บทที่ 4 การวิเคราะห์ระบบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
System Requirement Collection (2)
Advertisements

การเขียนโครงร่างวิจัย
อ. สิริพร มีนะนันทน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
เทคนิคการเขียนข่าว การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น มีโครงสร้างการเขียนข่าว ประกอบด้วย 1.พาดหัวข่าว (Headline) 2.ความนำ (Lead) 3.ส่วนเชื่อม (Neck/Bridge)
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
แบบสอบถาม (Questionnaire)
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
เอกสารการบรรยายเรื่อง
กระบวนการของการอธิบาย
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใช้เพื่อคลิ๊กไปสู่ หน้าถัดไป ใช้เพื่อคลิ๊กกลับ หน้าเดิม ใช้เพื่อคลิ๊กกลับสู่ หน้าหลัก ใช้คลิ๊กเมื่อต้องการ ออกจากระบบ.
ความหมายของโครงการ โครงการ (PROJECT) โครงการ (PROJECT) กระบวนการ ทำงานที่ประกอบด้วยกิจกรรมหลาย ๆ กิจกรรม ซึ่งมีการทำโครงการเป็นไปตามลำดับ โดยการ ทำงานจะต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ (Information System Analysis and Design) โดย อ.ประจักษ์ เฉิดโฉม.
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
การขอโครงการวิจัย.
SMS News Distribute Service
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
บทที่ 6 การรวบรวมข้อมูล.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
เล่าเรื่องอย่างผู้นำ Coaching by story
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
หลักการเขียนข่าว เพื่อการประชาสัมพันธ์องค์กร
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตภาคใต้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 การวิเคราะห์ระบบ System Analysis Pichaya 2411@hotmail.co.th

กิจกรรมหลัก 5 กิจกรรมในการวิเคราะห์ระบบ ทำความเข้าใจระบบงานเดิม รวบรวมความต้องการ กำหนดสิ่งที่ต้องการของระบบใหม่ สร้างแบบจำลองกระบวนการ สร้างแบบจำรองข้อมูล รวบรวม และ ทบทวนเอกสาร เพื่อจัดทำเป็นข้อเสนอสำหรับระบบงานใหม่

การกำหนดความต้องการ (Determination of Requirements) สิ่งที่ผู้ใช้ต้องการระบบ ผู้ที่เกี่ยวข้องนำไปคิดวิเคราะห์แล้ว อาจออกแบบผลิตภัณฑ์ ได้ลักษณะแตกต่างกัน ทำให้ผลิตภัณฑ์ที่สร้างขึ้นไม่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ได้ นักวิเคราะห์ต้อง ทำการสำรวจ และทำความเข้าใจเกี่ยบกับรายละเอียดระบบงานเดิมให้เข้าใจ ถือเป็นสิ่งสำคัญมาก

กิจกรรมในการวิเคราห์ความต้องการ (Activities in Requirements Analysis) 1 การคาดเดาความต้องการ (Requirements Anticipation) 2 การสำรวจความต้องการ (Requirements Investigation) 3 การสร้างข้อกำหนดความต้องการ (Requirements Specification) - การวิเคราะห์ข้อเท็จจริงในข้อมูล(Analysis of Factual Data) - กำหนดสาระสำคัญของความต้องการ - กลยุทธ์การคัดเลือกความต้องการ

ความต้องการของผู้ใช้ (User Requirenents) ยากต่อการทำความเข้าใจ มีความสับสน ความต้องการผสมรวมกัน เขียนด้วยภาษาธรรมชาติ

เทคนิคการรวบรวมความต้องการ เทคนิคการสืบเสาะข้อเท็จจริง รวบรวม วิเคราะห์เอกสาร สังเกตุ แบบสอบถาม สัมภาษณ์

1) เทคนิคการสืบเสาะข้อเท็จจริง(5W + 1H) Who มีใครเกี่ยวข้องบ้าง? บทบาทของแต่ละคนนั้นคืออะไร? ใครเป็นบุคคลแท้จริงที่ร้องขอเพื่อพัฒนาระบบใหม่? What อะไรคือสิ่งที่ทำให้เกิดปัญหา? ระบบที่ต้องการหรือระบบที่อยากได้คือ ระบบอะไร? มีฟังก์ชันการทำงานอะไรบ้าง? When ระบบติดตั้งได้เมื่อไร? ผู้สนับสนุนเงินทุนพร้อมที่จะสนับสนุนเมื่อไร? ทดสอบระบบใหม่เมื่อไร? Where บริเวณสถานที่ใด ที่ระบบใหม่สามารถดำเนินการได้อย่างเหมาะสม Why ทำไมต้องแสวงหาระบบใหม่? ทำไมผู้ใช้จึงเชื่อว่าระบบใหม่สามารถแก้ไขปัญหาได้? How ระบบใหม่จะทำงานได้อย่างไร? มีข้อจำกัดอย่างไร?

