วิชา ฮาร์ดแวร์ และการซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์ ง33222

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Advertisements

ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
Chapter 1 Introduction to Information Technology
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
Central Processing Unit
ชุดที่ 2 Hardware.
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
1.
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
เอกสารประกอบการบรรยาย (2)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ขั้นตอนการทำงานและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Computer Components โครงสร้างคอมพิวเตอร์ และภาษาแอสเซมบลี้
โครงสร้างระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ Central Processing Unit and Memory
เรื่องคอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
อธิบายหลักการทำงาน บทบาท และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
อ. ปริญญา น้อยดอนไพร (V ) เทคโนโลยี มัลติมีเดีย (MULTIMEDIA TECHNOLOGY) บทที่ 2 วิวัฒนาการมัลติมีเดีย.
“หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์"
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
คิดค้นโดยเมาช์ลีและเอ็กเคอร์ต (Mauchly and Eckert) ใช้อุปกรณ์ หลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube) เป็นส่วนประกอบหลัก ทำให้ตัวเครื่องมีขนาด ใหญ่ ใช้พลังงานไฟฟ้ามาก.
Welco me to. วัตถุประสงค์ :  เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจวิธีการใช้ คอมพิวเตอร์อย่างเหมาะสมและเป็น ประโยชน์  เพื่อให้นักศึกษารู้จักใช้คอมพิวเตอร์ให้ เกิดประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้า.
จัดทำโดย เด็กหญิง พัทธนันท์ ริบแจ่ม เลขที่ 7 มัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4/5 เสนอ อาจารย์ สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ. ลำพูน.
Integrated Network Card
ความหมายและยุคของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
แบบทดสอบ ก่อนเรียน – หลัง เรียน (Pre – Test) กลับ หน้า หลัก เริ่มทำ ข้อสอบ.
เนื้อหาที่จะเรียน คอมพิวเตอร์คืออะไร ระบบคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ อินเตอร์เน็ต Microsoft Office.
คอมพิวเตอร์..เทคโนโลยีในโลกปัจจุบัน
ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ Electronic Engineering
อุปกรณ์เก็บบันทึกข้อมูล (Storage Devices)
Overview 13 October 2007
Digital กับการประยุกต์
คอมพิวเตอร์คืออะไร      คอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบหนึ่งของเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อประโยชน์ต่อการแสวงหาสารสนเทศ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรับโปรแกรมและข้อมูล.
บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลและองค์ประกอบข้อมูล
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ (Information Technology for Life)
ผู้สอน : อ.บุศรินทร์ เอี่ยมธนากุล [อ.อ้อย]
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานกราฟิก
Floppy Disk Floppy Disk หรือ Diskkette เป็นอุปกรณ์
ความสำคัญของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่มีต่อคุณภาพชีวิต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
บทที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
โครงสร้างระบบคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร
บทที่ 2 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
เมนูหลัก ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
Chapter 1 Introduction.
เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ และภาษาซี
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และการประมวลผลข้อมูล (Introduction to Computer and Data Processing) บทที่ Business Computer & Information.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชา ฮาร์ดแวร์ และการซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์ ง33222 ครูบรรภพ สมศักดิ์

คอมพิวเตอร์เบื้องต้น 1. ความหมาย บทบาทและความสำคัญของคอมพิวเตอร์ ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ ยุคของคอมพิวเตอร์ ความหมายของคอมพิวเตอร์ หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ บทบาทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นผลมาจากการประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือในการคำนวณซึ่งมีวิวัฒนาการนานมาแล้ว เริ่มจากเครื่องมือในการคำนวณเครื่องแรกคือ "ลูกคิด" (Abacus) ที่สร้างขึ้นในประเทศจีน เมื่อประมาณ 2,000-3,000 ปีมาแล้ว จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2376 นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ชื่อ ชาร์ล แบบเบจ (Charles Babbage) ได้ประดิษฐ์เครื่องวิเคราะห์ สามารถคำนวณค่าของตรีโกณมิติ ฟังก์ชั่นต่างๆ ทางคณิตศาสตร์

