แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
Advertisements

Merchant Marine Training Centre วิชาการเป็นเลิศ เชิดชู คุณธรรม ผู้นำ.
วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
5.3 สัญลักษณ์และความสัมพันธ์แรงดัน-กระแสของ MOSFET
Lecture Notes EGCE 421 Water Resource Engineering
การไหลเวียนของบรรยากาศและน้ำในมหาสมุทร
9. พฤติกรรมของสารเคมีกำจัดวัชพืชในต้นพืช
Cell Specialization.
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
การใช้โปรตีนสกิมเมอร์
Caution 1. Do not ingest 2. Avoid contact with eyes 3. Wear suitable gloves for prolong contact or user who allergic 4. Do not discard CCS 350 AP FLOOR.
พญ. นฎา เทพาวัฒนาสุข แผนกผิวหนัง โรงพยาบาลพญาไท ศรีราชา
kG/Month Baht/Month Efficiency Chemical dosage Maintenance cost kW/RT
6.11 น้ำใต้ดิน 1. ชั้นของวัตถุพรุนใต้ระดับน้ำใต้ดิน Zone of Saturation 1.1 Aquifer = วัตถุพรุนมีน้ำบรรจุเต็ม สามารถเคลื่อนย้ายได้เพียงพอในแง่ Economic.
Observation Activities of Green Mung Beans. The scientific method of Growth of green mung beans 1. Observation The growth of green beans in different.
การพังทลายของคันทางเนื่องจากน้ำลดระดับอย่างรวดเร็ว (Rapid Drawdown)
การทดลองที่ 5 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I
11.2 ประเภทของ Soil erosion Geologic or Natural or Normal erosion - Leaching (percolation) - Surface erosion - Landslide - Wind erosion Accelerated.
Applied Geochemistry Geol รองศาสตราจารย์ ดร. เบ็ญจว รรณ รัตนเสถียร ภาควิชาธรณีวิทยา คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
9.1 นิยามและ ความหมาย Evaportranspiration = Evaporation + Transpiration Evaporation = The transfer of water into the atmosphere from the free water surface,
จุดประสงค์เพื่อวิเคราะห์
การทดลองที่ 5 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I
Seismic method นพดล ภูมิวิเศษ เรียบเรียง.
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
การพัฒนาอิฐคอนกรีตน้ำหนักเบาผสมเถ้าปาล์มน้ำมัน DEVELOPMENT OF LIGHTWEIGHT CONCRETE MASONRY UNIT USING OIL PALM ASH นักศึกษา: น.ส.พัชราวรรณ เก๊อะเจริญ อาจารย์ที่ปรึกษา:
Overview Task and Concept of Sensor Part TESA TopGun Rally 2010 Quality Inspection for Smart Factory: Bottled Water ดร.ณรงค์เดช กีรติพรานนท์ อ.นุกูล.
ความรู้เรื่องอัคคีภัย Fire Prevention And Control
ดับเพลิงขั้นต้น ทรงพล หอมอุทัย.
ปฐพีศาสตร์ทั่วไป (General soil)
New Chapter of Investment Promotion
การพัฒนากากเถ้าชานอ้อยสำหรับการเป็นวัสดุปอซโซลาน (Development of the sugarcane bagasse ash waste a pozzolanic materials) นายภัทรเมศ หอมสมบัติ*1, นายกฤติเดช.
การเขียนโปรแกรมรับข้อมูลแบบอนาล็อก
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
1. น้ำหนักดินเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก
(Introduction to Soil Science)
แนวทางและประสบการณ์ การฟื้นฟูพื้นที่ที่ผ่านการทำเหมืองแร่
Food Contact Surface Packaging Sniff Test
หลักการเดินสำรวจโรงงาน (walkthrough survey)
หมวด ง. งานดิน งานดิน ขุดดิน ถมดิน บดอัดดิน. หมวด ง. งานดิน งานดิน ขุดดิน ถมดิน บดอัดดิน.
กลศาสตร์ของไหล Fluid Mechanics
Wave Characteristics.
Air-Sea Interaction 2.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุคนธา ศิริ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
น้ำในดิน (Soil Water).
การงอกของเมล็ด นางสาว ปรียาพร สำอางอินทร์ เลขที่ 10ก
พลังงาน (Energy).
ประกาศกรมเจ้าท่า ที่ 164/2560
การย่อยสลายสีย้อมเมทิลีนบลูด้วยกระบวนการพลาสมาวัฏภาคของเหลว
การบัดกรีชิ้นงานอิเล็คทรอนิคส์
การตรวจวัดคลื่น.
Air-Sea Interaction Part 1.
ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการวิจัย (Lab Safety)
Property Changes of Mixing
แผนที่และสัญลักษณ์ต่างๆ ในแผนที่
ความรู้เรื่องเครื่องปรับอากาศในอาคาร
รายงานโครงการ BC-LED 14 มีนาคม พ.ศ
คุณภาพของผักหลังการเก็บเกี่ยว
เครื่องขูดหินปูนไฟฟ้า
การจัดการความรู้ กรมชลประทาน Knowledge management (KM)
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรมรชาติ
การจัดหาน้ำสะอาด อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและการจัดการ
บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพ
สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์
วัฏจักรสารในระบบนิเวศ
วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ ณ ห้องประชุมย่อยศูนย์สถานการณ์น้ำ
การลัดวงจรในระบบไฟฟ้ากำลัง Fault in Power System
E-SERVICE.
การเขียนภาพพิคโทเรียล (Pictorial Drawing )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่ หิมะ และลูกเห็บ เป็นต้น แหล่งน้ำผิวดิน (Surface Water) ได้แก่ น้ำในบรรยากาศที่กลั่นตัวเป็นหยดน้ำและตกลงสู่ผิวโลก ไหลลงมาขังตามแอ่งที่ต่ำ เช่น หนอง บึง แม่น้ำ ทะเล ทะเลสาบ เป็นต้น

แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำใต้ดิน (Ground Water) เป็นน้ำที่ไหลซึมผ่านชั้นดิน และหิน ลงไปสะสมตัวอยู่ตามช่องว่างระหว่างอนุภาคดินและหิน น้ำชนิดนี้มีประโยชน์มาก และเป็นตัวการสำคัญในการควบคุมการแพร่กระจายพรรณพืช ตลอดจนเป็นตัวทำละลาย และตกตะกอนเป็นสารประกอบหลายอย่างใต้พื้นดิน น้ำที่เป็นส่วนประกอบทางเคมี (Chemical Water) ได้แก่ น้ำที่เป็นองค์ประกอบทางเคมี หรือเป็นองค์ประกอบในแร่ หิน และดิน

พลังงานน้ำ สถานการณ์ใดบ้างที่แสดงว่า น้ำมีพลังงาน พลังงานน้ำขึ้นอยู่กับสิ่งใดบ้าง

การเรียนรู้และเข้าใจธรรมชาติของน้ำ น้ำเป็นพลังงานมีความสามารถทำให้วัตถุเคลื่อนที่ได้ พลังงานน้ำที่ได้จะขึ้นอยู่กับความสูงของน้ำและอัตราการไหลของน้ำที่ปล่อยลงมา มวล อัตราเร็ว และความสูงมีผลต่อพลังงานจลน์และพลังงานศักย์ของน้ำ การถ่ายโอนพลังงานศักย์กับพลังงานจลน์ของวัตถุ รวมทั้งการถ่ายโอนพลังงานของระบบกับสิ่งแวดล้อม เป็นไปตามกฎการอนุรักษ์พลังงาน

หาแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิต

หาแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิต หลุก หรือระหัดวิดน้ำ ใช้สำหรับวิดน้ำเพื่อการเกษตร

หาแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิต โรงไฟฟ้าพลังน้ำ เขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก

กิจกรรม สว่างไสวด้วยสายน้ำ หากนักเรียนอาศัยอยู่ในหมู่บ้านแห่งหนึ่งที่อยู่ห่างไกลไม่มีไฟฟ้าใช้ และต้องการผลิตไฟฟ้าใช้เองภายในหมู่บ้าน ซึ่งในบริเวณใกล้เคียงกับหมู่บ้านนั้นมีน้ำตกไหลตลอดทั้งปี นักเรียนจะสร้างแบบจำลองกังหันน้ำที่สามารถผลิตไฟฟ้าได้มากที่สุดอย่างไร

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

กิจกรรม สว่างไสวด้วยสายน้ำ ลำดับกิจกรรม สำรวจวัสดุ อุปกรณ์ ออกแบบชิ้นงาน 20 นาที ลงมือสร้างชิ้นงาน 60 นาที ทดสอบ 40 นาที อภิปรายและสรุปผล 60 นาที

กิจกรรม สว่างไสวด้วยสายน้ำ การทดสอบชิ้นงาน วัดความสูงจากระดับที่ปล่อยน้ำถึงจุดที่น้ำกระทบกับกังหัน ที่ระยะ 0.6 เมตร 1 เมตร และ 1.5 เมตร

กิจกรรม สว่างไสวด้วยสายน้ำ รายการวัสดุอุปกรณ์ต่อ 1 กลุ่ม วัสดุ : 1. ฝาขวดน้ำพลาสติก 2. ช้อนพลาสติก 3. พลาสติกลูกฟูก 4. ไม้เสียบลูกชิ้น 5. กระดาษเทปกาว 6. พลาสติกเจาะรูสำหรับเสียบใบพัด แบบ 6 รู และ 8 รู 7. ฐานกังหันน้ำจากไม้ 8. ชุดมอเตอร์ไฟฟ้าขนาดเล็กพร้อม LED อุปกรณ์ : 1. ปืนกาว 2. กรรไกร 3. คัตเตอร์ 4. ไม้บรรทัด 5. ไขควง 6. มัลติมิเตอร์

ออกแบบชิ้นงาน มีความรู้เกี่ยวข้องกับเรื่องใดบ้าง วางแผน ออกแบบ ชิ้นงาน นำเสนอแนวคิด

กิจกรรม สว่างไสวด้วยสายน้ำ ทดสอบครั้งที่ ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า (โวลต์) ความสูง 0.6 เมตร ความสูง 1 เมตร ความสูง 1.5 เมตร 1   2 3 เฉลี่ย

เขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างค่าเฉลี่ย ความต่างศักย์ไฟฟ้า (โวลต์) กับระดับความสูง (เมตร)

ตารางบันทึกผลการทดลอง กลุ่ม วัสดุที่ใช้ทำใบพัด จำนวนใบพัด ค่าเฉลี่ยความต่างศักย์ไฟฟ้า (โวลต์) ความสูง 0.6 เมตร ความสูง 1 เมตร ความสูง 1.5 เมตร 1 2 3 4 5 6 7 8

ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อปริมาณการผลิตกระแสไฟฟ้า จำนวนใบพัด วัสดุที่ใช้ทำใบพัด มุมของใบพัดที่ทำกับน้ำที่ตกกระทบ น้ำหนักของใบพัด พื้นที่ที่รองรับการตกกระทบของน้ำ

คำถาม นักเรียนคิดว่า ถ้าทำการทดลองอีกครั้งที่ระดับความสูง 3 เมตร จะวัดความต่างศักย์ได้เท่าไหร่ นักเรียนคิดว่า ถ้าทำการทดลองอีกครั้งที่ระดับความสูง 100 เมตร จะวัดความต่างศักย์ได้เท่าไหร่

ขอบคุณค่ะ