2. รวบรวม วิเคราะห์เอกสาร (Documentation) ข้อมูลที่ได้จากเอกสาร ปัญหาของระบบงานปัจจุบัน โอกาสที่จะพบกับความต้องการใหม่ ทิศทางขององค์กรที่มีอิทธิพลต่อความต้องการระบบสารสนเทศ ตำแหน่งงานและชื่อของคนที่มีความสำคัญซึ่งเกี่ยวกับระบบงานที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน คุณค่าขององค์กร เหตุการณ์ที่ผิดปกติ เหตุผลของการออกแบบระบบที่ใช้อยู่ปัจจุบัน ข้อมูล กฎเกณฑ์การประมวลผล

ชนิดของเอกสาร ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (procedure) รายงาน คำอธิบายว่างานนี้ทำอย่างไร วิธีการทำงาน ข้อมูลที่ใช้ในขั้นตอนต่าง ๆ ฟอร์ม ข้อมูลเข้า ข้อมูลออก รายงาน ต้องใช้ข้อมูลอะไรถึงได้สารสนเทศที่ปรากฏในรายงาน คำอธิบายระบบงานเดิม ผังงาน พจนานุกรมข้อมูล

การสังเกตุ (Observation) การสังเกตุ เป็นการสังเกตุพฤติกรรมของผู้ที่มีอำนาจในการตัดสินใจ ต้องวิเคราะห์ให้ได้หลักความจริง หรือสิ่งที่กระทำ สิ่งที่สังเกตุ กิจกรรมต่าง ๆ (activities) ข่าวสาร (messages) ความสัมพันธ์ (relationships) อิทธิพล (Influence)

การวางแผนเตรียมการสังเกตุ ตัดสินใจว่าไปสังเกตุเรื่องอะไร ตัดสินใจว่าสิ่งที่จะสังเกตุมีรายละเอียดระดับไหน จัดกลุ่มเรื่องที่ต้องการสังเกตุ เตรียมสเกล checklist หรืออุปกรณ์อื่น ๆที่ใช้ในการสังเกตุ ตัดสินใจว่าจะไปสังเกตุเมื่อไหร่

การสุ่มตามเวลาและเหตุการณ์ในการสังเกตุพฤติกรรม การสังเกตุสามารถเลือกเวลาในการไปสังเกตุ ดังนี้ สุ่มตามเวลา (Time sampling) : กำหนดเวลาที่แน่นอนในการสังเกตุพฤติกรรม ไม่สนใจว่าตอนนั้นจะทำกิจกรรมอะไร เช่น ถ้ามีเวลาไม่มากนัก ทำการสุ่มประมาณ 5 ครั้ง ครั้งละ 10 นาที โดยทำการดูพฤติกรรมของผู้ที่มีอำนาจในการตัดสินใจ

การสุ่มตามเวลาและเหตุการณ์ในการสังเกตุพฤติกรรม สุ่มตามเหตุการณ์ (event sampling) : เจาะจงตามเหตุการณ์ที่กำหนดวัตถุประสงค์ไว้ เช่น เฉพาะที่มีการประชุมผู้บริหาร การอบรมผู้ใช้ระบบ การสัมนา การแสดงสินค้า การแถลงสรุปรายงานประจำปี เป็นต้น

ข้อดีและข้อเสียของการสุ่มตามเวลา และตามเหตุการณ์ สุ่มตามเหตุการณ์ ข้อดี ทำให้ไม่โอนเอียงไปสังเกตุกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งมา สามารถทำการสุ่มได้บ่อยครั้ง สังเกตุพฤติกรรมในเหตุการณ์ที่ช่วยในการแก้ปัญหา สังเกตุเหตุการณ์ที่มีความสำคัญ ๆ ได้ ข้อเสีย อาจเก็บข้อมูลที่ไม่ช่วยในการตัดสินใจ สุ่มเวลาไม่ตรงกับกิจกรรมกิจกรรมสำคัญ ใช้เวลามาก ไม่ได้เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นบ่อย ๆ

การสังเกตุพฤติกรรมทางกาย เป็นการสังเกตุในช่วงที่สัมภาษณ์ หรือดูปฏิกิริยาในเวลาต่าง ๆ สิ่งที่สามารถสังเกตุได้คือ ความกระตือรือร้น ความตั้งใจ

แบบฟอร์มการสังเกตุพฤติกรรมทางกาย ลักษณะของผู้ถูกสังเกตุ มีความแน่วแน่ / ไม่แน่วแน่ เยือกเย็น / กระตือรือร้น เชื่อถือได้ / ไม่น่าเชื่อถือ ดูจากภายนอก / ดูลึกถึงภายใน ช่างพูด / เงียบ อธิบายชัดเจน / กำกวม มีอำนาจในการตัดสินใจ / ไม่มีอำนาจ พูดนำก่อน / เป็นผู้ตาม มีเป้าหมายที่ต้องการ / ไม่เน้นเป้าหมาย เป็นผู้แก้ปัญหา / เป็นผู้ทำให้เกิดปัญหา

