การประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่ นายจิตตนาถ สิงห์โต ตำแหน่ง ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๒๘
การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ ๒ (๒๕๕๒ – ๒๕๖๑) เป้าหมาย การมีส่วนร่วม การเพิ่มโอกาส มาตรฐาน พัฒนาคุณภาพ
แนวทางการปฏิรูปการศึกษาและแนวทางการประเมิน ปรับกระบวนทัศน์การประเมิน สะท้อนคุณภาพ เน้นประเมินสภาพจริง ปรับปรุงมาตรฐาน และตัวชี้วัด ตามบริบทของสถานศึกษา ไม่ยุ่งยาก กระชับ ลดน้อยลง ปรับกระบวนทัศน์การประเมิน ลดเอกสาร ลดการจัดเก็บข้อมูล
แนวทางการปฏิรูปการศึกษาและแนวทางการประเมิน ให้คำแนะนำ/ให้คำปรึกษา มีมาตรฐาน ผู้ประเมิน น่าเชื่อถือ เป็นที่ยอมรับ ได้รับการรับรองจากกระทรวงศึกษาธิการ
องค์ประกอบ ของผู้ประเมิน ผู้เชี่ยวชาญ จาก สมศ. ผู้บริหาร สถานศึกษา ผู้แทนจากต้นสังกัด
การประเมินและ การประกันคุณภาพ การศึกษาแนวใหม่ Evidence based การประเมินและ การประกันคุณภาพ การศึกษาแนวใหม่ Peer Review Holistic Assessment Expert judgment
โครงสร้างเนื้อหา การพัฒนารูปแบบ การประเมินและการประกัน คุณภาพตามนโยบาย รูปแบบและแนวทาง การประเมินคุณภาพภายในแนวใหม่ มาตรฐาน เพื่อการประเมิน คุณภาพภายในสถานศึกษา รู้และเข้าใจ นโยบาย รู้และเข้าใจรูปแบบ การประเมินคุณภาพ รู้และเข้าใจ มาตรฐานเพื่อ การประเมินคุณภาพ วัตถุประสงค์
นโยบายรัฐบาลด้านการศึกษา (๑๐ ข้อ) ยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษา (๖ ด้าน) ๑. การประเมินครู ยุทธศาสตร์ ๓ การทดสอบการประเมิน การประกันคุณภาพและการพัฒนา มาตรฐานการศึกษา (๔ ด้าน) ๒. ระบบการศึกษาต่อ ๓. การประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ๔. การประเมินสถานศึกษา
นโยบาย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (๑๑ ข้อ) ๑. เร่งรัดปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒. เร่งรัดพัฒนาความแข็งแกร่งทางการศึกษา ๓. เร่งปรับระบบสนับสนุนการจัดการศึกษา ๔. ยกระดับความแข็งแกร่งมาตรฐานวิชาชีพ ๕. เร่งสร้างระบบให้เขตพื้นที่การศึกษาให้มีประสิทธิภาพ ๖. เร่งรัดปรับปรุงโรงเรียนให้เป็นองค์กรที่มีความเข็มแข็ง
นโยบาย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (๑๑ ข้อ) ๗. สร้างระบบควบคุมการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา ๘. สร้างวัฒนธรรมใหม่ในการทำงานให้มีประสิทธิภาพ ๙. เร่งปรับระบบบริหารงานบุคคล ๑๐. มุ่งสร้างพลเมืองดีนำการศึกษาไปแก้ปัญหาสังคม ๑๑. ทุ่มเทมาตรการเพื่อยกระดับคุณภาพสถานศึกษา
การปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่ ๑. ความสอดคล้องของ Quality code มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน และการประเมินภายนอก ๒. ระบบการประเมินและการประกันคุณภาพภายในที่ง่ายและชัดเจน ๓. การพัฒนารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ๔. การซักซ้อมและทำความเข้าใจกับระบบการประเมินแนวใหม่แก่สถานศึกษา ๕. กำหนดวิธีการได้มาของผู้ประเมิน ๖. การอบรมและพัฒนาผู้ประเมิน
การปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่ การพัฒนามาตรฐาน ตัวชี้วัด คู่มือ และระบบ การประเมิน การพัฒนาผู้ประเมิน คุณภาพภายใน การประเมินซ้ำ การประเมิน และการประกัน คุณภาพการศึกษา การพัฒนาการจัดเก็บ ข้อมูลด้วยระบบ Online การพัฒนาระบบ SAR ของสถานศึกษา การสื่อสาร มาตรฐาน คุณภาพ ของสถานศึกษาและระบบ การประเมินแนวใหม่
สร้างระบบความรับผิดชอบ เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา วิสัยทัศน์และเจตนารมณ์ การปฏิรูปการศึกษา สร้างระบบความรับผิดชอบ เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีอิสระ สถานศึกษา วิสัยทัศน์และเจตนารมณ์ ของสถานศึกษา ตอบสนองปัญหา ความต้องการของชุมชน ผู้ปกครอง ผู้เรียน
ย้อนอดีตการจัดการศึกษาไทย ๑. ด้านหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ - นักเรียนไม่มีความสุข - นักเรียนขาดระเบียบวินัย - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ - เนื้อหาไม่สอดคล้องกับบริบทของสังคม - กระบวนการเรียนรู้ไม่พัฒนาเด็ก - การเรียนภาษาอังกฤษขาดมาตรฐาน พบว่า
ย้อนอดีตการจัดการศึกษาไทย ๒. ด้านการผลิตพัฒนากำลังคนและงานวิจัย - ประเทศขาดกำลังแรงงานสายวิชาชีพ - งานวิจัยไม่สามารถนำไปใช้ได้จริง - มาตรฐานฝีมือยังไม่เป็นที่ยอมรับจากสถานประกอบการ - การผลิตบัณฑิตไม่เป็นไปตามความต้องการของประเทศ พบว่า
ย้อนอดีตการจัดการศึกษาไทย ๓. ด้านการประเมินและพัฒนามาตรฐานด้านการศึกษา - การประเมินคุณภาพครู - การประเมินสถานศึกษา - ระบบศึกษาต่อ - และการประเมินผลสัมฤทธิ์ยังไม่ได้มาตรฐาน พบว่า
ย้อนอดีตการจัดการศึกษาไทย ๔. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา - อุปกรณ์สารสนเทศยังไม่ทันสมัย - ไม่นำเอาขอมูลสารสนเทศไปพัฒนาให้เกิดประโยชน์ พบว่า
ย้อนอดีตการจัดการศึกษาไทย ๕. ด้านการบริหารและการจัดการ - ขาดการบูรณาการ - การกระจายอำนาจไม่จริงจัง - การกำกับดูแลขาดประสิทธิภาพ - ระบบงบประมาณไม่สอดคล้องต่อการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพ พบว่า
ย้อนอดีตการจัดการศึกษาไทย ๖. ด้านครูผู้สอน - ครูมีภาระงานมาก - ครูไม่ครบชั้นเรียน - สอนไม่ตรงตามวิชาเอก - ขาดขวัญกำลังใจ - ขาดทักษะในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ พบว่า
รูปแบบ การประเมินและ การประกันคุณภาพ การศึกษาแนวใหม่ Evidence based รูปแบบ การประเมินและ การประกันคุณภาพ การศึกษาแนวใหม่ Peer Review Holistic Assessment Expert judgment
รูปแบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่ การประเมินแบบองค์รวม (Holistic assessment) ๑. มุ่งประเมินในภาพรวม (ไม่แยกส่วน/องค์ประกอบ) ๒. ส่วนย่อยหน่วยงานย่อย จะถูกประเมินรวมไปด้วยกัน ๓. ต้องใช้ผู้ประเมินที่เชี่ยวชาญ มีประสบการณ์ (Professional judgment) ๔. ต้องมีร่องรอยหลักฐาน (Evidence based)
รูปแบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่ การทบทวนผลการจัดการศึกษา โดยบุคคลระดับเดียวกัน (Peer review) - เป็นระบบการตรวจเยี่ยม ติดตาม ประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ที่มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์คล้ายกัน ประเมินโดยกัลยาณมิตร ได้ข้อมูลตรงไปตรงมา จริงใจ ปราศจากอคติ
รูปแบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่ การตัดสินใจ โดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (Expert judgment) - ใช้เทคนิคการตรวจสอบข้อมูลสามเส้า (Data triangulation) ได้แก่ เวลา สถานที่ บุคคล
รูปแบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่ การประเมินบนพื้นฐานของหลักฐาน (Evidence based assessment) - เป็นการเก็บร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์ จากการสังเกต สัมภาษณ์
มาตรฐานการศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกอบด้วย ๔ มาตรฐาน มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ( 10 = ผลสัมฤทธิ์ 6+ คุณลักษณะ4) มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา (4) มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (3) มาตรฐานที่ ๔ ระบบประกันคุณภาพภายในที่ประสิทธิผล (1)
มาตรฐานการศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน - ความรู้ ความสามารถ ทักษะตามหลักสูตร มีพัฒนาการด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตลอดจนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
มาตรฐานการศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา - การบริหารจัดการสถานศึกษาที่ครอบคลุม ด้านวิชาการ ด้านบุคลากร ด้านข้อมูลสารสนเทศ ด้านสภาพแสดล้อม และเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษา
มาตรฐานการศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๓ ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ - กระบวนการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชนและท้องถิ่นตามความสนใจ ความต้องการ ความถนัดของผู้เรียน โดยใช้วิธีการที่หลากหลาย และสร้างโอกาสให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม
มาตรฐานการศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล - วางระบบการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน ให้เกิด การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายร่วมรับผิดและรับชอบต่อผลการจัดการศึกษา ให้มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน
สวัสดี