การคิด/หาหัวข้อวิจัย (วิทยานิพนธ์/การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง) บัณฑิตสัมมนา กม.691 3(3-0-6) Graduate Seminar ผศ.ดิเรก ควรสมาคม (2/2553) การคิด/หาหัวข้อวิจัย (วิทยานิพนธ์/การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง)
หาหัวข้อวิทยานิพนธ์อย่างไร? 1.ไม่แนะนำให้เริ่มต้นจาก อยู่ๆก็นึก/คิด “หัวข้อ” (Research Topic) มาทันที?? 2.แล้วเราจะเริ่มต้นอย่างไร?? สนใจ /สงสัย อยากรู้ ในทฤษฎี/ หลักกฎหมาย เกิดเป็น ข้อสงสัย /ปัญหา เรื่องต่างๆ/ สิ่งนั้นสิ่งนี้
เริ่มจาก RQ RQ คืออะไร? RQ คือ Research question หมายถึง ?? 1. คำถามการวิจัย 2. ปัญหาการวิจัย 3.ประเด็นปัญหาการวิจัย
ที่มา(โดยทั่วไป)ของปัญหาการวิจัย RQ จากประสบการณ์ของผู้วิจัย(ความสนใจส่วนบุคคล) จากเอกสารและทฤษฎีเกี่ยวกับการวิจัย จากข้อเสนอแนะของผลงานวิจัย(วิจัยต่อยอด) หน่วยงานที่ผู้ที่จะทำการวิจัยทำอยู่ (ภารกิจทางวิชาการ ) องค์กร/สถาบัน : (การวิจัยองค์กรหรือสถาบัน การวิจัยเพื่อประเมินผล) จากสถานการณ์ทางสังคม : (การวิจัยประยุกต์) ข่าวในสื่อมวลชน จากปัญหาและข้อเสนอแนะของผู้อื่น จากแหล่งทุนวิจัย
ขั้นตอนต่างๆ (โดยย่อ) 1.เริ่มจากสนใจ หรือสงสัย,เกิดข้อสงสัย อยากรู้ 2.นำข้อสงสัย มาสร้าง/ตั้งเป็น “คำถาม/ปัญหาการวิจัย” Research question (R Q) 3.ใน R Q ได้คำสำคัญ (Key Word) จาก R Q 4.ตั้งชื่อ/ได้หัวข้อวิจัย (Research Topic) จากคำสำคัญนั้นๆ มาเป็นวลี
สงสัย เกิดคำถาม/ปัญหา RESEARCH QUESTION RQ คำสำคัญ KEYWORD เรียบเรียงวลี ได้ชื่อหัวข้อวิจัย RESEARCH TOPIC
“คำถาม/ปัญหาการวิจัย” Research Question ข้อสงสัย (R Q) ความเป็นจริงที่มีอยู่ (Fact) ความคิด (Thinking) มีช่องว่าง ไม่มีช่องว่าง ช่องว่าง (ปัญหาคำถามวิจัย)
ความจริง ความคิด = เรื่องเดียวกัน, ไม่มีข้อสงสัย ตัวอย่าง 1 ความจริง (Fact) = กฎหมายอาญาเป็นกฎหมายที่ลงโทษสำหรับผู้กระทำความผิด ? ความคิด Thinking = เราตอบว่า ใช่แล้ว / ก็ใช่ = ปัญหา/ช่องว่างไม่เกิด ก็ไม่ได้ปัญหาการวิจัย RQ ปัญหาหรือ RQ ไม่มี ไม่มีช่องว่าง (GAP) ความจริง ความคิด = เรื่องเดียวกัน, ไม่มีข้อสงสัย
มีช่องว่าง (GAP) ,สงสัย ตัวอย่าง 2 ความจริง (Fact) = กฎหมายอาญาเป็นกฎหมายที่ลงโทษสำหรับผู้กระทำความผิด ? ความคิด 1.= กฎหมายอาญาจะเอาผิดลงโทษผู้ที่มิได้กระทำความผิดด้วยหรือไม่?? ความคิด2. = กฎหมายอื่นจะเอาผิดกับผู้ที่มิได้กระทำการนั้นได้หรือไม่? หรือจะต้องใช้แต่กฎหมายอาญาเท่านั้น?? RQ?? มีช่องว่าง (GAP) ,สงสัย ทำวิจัย
