วิชา 3000-0101 การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและเพิ่ม ผลผลิต (Work Development with Quality Management System and Productivity) (3 หน่วยกิจ) จุดประสงค์รายวิชา 1. เพื่อให้เข้าใจความสำคัญ หลักการและขบวนการบริหารงาน คุณภาพ และเพิ่มผลผลิต
2. เพื่อให้เข้าใจความสำคัญ และพัฒนางานตามการบริหารงานคุณภาพ และเพิ่มผลผลิต 3. เพื่อให้มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการพัฒนาตน และมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพ แลเพิ่มผลผลิตการทำงาน
มาตรฐานรายวิชา 1. เข้าใจหลักการและกระบวนการ การบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิต 2. จัดระบบเอกสารตามหลักการบริหารงานคุณภาพ 3. เลือกใช้กิจกรรมการเพิ่มผลผลิต เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การทำงาน 4. วางแผนพัฒนางานตามหลักการบริหารงานคุณภาพ และเพิ่มผลผลิต
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ความสำคัญของระบบคุณภาพและเพิ่มผลผลิต หลักการบริหารงานคุณภาพ และเพิ่มผลผลิต กลยุทย์ การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานด้วยระบบการจัดเอกสาร และกิจกรรมการเพิ่มผลผลิต การประยุกต์ใช้ระบบคุณภาพ และเพิ่มผลผลิตเพื่อวางแผน และพัฒนางาน
ความสำคัญของระบบคุณภาพ คุณภาพ(Quality) คุณสมบัติโดยรวมทางประโยชน์ใช้สอยและลักษณะจำเพาะของผลิตภัณฑ์หรือการบริการ ที่แสดงออกถึงความสามารถในอันที่จะตอบสนองต่อความต้องการ ทั้งที่ระบุโดยชัดแจ้ง และที่อนุมานจากสภาพการณ์และความเป็นจริงโดยทั่วไป
คุณภาพ ในเชิงการค้านั้นมีบุคคล 2 ฝ่าย คือ ผู้ซื้อ หรือ ลูกค้า (Customers) ผู้ขาย หรือ ผู้ส่งมอบ (Supplier)
การควบคุมคุณภาพ (Quality Control หรือ QC) 1. การตรวจสอบ (Inspection) 2. การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) 3. การประกันคุณภาพ (Quality Assurance)
การควบคุมคุณภาพ (Quality Control หรือ QC)
ระบบคุณภาพ (Quality System) 1. ระบบการควบคุม (Control System) 1.1 ระบบการควบคุมแบบอัตโนมัติ 1.2 ระควบคุมโดยไม่ใช้เครื่องจักร 2. กระบวนการควบคุม (Control Process) 2.1 กำหนดเป้าหมายของการควบคุมให้ชัดเจน 2.2 กำหนดเกณฑ์ควบคุมงานและมาตรฐาน
3. รูปแบบการควบคุม (Control Type) 3.1 การควบคุมเพื่อการป้องกัน 3.2 การควบเพื่อการแก้ไข
การจัดการคุณภาพ (Quality Management) หมายถึง การจัดกระบวนการต่างๆ ให้มีคุณภาพ เริ่มตั้งแต่การออกแบบไปจนถึงการผลิตและการส่งมอบสินค้าที่มีคุณภาพให้แก่ลูกค้า คำว่า “การจัดการ(Management) ”หมายถึง กาทำให้กระบวนการทำงานหลักๆ อยู่ภายใต้ความสามารถในการควบคุมมีสมรรถนะสูง
การจัดการคุณภาพ มีแนวคิดหลัก 6 ส่วน ดังนี้ 1. ลูกค้าและผู้ป้อนวัตถุดิบ (Customer/Supplier model) 2. ความสามารถในการควบคุมกระบวนการและมีสมรรถนะสูง กระบวนการ (Process) 3. การจัดการโดยข้อเท็จจริง (Management by facts) 4. การแก้ไขปัญหา (Problem Solving) 5. เศรษฐศาสตร์คุณภาพ (Quality Economics) 6. การมีส่วนเกี่ยวข้องและทีมงาน (Involvement and teamwork)
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance) หมายถึง การสร้างความมั่นใจให้ลูกค้า ในการที่จะได้รับและบริการที่มีคุณภาพเท่านั้น 1. การกำหนดระดับคุณภาพ 2. การกำหนดหน้าที่ด้านคุณภาพในแต่ละหน่วยงาน 3. การจัดทำมาตรฐานองค์การ 4. การควบคุมกระบวนการ
ประโยชน์ของการจัดการคุณภาพ การจัดการคุณภาพที่ประสบความสำเร็จ ย่อมทำให้สินค้า และบริการมีคุณภาพมีประโยชน์ คือ 1. ทำให้องค์การมีภาพลักษณ์ดี ทำให้องค์การได้รับความเชื่อถือ 2. เพิ่มส่วนแบ่งการตลาด 3. ลดภาระค่าใช้จ่าย