แบบสอบถาม (Questionnaire) ชนิดของข้อมูลที่สืบค้นได้โดยวิธีการใช้แบบสอบถาม ทัศนคติ : สิ่งที่คนในองค์กรนั้นพูดถึงสิ่งที่เขาต้องการ ความเชื่อ : คนในองค์กรมีความเชื่อเรื่องอะไร ความประพฤติ : พฤติกรรมของคนในองค์กร คุณสมบัติ : สิ่งซึ่งบอกถึงคุณสมบัติของคน และสิ่งต่าง ๆ ในองค์กร

แบบสอบถาม (Questionnaire) เมื่อไหร่ควรใช้แบบสอบถาม องค์กรตั้งอยุ่ในหลายพื้นที่ และผู้ใช้ระบบกระจายกันอยู่ จำนวนผู้ใช้ระบบมีจำนวนมาก เพื่อรวบรวมความคิดเห็นของคนส่วนใหญ่ ก่อนจะเจาะกลุ่มเฉพาะเจาะจงในรายละเอียด เมื่อทราบปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากข้อมูลจากแบบสอบถาม แล้วจึงเจาะประเด็นโดยการใช้การสัมภาษณ์

การเขียนแบบสอบถาม ลักษณะคำถามจะคล้าย ๆ กับการสัมภาษณ์ ประเภทคำถาม Open-ended question Close question

ภาษาที่ใช้ในแบบสอบถาม ใช้ภาษาที่ตอบสนองได้ดี ใช้ศัพท์ที่เข้าใจง่าย หลีกเลี่ยงการใช้คำถามที่เป็นคำเฉพาะให้มากที่สุด เนื่องจากความหมายอาจไม่ชัดเจน ใช้คำถามที่สั้น กระชับ ได้ใจความ ไม่ใช้คำหยาบ หลีกเลี่ยงคำถามนำ

การออกแบบสอบถาม รูปแบบของแบบสอบถาม อย่าให้จำนวนคำถามมากเกินไป จัดรูปแบบให้สวยงาม เว้นช่องว่างให้เหมาะสม ถ้าเป็นคำถามปลายปิด ควรมีเนื้อที่ให้เพียงพอในการตอบ ถ้าเป็น คำถามแบบให้เลือกตอบ ควรบอกให้ชัดเจนว่าให้วงกลม หรือกากบาท และเว้นที่ว่างไว้ให้วงกลมด้วย จัดรูปแบบคำถามให้เป็นไปตามเป้าหมาย ถ้าใช้เครื่องอ่าน ต้องทำให้ตรงรูปแบบของเครื่อง ออกแบบสอบถามให้มีรูปแบบที่สอดคล้องกัน

การออกแบบสอบถาม การจัดเรียงคำถาม คำถามที่มีความสำคัญในการตอบสนองควรเป็นคำถามแรก กลุ่มหัวข้อคำถามต่าง ๆ ที่เหมือนกัน ควรอยู่ในกลุ่มเดียวกัน ไม่ควรตั้งคำถามชี้นำไปยังปัญหาที่จะเกิดขึ้น

การจัดการแบบสอบถาม ส่งแบบสอบถามไปให้ผู้ที่ต้องการให้ตอบ มีวิธีการส่งหลายวิธี เช่น ส่งให้เองและให้ผู้ตอบตอบตอนนั้นเลย ส่งไปแล้วเก็บภายหลัง ส่งไปแล้วให้ผู้ตอบส่งกลับ ส่งไปรษณีย์ ส่ง e-mail นำคำตอบมาวิเคราะห์

การสัมภาษณ์และสนทนากับผู้ใช้ สิ่งที่ได้จากการสัมภาษณ์ ข้อเท็จจริง ความคิดเห็น ความคาดหวัง ท่าทาง อารมณ์ บุคลิก

การสัมภาษณ์ (Interview) การสัมภาษณ์ เป็นการสนทนาที่มีวัตถุประสงค์ เฉพาะ โดยใช้การสนทนาที่มีรูปแบบคำถามและ คำตอบ เพื่อเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ - Current state of the system - Organizational and personal goals - Opinions and Feeling - Informal procedures

ประเภทของการสัมภาษณ์ Structure เป็นการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง มีรูปแบบ มีขั้นตอนที่ชัดเจนว่าจะถามอะไร ถามคำถามตามโครงสร้างที่วางไว้ Unstructured ไม่มีโครงสร้างคำถามที่เตรียมไว้ อยากถามอะไรถามโดยไม่มีการเตรียมคำถามล่วงหน้า unstructured structured ไม่มีการเตรียมการอะไรเลย มีเพียงหัวข้อในการสัมภาษณ์ ไม่มี list คำถาม มีการเตรียมการทุกอย่าง มี list คำถาม มีการจัดโครงสร้างของคำถาม