RQ = ปัญหา/คำถามการวิจัย/ 1.เป็นเรื่องน่าสนใจ เป็นประโยชน์ (น่าสนใจ มีคุณค่า) 2.มีความเป็นไปได้ที่จะทำ (ความสามารถ/อยู่ในวิสัย) 3.มีความทันสมัยต่อสถานการณ์ RQ = ปัญหา/คำถามการวิจัย/
การตั้งคำถามที่ใช้ในการวิจัย RQ -เขียนคำถามไว้อย่างสั้นๆ และชัดเจน -พยายามให้เป็นคำถามที่เน้นประเด็นใหญ่ๆ -จากนั้นค่อยๆแตกเป็นประเด็นย่อยต่อไป -การตั้งคำถาม อาจทำได้หลายแนวทางขึ้นกับความต้องการ/อยากรู้ของผู้วิจัย ดังนี้
การกำหนดรูปแบบของคำถาม/ปัญหาการวิจัย RQ 1.คำถาม/ปัญหาเรื่องความไม่สอดคล้องกันระหว่างทฤษฎีหลักกฎหมาย 2.คำถาม/ปัญหาเรื่องความไม่สอดคล้องกันระหว่างทฤษฎีหรือหลักกฎหมายกับการปฏิบัติหรือการนำไปใช้บังคับ 3.คำถาม/ปัญหาเรื่องความขัดแย้งกันระหว่างทฤษฎี หลักกฎหมายหรือกฎเกณฑ์ 4.คำถาม/ปัญหาเรื่องความไม่สอดคล้องกันระหว่างหลักกฎหมายกับสภาพสังคม 5.คำถาม/ปัญหาเรื่องผลกระทบด้านต่างๆของหลักกฎหมายที่มีต่อคนและสิ่งต่างๆ 6.คำถาม/ปัญหาเรื่องปัจจัยอันเป็นสาเหตุของปัญหาการมีหรือไม่มีของหลักกฎหมายหรือการบังคับใช้กฎหมาย
สรุปการตั้ง Research Question ปัญหาการวิจัย ความจริง ไม่ตรงกัน ความคิด มีช่องว่าง/มีข้อสงสัย เกิดเป็นคำถาม/ปัญหาการวิจัย RQ ?
Research Question ได้ปัญหาการวิจัย ? RQ + ควรใส่ข้อคิดเห็นว่า ......หากทำไปแล้วจะค้นพบอะไรใหม่ๆ มีประโยชน์ต่อสิ่งใดบ้าง -ต่อบุคคล -ต่อสังคม -ต่อประเทศชาติ
เทคนิคการเลือก RQ เรื่องสำคัญ/เป็นประโยชน์ เรื่องน่าสนใจ/ใหม่/ทันสมัย/ไม่ซ้ำใคร มีองค์ความรู้ในเรื่องนั้นอยู่บ้าง เรื่องที่เกี่ยวกับงานหรือหน้าที่ที่ทำอยู่ มีข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องนั้น ตนเองสนใจและอยากรู้ต้องการศึกษาให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น ได้รับความร่วมมือผู้เกี่ยวข้อง มีความเป็นไปได้ มีปัจจัยเอื้ออำนวยต่อความสำเร็จ (ตัวเอง อาจารย์ที่ปรึกษา เวลา ข้อมูล ความรู้ เทคนิคการเขียนหรือระเบียบวิธีวิจัย)
เกณฑ์ในการตั้ง Research Question เป็นรูปประโยคคำถาม มี 1-2 main focus มี Key words มีนัยสำคัญทางศาสตร์ในสาขาที่ศึกษา
ตัวอย่างการตั้ง RQ การใช้สิทธิชุมนุมประท้วงเป็นสิทธิหรือเสรีภาพ?? แรงงานต่างด้าวกับการคุ้มครองสวัสดิภาพตามกฎหมายแรงงาน ??? การบังคับใช้กฎหมายปราบปรามการฟอกเงินมีผลต่อการคอรับชั่นหรือไม่ อย่างไร ??? กฎหมายอุตสาหกรรมมีปัญหาอย่างไร และส่งผลต่อความต้องการในการใช้แรงงานต่างด้าวอย่างไร ??? การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ.......... มีปัญหากฎหมายอย่างไร