การบริหารงานคุณภาพ (Management) การบริหาร คือ ศิลปะในการทำให้สิ่งต่างๆ ได้รับการกระทำจนเป็นผลสำเร็จ การบริหาร คือ กระบวนการทางสังคมซึ่งพิจารณาได้เป็น 3 ทาง 1. ทางโครงสร้าง 2. ทางหน้าที่ 3. ทางปฏิบัติการ
องค์ประกอบของการบริหาร (Management Component) มีองค์ประกอบ 3 ประการ 1. เป้าหมาย (Goal) หรือวัตถุประสงค์ 2. ปัจจัยการบริหาร (Factor of Management) 3. ลักษณะของการบริหาร (Management Style)
หน้าที่การบริหาร การวางแผน ( Planning ) การจัดองค์การ ( Organize ) การจัดตัวบุคคล ( The personal ) การอำนวยการ ( Direction ) การประสานงาน ( Co Ordinate ) การรายงาน ( Report ) การงบประมาณ ( Budget )
องค์การคุณภาพ ความพึงพอใจของลูกค้า (Customer Satisfaction) ลดต้นทุน (Cost Reduction) คู่แข่ง (Competitor) วิกฤตการณ์ (Crisis)
สมการพื้นฐานของต้นทุนและกำไร ต้นทุนคุณภาพ (Cost) 1. ต้นทุนวัตถุดิบ 2. ต้นทุนของเครื่องจักร 3. ต้นทุนแรงงาน สมการพื้นฐานของต้นทุนและกำไร ต้นทุน + กำไร = ราคาขาย ราคาขาย - ต้นทุน = กำไร
ประเภทต้นทุนคุณภาพ (Cost of Quality) ต้นทุนการป้องกัน (Cost of Prevention) ต้นทุนการประเมิน (Cost of Inspection) ต้นทุนความล้มเหลว (Cost of Failure)
แนวทางการลดต้นทุน 3. ต้นทุนค่าจ้างของพนักงาน 1. ต้นทุนวัตถุดิบ 1.1 การใช้หลักวิศวกรรมคุณค่า (Value-Engineering) 1.2 ขจัดการศูนย์เสียของวัตถุ 2. ต้นทุนการทำงานของเครื่องจักร 2.1 ลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงเครื่องจักร 2.2 ผลิตสินค้าได้อย่างต่อเนื่องตรงตามกำหนด 2.3 ส่งมอบสินค้าให้ลูกค้าได้ตรงเวลาที่ลูกค้าต้องการ 2.4 ลดของเสียลงได้ เนื่องจากเครื่องจักรอยู่ในสภาพที่ดี 3. ต้นทุนค่าจ้างของพนักงาน
Key word Quality หมายถึง คุณภาพ Customers หมายถึง ลูกค้า Supplier หมายถึง ผู้ส่งมอบ Inspection หมายถึง การตรวจสอบ Quality Control หมายถึง การควบคุมคุณภาพ Quality Assurance หมายถึง การประกันคุณภาพ Control System หมายถึง ระบบการควบคุม
Key Word Control Process หมายถึง กระบวนการควบคุม Control Type หมายถึง รูปแบบการควบคุม Quality Management หมายถึง การจัดการคุณภาพ Process หมายถึง กระบวนการ Quality Economics หมายถึง เศรษฐศาสตร์คุณภาพ Problem Solving หมายถึง การแก้ไขปัญหา
จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. คุณภาพ (Quality) หมายถึง 2. ระบบคุณภาพ (Quality System)หมายถึง 3. ลำดับขั้นตอนการควบคุมคุณภาพที่สำคัญประกอบด้วย 4. เกณฑ์การควบคุมคุณภาพส่วนประกอบที่สำคัญ คือ 5. ความหมายของมาตรฐาน (Standard) คือ
จงตอบคำถามต่อไปนี้ (ต่อ) 6. มาตรฐานที่ดีควรมีองค์ประกอบอะไรบ้าง 7. การจัดการคุณภาพ (Quality Management) หมายถึง 8. การแก้ปัญหา (Problem Solving) หมายถึง 9. การประกันคุณภาพ (Quality Assurance) หมายถึง 10. องค์ประกอบสำคัญของการประกันคุณภาพ คือ
จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. การบริหาร (Management) คือ 2. องค์ประกอบที่สำคัญของการบริหาร คือ 3. ปัจจัยการบริหารเกี่ยวกับเรื่องใด 4. การจัดองค์การ (Organizing) คือ 5. แผนกควบคุมการผลิตจะดูแลเรื่องอะไรบ้าง
จงตอบคำถาม (ต่อ) 6. ต้นทุน (Cost) จงตอบคำถาม (ต่อ) 6. ต้นทุน (Cost) 7. ส่วนปรกอบของต้นทุนการดำเนินงาน คือ 8. องค์การได้รับประโยชน์จากการลดต้นทุนอย่างไร 9. ต้นทุนคุณภาพเกี่ยวข้องกับเรื่องใด 10. การลดต้นทุนการทำงานของเครื่องจักร หมายถึง