Presented by Kru Pattapong Promchai การประกันภัย Presented by Kru Pattapong Promchai
การประกันภัย จุดประสงค์รายวิชา ………… เข้าใจหลักประกันภัย เงื่อนไขของการประกันภัยและธุรกิจการประกันภัย เข้าใจคุณสมบัติ จรรยาบรรณอาชีพประกันภัย การเข้าสู่อาชีพประกันภัย เข้าใจกฎหมายและองค์การที่เกี่ยวข้องกับการประกันภัย มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการทำงานด้วยความรับผิดชอบ ความละเอียด รอบคอบ ความอุตสาหพยายาม และความสุภาพอ่อนน้อม
การประกันภัย คำอธิบายรายวิชา……… ศึกษาเกี่ยวกับหลักการประกันภัย ประเภทของการประกันภัย เงื่อนไขของประกันภัย ธุรกิจประกันภัย คุณสมบัติและจรรยาบรรณอาชีพประกันภัย การเข้าสู่อาชีพประกันภัยและองค์การที่เกี่ยวข้องกับการประกันภัย
การประกันภัย รายชื่อหน่วยการสอน/การเรียนรู้…………
การประกันภัย การวัดผล………… สอบกลางภาค 20% สอบปลายภาค 20% จิตพิสัย 20% สอบกลางภาค 20% สอบปลายภาค 20% จิตพิสัย 20% แบบทดสอบ/ใบงาน/แบบฝึกปฏิบัติ 40%
การประกันภัย การประเมินผล………… คะแนนร้อยละ 80-100 ได้เกรด 4 คะแนนร้อยละ 76-79 ได้เกรด 3.5 คะแนนร้อยละ 70-75 ได้เกรด 3 คะแนนร้อยละ 66-69 ได้เกรด 2.5 คะแนนร้อยละ 60-65 ได้เกรด 2 คะแนนร้อยละ 56-59 ได้เกรด 1.5 คะแนนร้อยละ 50-55 ได้เกรด 1 คะแนนร้อยละ 0-49 ได้เกรด 0
Click to edit text styles - Widescreen(16:9) แนวคิด………… จากการที่มนุษย์ต้องใช้ชีวิตอยู่โดยไม่รู้ว่าจะเกิดภัยขึ้นต่อชีวิตและทรัพย์สินของตนเองเมื่อใด อีกทั้งยังมีความเกรงกลัวว่าหากเขาต้องประสบภัยและได้รับความเสียหาย เขาควรจะดำเนินชีวิตต่อไปอย่างไร ด้วยความเกรงกลัวดังกล่าวมนุษย์จึงหาวิธีที่เฉลี่ยความรับผิดชอบต่อภัยที่จะเกิดขึ้นด้วยการนำชีวิตหรือทรัพย์สินไปทำประกันกับบริษัทประกันภัยเพื่อให้บริษัทมาร่วมรับความชอบในความเสียหายดังกล่าว ปัจจุบันมีบริษัทผู้รับประกันภัยเกิดขึ้นมามากมาย แต่ละบริษัทก็หาแบบของการประกันที่ดีที่สุดเพื่อสนองความต้องการของผู้บริโภค ซึ่งการจะตัดสินใจทำประกันแบบใดและกับบริษัทใดนั้นผู้บริโภคจะต้องมีการศึกษาข้อมูลอย่างถ่องแท้เพื่อจะได้กรมธรรม์ประกันภัยที่มีประโยชน์ต่อตนเองให้มากที่สุด โดยในอันดับแรกนั้น ผู้บริโภคจะต้องศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการประกันภัยเสียก่อน อันได้แก่ความหมายของการประกันภัย ประเภทของการประกันภัย ประวัติความเป็นมาของการประกันภัย ประโยชน์ของการประกันภัย และคำศัพท์ที่ควรทราบเกี่ยวกับการประกันภัย .
Click to edit text styles - Widescreen(16:9) สาระการเรียนรู้………… 1. ความหมายของการประกันภัย 2. ประเภทของการประกันภัย 3. ประวัติความเป็นมาของการประกันภัย 4. ประโยชน์ของการประกันภัย 5. คำศัพท์ที่ควรทราบเกี่ยวกับการประกันภัย .