ตัวอย่างการตั้ง RQ มีประเด็นกฎหมายใดที่ทำให้ไม่อาจป้องกันหรือแก้ไขปัญหาอำนาจเผด็จการรัฐสภาได้ ??? มีมาตรการใดในการระงับข้อพิพาทจากการทำสัญญาการค้าระหว่างประเทศ ??? มีมาตรการทางกฎหมายใดในการควบคุมคุณภาพมาตรฐานในธุรกิจอาหารสัตว์??? มีแนวทางใดในการตรวจสอบอำนาจผู้บริหารในองค์กร....... ??? การชุมนุมสาธารณะสามารถทำได้โดยชอบด้วยกฎหมายใดหรือไม่ ขัดต่อหลักเสรีภาพหรือไม่อย่างไร
Subject RQ ???????? Main focus = Key words = Topic ชื่อหัวข้อวิจัย
การตั้งหัวข้อ/ชื่อการวิจัย 1. หัวเรื่อง(Subject) อะไร เช่น สนใจในเรื่องทาง กม.แพ่ง ,มหาชน อาญา , กม.ทรัพย์สินทางปัญญาฯลฯ (สนใจ) 2. หา RQ จาก ความคิด กับความจริงในหัวเรื่องดังกล่าว ไม่สอดคล้องหรือมีช่องว่างหรือไม่?? (สงสัย) ได้ปัญหา RQ 3.ตั้ง/กำหนดรูปแบบของคำถาม/ปัญหา ขึ้น 4.คำถาม/ปัญหาดังกล่าวจะได้ คำสำคัญ (Key words) 5. ดึงเอาคำสำคัญที่มีในข้อ 4 มาเรียบเรียงให้ได้ความหมายชัดเจนเป็นวลีหรือข้อความ 6. ได้ผลเป็นหัวข้อวิจัย (เบื้องต้น)
ตัวอย่าง 1 1. Subject = กม.อาญา 2. Fact = กฎหมายอาญาเป็นกฎหมายที่ลงโทษผู้กระทำความผิด Thinking = 1.หากเราคิดว่า กฎหมายอาญาจะลงโทษกับผู้อื่นที่ไม่ได้กระทำความผิดได้ด้วยหรือไม่? 2. หากเราคิดว่า กฎหมายอื่นใดจะเอาผิดกับการกระทำนั้นได้หรือไม่ หรือว่าต้องใช้แต่กฎหมายอาญาเท่านั้นหรือ? 3.RQ = การลงโทษผู้กระทำความผิดนั้นสามารถใช้กฎหมายอื่นนอกจากกฎหมายอาญาได้หรือไม่ ? 4.คำสำคัญ (Key words) = การลงโทษ , ผู้กระทำผิด ,กฎหมายอื่น กฎหมายอาญา
ได้ Reseach Topic เอามาจาก คำสำคัญ (Key words) “การลงโทษ , ผู้กระทำผิด ,กฎหมายอื่น ,กฎหมายอาญา” 1.ปัญหาการลงโทษผู้กระทำความผิดตามกฎหมายอื่นที่มิใช่กฎหมายอาญา 2.แนวคิดการลงโทษผู้กระทำผิดโดยไม่ใช่กฎหมายอาญา 3.การใช้กฎหมายอื่นแทนกฎหมายอาญาในการลงโทษผู้กระทำความผิด
ตัวอย่าง 2 1. Subject = กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา 2. Fact = ในส่วนของกม.ทรัพย์สินทางปัญญากับการคุ้มครอง? Thinking = สิทธิในการรับความคุ้มครองชื่อทางภูมิศาสตร์+มีดอรัญญิก ?? 3.คำถาม RQ = สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ในชื่อมีดอรัญญิกนั้นจะได้รับความคุ้มครองภายใต้ กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาหรือไม่ ภายใต้หลักการใด/กฎเกณฑ์ใดในหลักนิติศาสตร์ ?
