สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การพัฒนาหลักเกณฑ์การจ่าย Pay per performance : P4P
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การปฐมนิเทศ ข้าราชการใหม่ “ หลักสูตรการเป็น ข้าราชการที่ดี ” เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ CHRO ณ 26 พค
สรุปกิจกรรมการบริหารจัดการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ ปี 2559 รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
การเงินการคลัง โรงพยาบาลนครพิงค์ ปีงบประมาณ 2560
FAI60 อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ.
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
สรุปรายงานผลการนิเทศงานระดับอำเภอรอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2561 อำเภอวิเศษชัยชาญ วันที่ 13 มิถุนายน 2561.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากจราจรทางถนน
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ศูนย์ปฏิบัติการยุติวัณโรค NOC TB อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ.วิเศษชัยชาญ ( รอบที่ 2) วันที่ 9 มิถุนายน 2560

กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ

ประเด็น ผลงาน สาเหตุ /ปัญหา ข้อเสนอแนะ 1. การส่งเสริมสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 1.การฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์ <12 สัปดาห์ ร้อยละ 55.83 2. การฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 43.2 ผลการดำเนินงานเพิ่มสูงขึ้นกว่าการนิเทศครั้งที่ 1 แต่ยังไม่ได้ตามเป้าหมาย เนื่องจาก 1.ปกปิดการตั้งครรภ์ 2.ย้ายมาอยู่ตอนคลอด 3.ทำงานโรงงาน ฝากครรภ์คลินิก แต่เมื่อพิจารณาราย รพ.สต.พบว่าบางแห่งผลงานต่ำมาก เช่น ไผ่ดำพัฒนา ,คลองขนาก เป็นต้น - วิเคราะห์ปัญหาของการฝากครรภ์ช้าและฝากครรภ์ไม่ครบให้ชัดเจน แล้วจัดทำแผนแก้ไขปัญหา

ประเด็น ผลงาน สาเหตุ /ปัญหา ข้อเสนอแนะ 1. การส่งเสริมสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 3. เด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 48.23 -สภาพการเลี้ยงดูเด็กเปลี่ยนไปขาดความสนใจในการกระตุ้นพัฒนาการ - ส่งเสริมพ่อแม่ผู้ปกครองในการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก 4. 0-5ปี พัฒนาสมวัย ร้อยละ 96.91 -พัฒนาการสมวัยค่อนข้างสูงอาจอาจเนื่องจากคุณภาพและทักษะของการคัดกรอง - พัฒนาการทักษะการตรวจ ค้นหาสงสัยพัฒนาการล่าช้าเพิ่มขึ้นเพื่อเข้าสู่กระบาวนการกระตุ้นพัฒนาการ

ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 2. การส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น 1.การตั้งครรภ์ซ้ำหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปี ร้อยละ 15.27 ตั้งครรภ์สูงกว่าเป้าหมาย เนื่องจาก 1.ความต้องการมีบุตร 2. เปลี่ยนคู่ครอง ให้บริการคุมกำเนิดกึ่งถาวรหญิงที่มาคลอดครรภ์แรกให้ครอบคลุมเพิ่มขึ้น 3. งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ทำ Care Plan ได้ 225 คน จาก 539 คน ยังไม่ได้รับงบประมาณจากท้องถิ่นในการดำเนินงาน LCT ตำบลที่ดำเนินงาน LTC จัดทำ care Plan ยังไม่ครบ เนื่องจาก ยังขาดความชำนาญในการเขียน Care Plan แต่มีแผนทำให้เสร็จ มิ.ย. เร่งรัดจัดทำ Care Plan ให้ครบ -ส่ง Care Plan ให้อนุกรรมการกองทุน พิจารณาอนุมัติเงิน -ดำเนินการตาม Care Plan

ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 3. งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ -อปท. เข้าร่วม LTC จำนวน 7 แห่ง - ทำ Care Plan ร้อยละ 70.3 ตำบลที่ดำเนินงาน LTC จัดทำ care Plan ยังไม่ครบ เนื่องจาก ยังขาดความชำนาญในการเขียน Care Plan แต่มีแผนทำให้เสร็จ มิ.ย. เร่งรัดจัดทำ Care Plan ให้ครบ -ส่ง Care Plan ให้อนุกรรมการกองทุน พิจารณาอนุมัติเงิน -ดำเนินการตาม Care Plan 4.งานสุขภาพจิต อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ 12.47 ต่อปชก.แสนคน อัตราฆ่าตัวตายสูง เป็นอันดับ 1 ของจังหวัดซึ่งอาจมาจากสาเหตุด้านสังคม ครอบครัว และสุขภาพ คัดกรองผู้พยาบาลฆ่าตัวตาม -ดูแลกลุ่มเป้าหมายเน้นหนักในกลุ่มโรคทางจิตเวช โรคเรื้อรับ สารเสพติด เป็นต้น

กลุ่มงานควบคุมโรค

ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 1.อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนนไม่เกิน 18 : แสนประชากร (ปชก 57,389) ต.ค. 59 – พ.ค. 60 เสียชีวิต 21 ราย คิดเป็น 36.6 : แสนประชากร กิจกรรม 1.มีการคืบค้นข้อมูลในที่ประชุมหัวหน้าส่วนราชการ 2.มีการประชุมคณะกรรมการ ศปถ. ในช่วงเทศกาลเทศกาลปีใหม่ / สงกรานต์ ยังขาดการวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดอุบัติเหตุ /เสียชีวิตทางถนนอย่างครอบคลุม ยังขาดการวางแผนแก้ไขแผนมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง 1.นำข้อมูลที่วิเคราะห์ได้เข้าสู่เวที ประชุม ศปถ. อำเภอเพื่อร่วมวางแผนแก้ไข 2.ประชุมติดตาม ประเมินผลต่อเนื่อง 2. อัตราป่วยเบาหวานรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 2.4 -กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 2,884 ราย - ป่วย DM รายใหม่ 31ราย คิดเป็นร้อยละ 1.07 การให้คำแนะนำกลุ่มเสี่ยงรายบุคคล รพ.สต. บางแห่งจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงรายกลุ่ม โดยใช้งบกองทุนตำบล

ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 3.ร้อยละการควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิต ( ร้อยละ 40 , ร้อยละ 50) ควบคุม DM 3,847 ราย -ตรวจ Hba1c 2,694 ราย คิดเป็น ร้อยละ 70 -ควบคุมน้ำตาลได้ 927 ราย คิดเป็นร้อยละ 24.2 ผู้ป่วย HT จำนวน 8,468 ราย ตรวจ BP 5,586 ราย คิดเป็นร้อยละ 72.2 ควบคุม BP ได้ 3,596 ราย ร้อยละ 42.9 กิจกรรม จัดกิจกรรมให้คำแนะนำในคลินิก NCD ติดตามเยี่ยมบ้าน มี CQI ในภาพ CUP การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้ 4x4x4 model ปัญหาที่พบเป็นปัญหาเชื่อมโยงข้อมูลผู้ป่วย ได้แก่ 1.ผู้ป่วยไปรับบริการที่คลินิก / รพ.เอกชน 2.Diag ครั้งแรก เมื่อมา โรงพยาบาลและต่อมาไม่มีประวัติรักษาอีกเลย 3.ลงรหัส Diag ผิด 1.ตรวจสอบข้อมูลที่มีปัญหาเป็นราย รพ.สต. 2. สสอ. รวบรวมข้อมูลเพื่อนำไปสู่การแก้ไขโดย Admin ของ สสอ.และสสจ.

ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 4. ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราลดลงของ eGFR<4 mc/min/1.73m2/yr (ร้อยละ >= 65) ร้อยละ 62.35 กิจกรรม 1. รพ.วิเศษชัยชาญ เปิดบริการ CKD คลินิกสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ทุกวันพฤหัสบดี นัดผู้ป่วยดูแลแบบสหสาขาวิชาชีพ ระดับ 4 , 5 จำนวน 130 ราย 2.ผู้ป่วย Stage 1-3 ดูแลที่คลินิก NCD ของ รพ. และ รพ.สต. เนื่องจากในกลุ่ม Stage 3 เป็นการให้คำแนะนำรายบุคคลในคลินิก NCD การให้คำปรึกษายังไม่เข้มข้นพอที่จะทำให้ ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ ในผู้ป่วย Stage 3 ควรได้มีการทบทวนการจัดบริการให้ได้รับคำปรึกษาจาก สหวิชาชีพ เพิ่มขึ้น

กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ

ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 1. การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ( HA ) -HA ขั้นที่ 2 ยื่นหนังสือแสดงความจำนงเพื่อรับรองขั้น 3 ให้สรพ. แล้ว กำลังดำเนินการประเมินตนเองเพื่อส่งให้ สรพ. มีการประชุมทีมนำและตัวแทนงานที่เกี่ยวข้องทุกงานเพื่อทบทวนและติดตามการพัฒนาทุกเดือน ทีมย่อย แต่ละ PCTมีการประชุม กลุ่มงานเภสัชกรรมได้มีการตรวจเยี่ยมจากสภาวิชาชีพแล้วมีข้อเสนอแนะแก้ไขเร่งด่วนในเรื่องต้องมีเภสัชกรเป็นผู้จ่ายยาทุกรายโดยอนุโลมเวลาราชการก่อน กลุ่มงานชันสูตร สภาเทคนิคการแพทย์จะมาประเมิน สค. 60 (เงื่อนไข สรพ. รพ. 60 เตียงต้องผ่านการประเมินจาก สภาวิชีพ) -ดำเนินการแก้ไขให้มีการจ่ายยาโดยเภสัชกรในเวลาราชการทุกราย

ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 2. 2P Safety -มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานศูนย์เจรจาไกล่เกลี่ยแล้ว -มีการรายงานความเสี่ยงในระดับความรุนแรงต่างๆตามเกณฑ์กระทรวงกำหนด -ยังไม่มีครบองค์ประกอบตามแนวทางที่กระทรวงกำหนด - กรณีมีความเสี่ยงเกิดขึ้นในโรงพยาบาลอื่นเช่น ER รพช. บางแห่ง ให้นำมาทบทวน และจัดทำเป็นวิธีปฏิบัติ ( Work Instruction) ของโรงพยาบาล ทบทวนการแต่งตั้งคณะกรรมการตามหนังสือกระทรวงสาธารณสุขที่ สธ 0218/3636 ลงวันที่ 24 สิงหาคม 2559 ทบทวน และจัดหา

กลุ่มงานประกันสุขภาพ

ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 1. เพิ่มรายได้ -ได้ตามเป้าหมาย ทั้ง 3 กิจกรรม(กายภาพและทันตกรรม และแพทย์แผนไทย) -ไม่ได้ตามเป้าหมาย 2กิจกรรม (ฟิตเนส 170,216 ,ห้องเศษ 95,867) ฟิตเนส 1.มีการปรับเป้าหมายที่สูงขึ้น ห้องพิเศษ 1.มีการ Admit น้อย -เปิดรับสมัครรับผู้รับบริการภายนอกหรือประชาชนทั่วไปเริ่ม มิ.ย.

ประเด็น ผลงาน สาเหตุ/ปัญหา ข้อเสนอแนะ 2. ลดรายจ่าย - เวชภัณฑ์มิใช่ยา 5 ประเภท -ได้ตามแผน 4 ประเภท -สูงกว่าแผน คือวัสดุเภสัชกรรม ( 2,640 บาท) เนื่องจากต้องซื้อขวดแบ่งยา บางประเภท สติกเกอร์ที่ติดซองยา - การจัดทำแผนปีต่อปีต่อไปจัดทำแผนการให้สอดคล้องกับการใช้จริงของปีที่ผ่านมา - ค่าจ้างชั่วคราว -ค่าจ้างลูกจ้างชั่วคราวสูงกว่าแผน ( 515,649.74) -

ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 3. การจัดตั้งศูนย์จัดเก็บรายได้ มีการดำเนินงานจัดตั้งและกำหนดผู้รับผิดชอบ เป็นลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจนแล้ว

งานการเงินและบัญชี

ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 1.การจัดทำแผนทางการเงิน (แผนเกินดุล 3,415,459.86) มีการปรับแผน 6 เดือนหลัง ทำแผนเกินดุล (EBITDA) 1,394,056.62 -ค่าตอบแทน ฉ 11 เพิ่มจาก ฉ.8 จำนวน 2.64 ล้าน เพิ่มรายได้ นอกเวลา Fitness=1,200,000 บาท กายภาพบำบัด=330,000 บาท แพทย์แผนไทย =1,660,000 บาท ทันตกรรม =336,680 บาท ห้องพิเศษ =1,000,000 บาท -กำกับให้การดำเนินงานเป็นไปตามแผน

ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 2.ผลต่างแผนและผล ไม่เกินร้อยละ 5 (พย.59รายได้ 38.48% ค่าใช้จ่าย -11.44%) ไตรมาส 2/60 รายได้ 22.34 % ค่าใช้จ่าย -3.88 % เมย 60 รายได้ 9.91% ด้านค่าใช้จ่าย -10.01%) -มีการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานตามแผนเพื่อหาสาเหตุและนำเสนอที่ประชุมทุกเดือน รายได้ค่ารักษาน้อยกว่าแผนเกิน 5% รวม 2.63 ล้าน ร้อยละ -9.68% ดังนี้ (EMS -7.08,ต้นสังกัด –21.77,อปท-14.85กรมบัญชีกลาง -11.44,-ประกันสังคม -16.68,ต่างด้าว-28.62)เนื่องจากมีการปรับแผนเพิ่มรายได้ใน 6 เดือนหลัง ค่าใช้จ่ายเกินแผน ต้นทุนเวชภัณฑ์มิใช่ยาและวัสดุการแพทย์ 4.45 ,ค่าจ้างชั่วคราว 1.45, หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ 18.01 ค่าใช้จ่ายที่ต่ำกว่าแผนเกินร้อยละ 5 มีค่าใช้สอย -22.09( ซ่อมครุภัณฑ์/ประกันรถพยาบาล)ค่าสาธารณูปโภค –18.52 (เปลี่ยนเครื่องปรับอากาศ ได้รับงบสนับสนุนจากกรมอนุรักษ์พลังงาน จำนวน 33 ตัว เหลือรอติดตั้งอีก 9 ตัว) วัสดุใช้ไป -26.52 (สมทบหลอดLED) ค่าใช้จ่ายอื่น -40.09 (โครงการPP รอเบิก 4.6 ล้าน ) ให้มีการวิเคราะห์หาสาเหตุและวางแนวทางกำกับให้เป็นไปตามแผน

พยากรณ์แนวโน้มไตรมาส 4 ปี 60 งปม. CR (<1.5) QR(<1) Cash (<.80) NWC(<0) NI+Depreciation Risk scoring เมย.60 0.85 0.79 0.49 -6,839,280.10 17,191,148.64 4 Planfin รายได้ Planfin ค่าใช้จ่าย NI Risk scoring 179,947,134.43 187,039,348.53 -7,092,214.10 7 ผลการดำเนินงานตามแผน เดือนเมษายน 2560 รายได้ค่ารักษาน้อยกว่า 2.68 ล้าน ค่าใช้ต่ำกว่าแผน 7,060,171.56 (มีแผนดำเนินการ ยกเว้นรายการค่าสาธารณูปโภค จะประหยัดได้ 840,000 บาท

ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 2.1ระบบสอบทานรายงานการเงินกับข้อมูลรักษา 3.ประเมินประสิทธิภาพการเงิน 7 ตัว (เกณฑ์ผ่าน 4 ตัว) 4.หน่วยบริการมีสัดส่วนของต้นทุนต่อรายได้ไม่เกิน ค่าmean+1SD ของกลุ่มบริการระดับเดียวกัน (20กลุ่ม) (รพช. F 1 50,000-100,000) มีการมอบหมายผู้รับผิดชอบในการรายงานลูกหนี้ให้บัญชี ไตรมาส 2/60 ผ่าน 6 ตัว (A-) ไตรมาส2/60 (ผ่าน) =0.20 (mean+1SD=0.35) มีการสอบทานข้อมูลการการรักษาพยาบาล การเรียกเก็บยังไม่ครอบคลุมทุกสิทธิ(มีการสอบทาน สิทธิกรมบัญชีกลาง และสิทธิ UC) -ระยะเวลาชำระหนี้ 295 วัน cash 0.58 (เกณฑ์ cash <0.8 จ่ายภายใน 180 วัน การประมวลผลโดยส่วนกลางทางรพ.ไม่ทราบข้อมูล ให้มีการสอบทานข้อมูลการรักษา(hosxp},การเรียกเก็บ,ทะเบียนคุมลูกหนี้ค่ารักษา ทำแผนการชำระหนี้ยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา จัดระบบชำระหนี้ก่อน-หลัง มีระบบการบริหารสั่งซื้อ รับรู้หนี้สิน จังหวัดประสานส่วนกลางเรื่องการส่งข้อมูลผลการประเมิน

ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 5.คะแนนการประเมิน FAI ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ไตรมาส 2/60 ได้ 96 % (ผ่าน) ไม่มี กิจกรรมการควบคุมภายใน ให้ดำเนินการตามขั้นตอนที่กำหนด โดยให้ส่งผลการดำเนินการตามแผนและผล การพัฒนาองค์การ 5 มิติ ให้กลุ่มตรวจสอบภายใน สป. ภายใน 30 มิย 60 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพบัญชี ให้ดำเนินการตามเกณฑ์ที่กำหนดและกิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังให้ดำเนินให้ครบทุกขั้นตอนตามเกณฑ์ที่กำหนด

ถาม - ตอบ