การเตรียมตัวในไปการสัมภาษณ์ Planning the interview ทราบว่าต้องไปสัมภาษณ์ใครเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ต้องการ ตั้งวัตถุประสงค์ในการสัมภาษณ์ ตั้งคำถามที่จะถาม เตรียมการสัมภาษณ์ ดำเนินการสัมภาษณ์ บันทึกคำสัมภาษณ์ ประเมินผลการสัมภาษณ์

ประเภทของคำถาม (Question type) Open-Ended : คำถามปลายเปิด Close Question : คำถามปลายปิด Probe or follow-up Question คำประเภท Yes/No Question

Question types : Open-ended question คำถามปลายเปิด เป็นคำถามที่ผู้ตอบสามารถตอบอะไรก็ได้ โดยผู้ถามไม่สามารถคาดเดาคำตอบได้ ตัวอย่าง -What’s your opinion of the present computer system? - How does this form relate to your work? - What are some of the common errors made in data entry in this department?

สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยงในการตั้งคำถาม (Question pitfalls) หลีกเลี่ยงคำถามนำที่จะให้คนตอบ ตอบแบบที่เราต้องการเท่านั้น (Avoiding leading questions) อย่าถามคำถาม 2 คำถามพร้อมกัน ควรถามทีละคำถาม (Avoiding double-barreled questions)

การเขียนรายงานการสัมภาษณ์ เมื่อจบการสัมภาษณ์ ควรเขียนรายงานทันที หรือเร็วที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ ให้ผู้ตอบคำถาม review ว่าเป็นที่สิ่งที่เขาให้คำตอบหรือไม่

เทคนิคการรวบรวมความต้องการ (Requirements Gathering Techniques) การวางแผนความต้องการร่วมกัน (Joint Requirements Planning: JRP) ใช้เทคนิค Brainstorming ในการทำ Workshop มีการแบ่งงานหรือมอบหมายหน้าที่ และทุกคนต้องร่วมมือร่วมใจในการประชุมร่วมกันเพื่อปรึกษาหารือ จึงสามารถบรรลุผลสำเร็จได้ดี

ความต้องการของระบบ (System Requirements) เป็นการเขียนมุมมองของผู้พัฒนาระบบ เพื่อเริ่มต้นของการออกแบบระบบ โดยระบุสิ่งที่ระบบจะต้องทำว่ามีอะไรบ้าง เอกสารความต้องการของระบบ เรียกว่า “ Functional Specification”

ความต้องการของระบบ (System Requirements) สามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ ความต้องการที่เป็นฟังก์ชันการทำงาน (Functional Requirement) 2. ความต้องการที่ไม่ได้เป็นฟังก์ชัน (Non- Functional Requirement) 156-157

ชนิดของความต้องการ (Type of Requirements) Function Non-Function บันทึกลงในเอกสาร บันทึกลงในเอกสาร ทราบขั้นตอน อินเตอร์เฟช บรรยายถึงคุณภาพ เทคนิคต่างๆ ที่ซอฟต์แวร์ พึงมี แนวทางการออกแบบ (guide design) แนวทางการวิเคราะห์ (guide analysis)

ขั้นตอนการพัฒนาระบบตามแบบแผน SDLC AS-IS System Planning Analysis Design Implement To-Be System Understand As-is system Identify improvements Develop Concept for The to-be system แสดงขั้นตอนการพัฒนาระบบตามแบบแผน SDLC โดยในระยะการวิเคราะห์ จะต้องทำความเข้าใจกับ ระบบงานเดิม การเพิ่มเติมความต้องการ เพื่อพัฒนาแนวคิดสำหรับระบบใหม่ที่จะเกิดขึ้น

การวิเคราะห์ความต้องการ (Requirement Analysis) วิเคราะห์ข้อเท็จจริงในข้อมูล กำหนดสาระสำคัญของความต้องการ คัดเลือกความต้องการที่ตรงกับวัตถุประสงค์

หลักการค้นหาความต้องการที่ดี ค้นหาความต้องการกับบุคคลที่เกี่ยวข้องโดยตรง ระบุความต้องการในรูปแบบเอกสาร มีการทำความตกลงทั้งสองฝ่าย เขียนคำจำกัดความบนเอกสาร

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระบบ (Stakeholders) แหล่งทรัพยากรของความต้องการะบบ เจ้าของ ผู้ใช้ระบบ นักออกแบบระบบ นักพัฒนาระบบ นักวิเคราะห์ระบบ Vendor and Consultant

จบบทที่ 4 ^^ Q&A