งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การย่อยสลายสีย้อมเมทิลีนบลูด้วยกระบวนการพลาสมาวัฏภาคของเหลว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การย่อยสลายสีย้อมเมทิลีนบลูด้วยกระบวนการพลาสมาวัฏภาคของเหลว"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การย่อยสลายสีย้อมเมทิลีนบลูด้วยกระบวนการพลาสมาวัฏภาคของเหลว
ศศิน แก้วเจริญ / กรณิการ์ ขุนพินิจ/ อิศราวุธ ประเสริฐสังข์ สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ความสำคัญและที่มาของงานวิจัย ผลการทดลอง สีย้อม น้ำทิ้งที่เกิดจากการฟอกย้อมสีของอุตสาหกรรมสิ่งทอได้ถูกทิ้งสู่ธรรมชาติโดยไม่มีการบำบัดคุณลักษณะของน้ำทิ้งที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสีของน้ำทิ้งที่ทำให้ทัศนียภาพเสียไป สีย้อมผ้าแทบทุกชนิดมีส่วนประกอบที่เป็นพิษ และย่อยสลายตามธรรมชาติได้ยาก ผลของการสลายสีย้อมโดยเปรียบเทียบชนิดของขั้วไฟฟ้า พบว่าขั้วไฟฟ้าชนิดทองแดงสามารถทำการสลายสีย้อมเมทิลีนบลูได้ดีที่สุด ปัญหาจากสีย้อมที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม เมทิลีนบลู พลาสมาวัฏภาคของเหลว คือ กระบวนการผลิตพลาสมาที่ล้อมรอบด้วยวัฏภาคของเหลว โดยใช้ความต่างศักย์ของไฟฟ้ากระตุ้นให้เกิดหมู่ว่องไว (Free radical) ซึ่งหมู่ว่องไวที่เกิดขึ้นจะเข้าทำปฏิกิริยาได้เร็ว ผลของปริมาณการเกิดไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์โดยเปรียบเทียบกับขั้วไฟฟ้าต่างชนิด พบว่าขั้วไฟฟ้าชนิดทองแดงมีปริมาณการเกิดไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์น้อยที่สุด กระบวนการพลาสมาวัฏภาคของเหลว วิธีดำเนินโครงงาน ผลของการสลายสีย้อมโดยใช้ขั้วไฟฟ้าทองแดงในการสลายสีย้อมที่ค่าพลังงานความถี่แตกต่างกัน พบว่าพลังงานความถี่ที่ 15 kHz มีความเหมาะสมต่อการดำเนินการสลายสีย้อมมากที่สุด การเตรียมสารละลายเมทิลีนบลู ชั่งผงเมทิลีนบลู เติมน้ำกลั่น สารละลายเมทิลีนบลู การติดตั้งระบบพลาสมา ตัวแปรที่ศึกษา: เวลาที่ใช้ในการสลายสีย้อม (0-60 นาที) ขั้วไฟฟ้า (ทังสเตน เหล็ก และทองแดง) พลังงานความถี่ ( และ 30 kHz) สรุปผลการทดลอง กระบวนการพลาสมาวัฏภาคของเหลวสามารถนำมาใช้ได้จริงในการกำจัดสีย้อมเมทิลีนบลูได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้ขั้วไฟฟ้าชนิดทองแดง ซึ่งสามารถกำจัดสารละลายเมทิลีนบลูได้มากกว่า 95 เปอร์เซ็นต์ และค่าพลังงานความถี่ที่เหมาะสมในการสลายสีย้อมเมทิลีนบลูเท่ากับ 15 kHz การต่อ Electrode เข้ากับเครื่องจ่ายกระแสไฟ วิเคราะห์ปริมาณการสลายตัวของสารละลายเมทิลีนบลู เอกสารอ้างอิง 1.ตรวจวัดการสลายตัวของสีย้อมด้วย UV-VIS spectrophotometer 2.ตรวจวัดปริมาณการเกิดไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ [1] O. Takai, Solution plasma processing ( SPP )*, Pure Appl. Chem, 2008;80: [2] Y. Jin, Y. Wu, J.Cao, Y. Wu, Optimizing decolorization of Methylene Blue and Methyl Orange dye by pulsed discharged plasma in water using response surface methodology, Journal of the Taiwan Institute of Chemical Engineers 45 (2014) 589–595


ดาวน์โหลด ppt การย่อยสลายสีย้อมเมทิลีนบลูด้วยกระบวนการพลาสมาวัฏภาคของเหลว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google