1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการประกันภัย 1.1 ความหมายของการประกันภัย การประกันภัยหมายถึง วิธีการกระจายความเสี่ยง โดยสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ จะต้องจ่ายเงินคนละเล็กคนละน้อยให้กับกองทุนกลาง เมื่อมีสมาชิกคนใดคนหนึ่งได้ประสบเคราะห์ร้าย หรืออุบัติเหตุ สมาชิกคนนั้นจะได้รับการชดใช้จากเงินกองกลางนั้นตามที่กำหนดไว้ในข้อตกลงไว้ โดยมีคนกลางเป็นผู้จัดการกองทุน
1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการประกันภัย 1.2 ขอบเขตของการประกันภัย การสูญเสียพลังเกี่ยวกับการหารายได้ การสูญเสียของบุคคลธรรมดา (ตาย เจ็บป่วย อุบัติเหตุ ไม่มีงานทำ) การสูญเสียของธุรกิจ (ไฟไหม้ น้ำท่วม พายุ ระเบิด) การสูญเสียพลังเกี่ยวกับทรัพย์สิน ภัยโดยแท้ (ไฟไหม้ น้ำท่วม พายุ) การกระทำที่ไม่สุจริต (โจรกรรม ปลอมแปลง ฉ้อโกง) การผิดนัดหรือผิดข้อตกลง (ลูกหนี้ไม่ชำระเงินตามกำหนด ผู้รับเหมาเบี้ยว) การรับผิดชอบตามกฎหมาย (เจ้าของร้านชำระเงินชดเชยให้พนักงาน กรณีเกิดอุบัติเหตุ) ค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต (ค่ารักษากรณีต้องซ่อมบำรุงอุปกรณ์)
1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการประกันภัย
1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการประกันภัย 1.3 ประเภทของการประกันภัย การประกันภัยชีวิต (Life Insurance) การประกันที่บริษัทผู้รับประกันภัยจะชดใช้เงินให้เท่านั้น เช่น นาย A ประสบอุบัติเหตุรถชนเสียชีวิต บริษัทประกันจึงชดเชยเงินให้กับญาติเจ้าของประกัน ตามจำนวนเงินที่ตกลงกันไว้ เป็นต้น 2) การประกันภัยวินาศภัย (Non-Life Insurance) การประกันที่บริษัทผู้รับประกันภัยจะชดใช้เงินจำนวนหนึ่งให้แก่ผู้เอาประกัน โดยความเสียหายที่เกิดขึ้นซึ่งรวมถึงการสูญเสียในสิทธิ ผลประโยชน์ หรือรายได้ เช่น นาย A ประสบอุบัติเหตุรถชนบริษัทจะชดใช้โดยการซ่อมรถให้คืนสภาพเดิม เป็นต้น
1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการประกันภัย 1.4 ประโยชน์ของการประกันภัย ประโยชน์โดยตรงต่อผู้เอาประกัน (รับค่าชดเชยโดยตรง , สร้างเสริมนิสัยการออมเงิน) ประโยชน์โดยตรงต่อการดำเนินธุรกิจการค้า (ความมั่นคง , ลดความเสี่ยง , ขยายเครดิต) ประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคม (ระดมทุนมาพัฒนาประเทศ , ลดภาระแก่สังคมและรัฐบาล)
1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการประกันภัย 1.5 คำศัพท์ที่ควรทราบเกี่ยวกับการประกันภัย ผู้เอาประกัน (The Insured) คือผู้เอาประกันหรือผู้ที่ทำสัญญากับบริษัทประกันภัย มีหน้าที่คือ เปิดเผยความจริง เมื่อทำสัญญา และเมื่อประสบอุบัติเหตุ ชำระเบี้ยประกันตามข้อตกลง ป้องกันรักษาทรัพย์สินที่เอาประกัน บอกกล่าวการเกิดวินาศภัยตามความเป็นจริง
1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการประกันภัย 1.5 คำศัพท์ที่ควรทราบเกี่ยวกับการประกันภัย ผู้เอาประกัน (The Insured) คือผู้เอาประกันหรือผู้ที่ทำสัญญากับบริษัทประกันภัย สิทธิของผู้เอาประกันภัยคือ สิทธิขอรับสินไหมทดแทนเมื่อเกิดเหตุวินาศภัย สิทธิในการขอลดดอกเบี้ยประกันภัย สิทธิในการบอกเลิกสัญญา
1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการประกันภัย 1.5 คำศัพท์ที่ควรทราบเกี่ยวกับการประกันภัย 2) ผู้รับประกัน (The Insurer) คือผู้รับประกันภัย มีหน้าที่คือ ระมัดระวังในการประกันภัย รอบคอบ รับฟังความจริงอย่างมีเหตุผล ส่งมอบกรมธรรม์ คืนเบี้ยประกัน สำรวจความเสียหาย จ่ายสินไหมทดแทน
1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการประกันภัย 1.5 คำศัพท์ที่ควรทราบเกี่ยวกับการประกันภัย 2) ผู้รับประกัน (The Insurer) คือผู้รับประกันภัย สิทธิของผู้รับประกันคือ ได้รับเบี้ยประกัน ขอลดจำนวนสินไหมทดแทน ปฏิเสธการรับผิดชอบตามสัญญา สิทธิเลิกสัญญา สิทธิในการรับช่วงสิทธิ
1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการประกันภัย 1.5 คำศัพท์ที่ควรทราบเกี่ยวกับการประกันภัย ผู้รับประโยชน์ (Beneficiary) คือบุคคลภายนอกที่ไม่ใช่คู่สัญญา แต่สามารถรับประโยชน์ หรือสินไหมทดแทนเมื่อเกิดวินาศภัยได้ตามข้อตกลง ผู้ได้รับความเสียหายจากการกระทำของผู้เอาประกัน (The injured Person) ในกรณีที่ผู้เอาประกันกระทำผิดกับผู้อื่น ผู้ที่ได้รับความเสียหายนั้น กรมธรรม์ประกันภัย (Policy) คือหนังสือสัญญาการทำประกัน เบี้ยประกัน (Premium) คือเงินที่ผู้เอาประกันต้องจ่ายให้กับผู้รับประกัน
1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการประกันภัย 1.5 คำศัพท์ที่ควรทราบเกี่ยวกับการประกันภัย สินไหมทดแทน (Indemnity) คือเงินที่ผู้รับประกันชดใช้ให้กับผู้เอาประกันในกรณีที่เกิดเหตุวินาศภัย หรือเกิดการเสียหายจริงตามข้อตกลง จำนวนเงินที่เอาประกันภัย (Sum Insured) คือจำนวนเงินที่ตกลงกันไว้ในสัญญา มีระยะเวลากำหนดชัดเจนในสัญญา เงินบำเหน็จตอบแทน (Commission) คือ เงินที่บริษัทประกันจ่ายให้นายหน้า ตัวแทนประกัน (Agents) หรือนายหน้าประกันภัย (Brokerage)
1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการประกันภัย