบบครบถ้วน ตั้งแต่ปี 2559 จนถึงปัจจุบันโดยไม่มีการลบข้อมูลปี 2559 ดำเนินการหรือบันทึกการรับเงินในระบบฯในปี 2559 ไม่ครบถ้วน (ลบข้อมูลปี 2559 เพื่อเพิ่มปี 2560 )แต่ดำเนินการในปี 2560 เป็นปัจจุบัน ดำเนินการหรือบันทึกการรับเงินในระบบฯ ในปี 2559 จนถึงปัจจุบันไม่ครบถ้วน ไม่มีการดำเนินการหรือบันทึกการรับเงินในปี 2559 และปัจจุบัน
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน - สำเนาเอกสารที่พิมพ์จากระบบฯ ทะเบียนสมุดเงินสดจ่าย ณ เดือนที่เข้าตรวจ สมุดเงินสดจ่ายที่ทำมือ 4.2.6 การดำเนินการจ่ายเงิยและบันทึกข้อมูลในระบบฯ เกณฑ์การให้คะแนน : ดำเนินการจ่ายเงินในระบบครบถ้วน ตั้งแต่ปี 2559 จนถึงปัจจุบันโดยไม่มีการลบข้อมูลปี 2559 ดำเนินการหรือบันทึกการจ่ายเงินในระบบฯในปี 2559 ไม่ครบถ้วน (ลบข้อมูลปี 2559 เพื่อเพิ่มปี 2560 )แต่ดำเนินการในปี 2560 เป็นปัจจุบัน ดำเนินการหรือบันทึกการจ่ายเงินในระบบฯ ในปี 2559 จนถึงปัจจุบันไม่ครบถ้วน ไม่มีการดำเนินการหรือบันทึกการจ่ายเงินในปี 2559 และปัจจุบัน 5 3 1 สำเนาหลักฐานหนังสือส่ง สตง. /สนง.คลังจังหวัด 4.2.7 อปท. จัดทำงบแสดงฐานะการเงินและรายงานการเงินต่างๆ ประจำปีงปบระมาณ พ.ศ. 2559 ส่งให้ สตง.และสำนักงานคลังจังหวัด ภายในวันที่ 30 ต.ค. 2559 ภายในวันที่ 30 พ.ย. 2559 ภายในวันที่ 29 ธ.ค. 2559 เกินกว่าวันที่ 29 ธ.ค. 2559
หลักฐานที่ต้องเตรียม หมวดที่ 5 ผลสัมฤทธิ์ หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน สำเนารายงานตรวจของ สตง./จังหวัด/สถ. หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ถ้าไม่มีหน่วยงานไหนเข้าตรวจสอบให้ตัดฐาน 5.1.1 การทักท้วงด้านการพัสดุประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 จากหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบ เกณฑ์การให้คะแนน : ไม่มี มี 1 เรื่อง มี 2 เรื่อง มี 3 เรื่องขึ้นไป 5 3 1 5.1.2 การทักท้วงด้านการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 และงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จากหน่วยงานที่มีหน้าทีตรวจสอบ
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน สำเนารายงานตรวจของ สตง./จังหวัด/สถ. หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ถ้าไม่มีหน่วยงานไหนเข้าตรวจสอบให้ตัดฐาน 5.1.3 การทักท้วงด้านการจัดเก็บรายได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 จากหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบ เกณฑ์การให้คะแนน : ไม่มี มี 1 เรื่อง มี 2 เรื่อง มี 3 เรื่องขึ้นไป 5 3 1 5.1.4 มีการทักท้วงด้านการเบิกจ่ายเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 จากหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบ
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน สำเนารายงานตรวจของ สตง./จังหวัด/สถ. หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำเนารายงานการดำเนินการตามข้อทักท้วง ของ อปท. ถ้าไม่มีหน่วยงานไหนเข้าตรวจสอบให้ตัดฐาน 5.1.5 มีการดำเนินการตามข้อทักท้วงของหน่วยที่ตรวจสอบและดำเนินการแจ้งให้ทราบ เกณฑ์การให้คะแนน : ดำเนินการภายใน 60 วัน ดำเนินการภายใน 90 วัน ดำเนินการภายใน 120 วัน ไม่มีการดำเนินการ 5 3 1 จำนวนเงินภาษีที่จัดเก็บได้ปี 2559 – จำนวนเงินภาษีที่จัดเก็บได้ปี 2558 X 100 / จำนวนเงินภาษีที่จัดเก็บได้ปี 2558 (น้ำมัน+ยาสูบ+โรงแรม) 5.2.1 การเพิ่มขึ้นของจำนวนเงินภาษีและค่าธรรมเนียมบำรุง อบจ. จากน้ำมัน, ยาสูบ และผู้เข้าพักโรงแรมโดยรวมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 2.01 ขึ้นไป เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 1.01-2.00 เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 0.01 – 1.00 ไม่เพิ่มขึ้น
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน จำนวนเงินที่จัดเก็บได้จริงจากรายได้อื่นๆนอกจากภาษี ปี 2559 – ปี 2558 X 100 /ปี 2558 5.2.2 การเพิ่มขึ้นของจำนวนเงินที่จัดเก็บได้จากค่าธรรมเนียมในการให้บริการ ค่าธรรมเนียมอื่นๆ รายได้จากการจัดหาประโยชน์ในทรัพย์สิน และจากการดำเนินกิจการอื่นโดยรวม ยกเว้นภาษีและค่าธรรมเนียมบำรุง อบจ. จากน้ำมัน, ยาสูบและผู้เข้าพักในโรงแรม เกณฑ์การให้คะแนน : เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 5.01 ขึ้นไป เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 3.01-5.00 เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 1.01 – 3.00 ไม่เพิ่มขึ้นหรือเพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ 1.00 5 3 1
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. รับจริง / งบทดลอง 58 และ 59 สูตร = รับจริง 59 – รับจริง 58 X 100 รับจริง 58 5.2.3 การเพิ่มขึ้นโดยรวมของจำนวนเงินภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย ภาษีบำรุงท้องที่ ของเทศบาลหรือ อบต. 5 3 1 เพิ่มขึ้นจากปี 2558 เทศบาล อบต. ร้อยละ 6 ขึ้นไป ร้อยละ 8 ขึ้นไป ร้อยละ 3.00-5.99 ร้อยละ 4.00-7.99 ร้อยละ 1.01-2.99 ร้อยละ 1.01-3.99 ไม่เพิ่มขึ้นหรือเพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ 1
หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน สูตร = จำนวนเงินค่าธรรมเนียมฯ ที่จัดเก็บได้ทั้งหมดในปี 59 – 58 X 100 / ปี 58 - รายงานการรับจริงประกอบงบทดลอง ปี 58 และ 59 5.2.4 การเพิ่มขึ้นโดยรวมของจำนวนเงิน ค่าธรรมเนียมและใบอนุญาตตาม พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 เกณฑ์การให้คะแนน : เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 10.01 ขึ้นไป เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 5.01-10.00 เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 1.01-5.00 ไม่เพิ่มขึ้นหรือเพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ 1.00 5 3 1 สูตร = จำนวนเงินที่เก็บได้รวมปี 59 (ภาษีโรงเรือนฯ+ภาษีป้าย+ภาษีบำรุงท้องที่+ค่าธรรมเนียมและใบอนุญาตฯ) X 100 / จำนวนเงินทั้งหมดหากจัดเก็บได้ 100% โดยไม่มีลูกหนี้หรือผู้ค้างชำระในปี 59 5.2.5 สัดส่วนจำนวนเงินภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย ภาษีบำรุงท้องที่ ค่าธรรมเนียมและใบอนุญาตตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ที่จัดเก็บได้โดยรวมต่อจำนวนเงินที่ผู้ที่อยู่ในข่ายต้องชำระภาษีทั้งหมดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ร้อยละ 85 ขึ้นไป ร้อยละ 80.01-85.00 ร้อยละ 75.01-80.00 ร้อยละ 70.01-75.00 ร้อยละ 65.01-70.00 น้อยกว่าร้อยละ 65.00 4 2