4. คำสำคัญ (Key words) -สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ , -กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา-มีด อรัญญิก ,-ความคุ้มครอง 5.ดึงเอาคำสำคัญที่มีในข้อ 4 มาเรียบเรียงให้ได้ความหมายชัดเจนเป็นวลีบอกเล่า ไม่ควรทำเป็นรูปคำถามหรือเชิงนิเสธ 6 ได้ผลเป็นหัวข้อวิจัย Reseach Topic (เบื้องต้น)
ตัวอย่าง 1. Subject = กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา 2. Fact = ในส่วนของกม.ทรัพย์สินทางปัญญา Thinking = สิทธิในการรับความคุ้มครองชื่อทางภูมิศาสตร์+มีดอรัญญิก ?? RQ = สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ในชื่อมีดอรัญญิกนั้นจะได้รับความคุ้มครองภายใต้ กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาหรือไม่ ภายใต้หลักการใด/กฎเกณฑ์ใดในหลักนิติศาสตร์ ? 4. คำสำคัญ (Key words) -สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ -กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา -มีด อรัญญิก -ความคุ้มครอง
คำสำคัญ (Key words) -กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา เรียบเรียงเป็นวลีใหม่ -สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ -กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา เรียบเรียงเป็นวลีใหม่ -มีด อรัญญิก -ความคุ้มครอง
ได้หัวข้อวิจัยจากคำสำคัญ 1.“ปัญหาความคุ้มครองชื่อมีดอรัญญิกภายใต้กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาเรื่องสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์” 2. “การคุ้มครองชื่อสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ตามกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา ศึกษากรณีมีดอรัญญิก” 3.การวิเคราะห์ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา เรื่องสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์กับมีดอรัญญิกของไทย”
หลักการตั้งชื่อหัวข้องานวิจัย Reseach Topic 1. เขียนในรูปประโยคบอกเล่า 2. ใช้ลักษณะคำนามในการตั้งชื่อ 3. ควรมีขอบเขตชัดเจนว่า ศึกษาอะไร กับใคร และศึกษาอย่างไร 4. ควรสื่อความหมายให้ชัดเจน 5. ไม่ควรใช้คำที่กว้างไป 6. ควรเข้าใจความหมายของจุดเน้นของหัวข้อเรื่องกับการกำหนดของเขตของการทำวิจัย
การวิเคราะห์หัวข้อเรื่อง ประเด็นหลักของหัวข้อ คืออะไร ตัวแปรที่ศึกษาน่าจะมีอะไรบ้าง วัตถุประสงค์หรือปัญหาที่ต้องการทราบ คืออะไร ข้อมูลและแหล่งข้อมูล คืออะไร จะใช้วิธีการวิจัยอย่างไรจึงจะได้คำตอบเหล่านั้น มีเงื่อนไขหรือข้อตกลงเบื้องต้นเกี่ยวกับหัวเรื่องนั้นอย่างไร
ลักษณะของหัวข้อวิจัยที่ดี กระทัดรัด ชัดเจน และใจความสมบูรณ์ อย่างน้อย หัวข้อเรื่องควรบอก ตัวแปรตามที่ศึกษา ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ลักษณะของข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย แนวทางการวิจัย
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยจากปัญหาที่ต้องการคำตอบ RQ = มีปัจจัยอะไรบ้างที่ส่งเสริมและเป็นอุปสรรคในการดำเนินงาน SMES Topic=การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งเสริมและเป็นอุปสรรคต่อการดำเนินงาน SMES RQ= การบริหารจัดการ SMES ที่มีประสิทธิภาพควรมีรูปแบบอย่างไร Topic= รูปแบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพของ SMES RQ= มีมาตรการใดในการกำจัดขยะเทคโนโลยี??? Topic= มาตรการในการกำจัดขยะเทคโนโลยี RQ= มีแนวทางใดในการควบคุมการประกอบอาชีพประเมินราคาทรัพย์สินของต่างประเทศ Topic= การควบคุมการประกอบอาชีพประเมินราคาทรัพย์สินของต่างประเทศ
สรุปชื่อข้อเสนอโครงการวิจัย 1.ชื่อสอดคล้องประเด็นปัญหาและวัตถุประสงค์การวิจัย 2.ขึ้นต้นชื่อเรื่องเกี่ยวกับคำสำคัญของประเด็นปัญหา 3.ชื่อไม่สั้น/ยาวเกินไปใช้ภาษาง่ายอธิบายเนื้อหา/แนวทางการวิจัยได้ 4.ชื่อสื่อความหมายและบอกทิศทางการวิจัย 5.จัดลำดับคำ/วลีให้สอดคล้องเชิงเหตุผล(ประธาน/กริยา/กรรม) 6.ควรเขียนทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษและไม่ควรใช้ตัวย่อ
ได้หัวข้อแล้ว-----ขั้นต่อไป หาข้อมูล ..... เขียน/พัฒนาให้เป็น ข้อเสนอ/โครงร่างวิจัย Proposal ให้ได้ ยื่นสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ ปรับแก้ สอบป้องกันวิทยานิพนธ์ จบ
1.ข้อเสนอ/โครงร่างวิจัยแบบ Full Proposal 1. ความสำคัญของเรื่องที่ศึกษา (significance of the study) 2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา (objectives) 3. ขอบเขตของการศึกษา (scope of the study) 4. ข้อจำกัดของการศึกษา (limitation of the study) 5. การทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (review of literature) 6. กรอบแนวคิดที่ใช้ในการศึกษา (conceptual framework) 7. คำจำกัดความ (operational definition) 8. ระเบียบวิธีศึกษา (methodology) 9. ประโยชน์ที่จะได้รับจากการศึกษา (study benefits)
2.ข้อเสนอ/โครงร่างวิจัย Proposal ทั่วๆไป 1.ชื่อโครงร่าง Reseach Topic 2.ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา 3.วัตถุประสงค์ 4.สมมติฐาน (ถ้ามี) 5.ขอบเขตการวิจัย 6.วิธีดำเนินการ 7.นิยามศัพท์ (ถ้ามี) 8.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 9.เอกสารอ้างอิง (บรรณานุกรม)
2.1 โครงร่างวิจัย มพย.(คู่มือการทำวิทยานิพนธ์) 1) ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา (Background and Rationale) 2) ปัญหาการศึกษา (Research Question) (ถ้ามี) 3) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (Objectives of the Study) 4) ขอบเขตการศึกษา (Scope of the study) 5) สมมุติฐานของการศึกษา (Hypothesis of the Study) (ถ้ามี) 6) ข้อตกลงเบื้องต้น (Delimitation of the study) 7) นิยามศัพท์เฉพาะ (Definitions of term) 8) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
2.2 ข้อเสนอ/โครงร่างวิทยานิพนธ์ Proposal นิติ ธรรมศาสตร์?? มีเพียง 4-5 หัวข้อ ?? 1.ชื่อโครงร่าง 2.ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา 3.วัตถุประสงค์ 4.วิธีการศึกษา 5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ข้อเสนอ/โครงร่างวิทยานิพนธ์ Proposal นิติ รามคำแหง?? 1.ชื่อโครงร่าง Reseach Topic 2.ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา 3.วัตถุประสงค์ 4.สมมติฐานของการศึกษา 5.วิธีดำเนินการศึกษา 6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
สรุป ข้อเสนอการวิจัย (วิทยานิพนธ์) ทางสาขานิติศาสตร์ 1.ส่วนใหญ่เป็นวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) + วิจัยจากเอกสาร (Document Research) 2.ข้อเสนอโครงร่างวิจัย .... มักจะเขียนไม่เต็มรูปแบบ? -มีเพียง 5- 6 หัวข้อ
ตัวอย่าง1.เค้าโครง/โครงร่างวิทยานิพนธ์ (มธ) ชื่อเรื่อง ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายในสัญญาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
โครงร่าง (สารบาญ) 1. บทนำ 2.ลักษณะทั่วไปของสัญญาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 3.การเกิดของสัญญาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และการคุ้มครองผู้บริโภคในสัญญาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 4.ปัญหาที่เกิดขึ้นในสัญญาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 5.กฎหมายต่างประเทศและบทวิเคราะห์ในเชิงกฎหมายเปรียบเทียบ 6.สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ
ตัวอย่าง2.เค้าโครง/โครงร่างวิทยานิพนธ์ (มธ) ชื่อเรื่อง “กฎหมายอาหารฮาลาล”
โครงร่าง (สารบาญ) 1.บทนำ 2.บททั่วไปว่าด้วยอาหารฮาลาล 3.ปัญหามาตรฐานและการคุ้มครองผู้บริโภคอาหารฮาลาลตามกฎหมายไทย 4.สรุปและข้อเสนอแนะ
ตัวอย่าง 3.เค้าโครง/โครงร่างวิทยานิพนธ์ (มธ) ชื่อเรื่อง “กฎหมายในการควบคุมและจัดการมลพิษทางน้ำจากชุมชน”
1.บทนำ 2.สาเหตุและแนวคิดในการควบคุมและจัดการมลพิษทางน้ำ 3.มาตรการทางกฎหมายในการควบคุมมลพิษทางน้ำจากชุมชน 4. มาตรการทางกฎหมายในการจัดการมลพิษทางน้ำจากชุมชน 5.องค์กรหรือหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการควบคุมและจัดการมลพิษทางน้ำจากชุมชน 6.สรุปและข้อเสนอแนะ
สรุป รูปแบบทั่วไป 5 บท บทนำ วิเคราะห์ แนวคิดทฤษฎี/ วรรณกรรม รูปแบบทั่วไป 5 บท วิเคราะห์ แนวคิดทฤษฎี/ วรรณกรรม ที่เกี่ยวข้อง กฎหมายที่ เกี่ยวข้อง+ สภาพปัญหา สรุป/ เสนอแนะ บทนำ
โครงร่างเนื้อหาการศึกษา การละเมิดสิทธิเด็ก โครงร่างเนื้อหาการศึกษา บทนำ แนวคิด การคุ้มครองเด็ก มาตรการกม. คุ้มครองเด็ก วิเคราะห์มาตรการ กม.คุ้มครองเด็ก สรุปผล/ ข้อเสนอ กม. ต่างประเทศ กม.ไทย อนุสัญญา สิทธิเด็ก หัวข้อหลัก กม.แพ่ง/พานิชย์ กม.อาญา หัวข้อรอง
บทที่ 1บทนำ 1. ความสำคัญของเรื่องที่ศึกษา 2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา 3. ขอบเขตของการศึกษา 4. ข้อจำกัดของการศึกษา 5. กรอบแนวคิดที่ใช้ในการศึกษา 6. คำจำกัดความ 7. ระเบียบวิธีศึกษา (ถ้าไม่ต้องการนำเสนอในบทที่3) 8. ประโยชน์ที่จะได้รับจากการศึกษา
บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม (Literature Review) ประวัติ ความเป็นมา ทฤษฎี แนวคิด หลักการ กฎกติกา กฎหมาย ความหมายของ Key words ความสัมพันธ์ของ Kw กับประเด็นของเรื่องที่ศึกษา (เท่านั้น) ไม่เขียนเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องและไม่จำเป็นที่จะต้องนำมาใช้เพื่อการวิเคราะห์ เป็นการสะสมองค์ความรู้เพื่อนำไปสร้างกรอบแนวคิดการวิจัยและเพื่อการวิเคราะห์ต่อไป
ทฤษฎี Equity / Justice ความเป็นธรรม / การยุติธรรม The rule of law หลักนิติธรรม (A.V. Dicey) เป็นรากฐานของรัฐธรรมนูญ (Equality before the law) ทฤษฎีรับผิดชดใช้ผู้อื่น - กฎหมายละเมิด สัญญาจำยอม / สัญญาบังคับ - กฎหมายแรงงาน ทฤษฎีรับภัย The separations of power การแบ่งแยกอำนาจ (Montesguieu) ทฤษฎีความศักด์สิทธิส่วนบุคคล ทำให้บุคคลมีศักดิ์ศรีและมีเสรีภาพมากขึ้น ประโยชน์สุขของประชาชนคือกฎหมายสูงสุด (Salus populi suprema lex)
ทฤษฎีการลงโทษ เพื่อแก้แค้นทดแทน (Retribution) เพื่อป้องปรามหรือยับยั้งข่มขู่ (Deterrence) เพื่อป้องกัน (Prevention) เพื่อตัดโอกาส (Restraint) แก้ไขดัดนิสัย ( Rehabilitation Correction / Reformation)
บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย (ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง) Data Information Knowledge เครื่องมือ QL. QT. แบบการวิจัย การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล แหล่งข้อมูล (ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง)
บทที่ 4 บทวิเคราะห์ (บทหัวใจ) บทวิเคราะห์ (บทหัวใจ) ตอบคำถาม(RQ)/(วัตถุประสงค์)ที่ตั้งไว้ในเชิงข้อมูลอย่างละเอียด ตอบเป็นประเด็น มีความชัดเจน ใช้ความรู้จากการทบทวนวรรณกรรมมาเป็นประโยชน์ในการวิเคราะห์ วิเคราะห์ปัญหาผสมผสานระหว่างแนวคิดทฤษฎี หลักการกับข้อเท็จจริง ไม่ใช่วิเคราะห์เฉพาะปัญหาข้อเท็จจริงหรือความประพฤติ หรือค่านิยม นิสัยของคน วิเคราะห์ตามแนวทางของ Conceptual framework บทวิเคราะห์ต้องนำไปสู่บทสรุป
บทที่ 5 บทสรุป ข้อเสนอแนะ สรุปตอบวัตถุประสงค์ตามที่วิเคราะห์ได้ในบทที่ 4(ในเชิงแนวคิด/หลักการ) สั้นๆ ได้ใจความ ข้อเสนอแนะ เสนอเป็นเรื่องๆ สั้นๆ เสนอตามเหตุผลที่ได้มาจากผลการวิเคราะห์ในบทที่ 4 ไม่ต้องอธิบายเหตุผลอย่างละเอียดอีกเพราะจะเป็นการเขียนซ้ำบทที่ 4 เสนอแนะเชิงนโยบาย เชิงปฏิบัติ และเชิงวิชาการ
การเขียนบรรณานุกรม หนังสือ ชื่อผู้แต่ง. ชื่อหนังสือ. สถานที่พิมพ์: สำนักพิมพ์, ปีที่พิมพ์. สุมาลี วงษ์วิทิต. ระเบียบวิธีวิจัยทางนิติศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์รามคำแหง, 2546. Easton, D. A Framework for Political Analysis. New York: Prentice-Hall. 1965.
การเขียนบรรณานุกรม วารสาร ชื่อผู้แต่ง. ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร. ปีที่ ฉบับที่: หน้า สุมาลี วงษ์วิทิต. เครื่องหมายการค้าในกลิ่นและเสียง. วารสารนิติศาสตร์. ปีที่ 1(2), 2545: 35-68. _________. Telecommunication policy.วารสารพัฒนบริหาร. ปีที่ 12, ฉบับที่ 3, 2545, หน้า 100-145.
บรรณานุกรม 1.สมพงษ์ บุญเลิศ . เอกสารประกอบการบรรยายการอบรมทักษะการเขียนงานวิจัย : สำหรับนักศึกษาปริญญาโท . 16 สิงหาคม 2552 2.สุมาลี วงษ์วิฑิต .เอกสารประกอบคำบรรยายกระบวนวิชาการศึกษาอิสระ.หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต ภาคพิเศษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง,2546. 3.สุนีย์ มัลลิกะมาลย์ .วิทยาการวิจัยทางนิติศาสตร์ .สำนักพิมพ์นิติธรรม,2540 4.ตัวอย่างจากงานวิทยานิพนธ์ของคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์