การทำงานของเครื่องนี้แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนเก็บข้อมูล ส่วนคำนวณ และส่วนควบคุม ใช้ระบบพลังเครื่องยนต์ไอน้ำหมุนฟันเฟือง มีข้อมูลอยู่ในบัตรเจาะรู คำนวณได้โดยอัตโนมัติ และเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ ก่อนจะพิมพ์ออกมาทางกระดาษ ด้วยหลักการนี้เองเราจึงยกย่องให้แบบเบจ เป็น “บิดาแห่งเครื่องคอมพิวเตอร์”

บุคคลสำคัญในวงการคอมพิวเตอร์ Charles Babbage ชาร์ลส์ แบบเบจ บิดาแห่งคอมพิวเตอร์ (1791-1871) ผลงาน : เครื่องคำนวณหาผลต่าง differential machine และเครื่องวิเคราะห์ analytical machine

ยุคของคอมพิวเตอร์ หลังจากนั้นเป็นต้นมา ได้มีผู้ประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นมามากมายหลายขนาด ทำให้เป็นการเริ่มยุคของคอมพิวเตอร์อย่างแท้จริง   โดยสามารถจัดแบ่งคอมพิวเตอร์ออกได้เป็น 5 ยุค ดังนี้ ยุคที่หนึ่ง (First Generation Computer) พ.ศ. 2489-2501 ยุคที่สอง (Second Generation Computer) พ.ศ. 2502-2506 ยุคที่สาม (Third Generation Computer) พ.ศ. 2507-2512 ยุคที่สี่ (Fourth Generation Computer) พ.ศ. 2513-2532 ยุคที่ห้า (Fifth Generation Computer) พ.ศ. 2533 - ปัจจุบัน

ยุคที่ 1 (พ.ศ. 2489 - 2501) คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ใช้หลอดสูญญากาศ (Vacuum tube) เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องยังมีขนาดใหญ่มาก ใช้กระแสไฟฟ้าจำนวนมาก ทำให้เครื่องมีความร้อนสูงจึงมักเกิดข้อผิดพลาดง่าย

ยุคที่ 1 (พ.ศ. 2489 - 2501) (ต่อ) จอห์น ดับลิว มอชลีย์ (John W. Mauchly) และ เจ เพรสเพอร์ เอคเกิรต (J. Prespern Eckert) ได้รับทุนอุดหนุนจากกองทัพสหรัฐอเมริกา ในการสร้างเครื่องคำนวณ ENIAC ย่อมาจากคำว่า”Electronics Numerical Integrator and Compute” เมื่อปี 1946 นับว่าเป็น "เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลก หรือคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลก"

คอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลก

ยุคที่ 2 (พ.ศ. 2502 – 2506) คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้ทรานซิสเตอร์ (Transistor) เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ และใช้วงแหวนแม่เหล็กเป็นหน่วยความจำ คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กกว่ายุคแรก ต้นทุนต่ำกว่า ใช้กระแสไฟฟ้าและมีความแม่นยำมากกว่า

ยุคที่ 2 (พ.ศ. 2502 – 2506) (ต่อ) [ พ.ศ.2506] ประเทศไทยเริ่มมีคอมพิวเตอร์ใช้เป็นครั้งแรก โดยที่คอมพิวเตอร์เครื่องแรกในประเทศไทยได้ติดตั้งที่ ภาควิชาสถิติ คณะพานิชยศาสตร์และการบัญชีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องนี้คือ IBM 1620 ซึ่งได้รับมอบจากมูลนิธิเอไอดี และบริษัทไอบีเอ็ม แห่ง ประเทศไทยจำกัด ปัจจุบันหมดอายุการใช้งานไปแล้ว จึงได้มอบให้แก่ศูนย์บริภัณฑ์การศึกษาท้องฟ้าจำลองกรุงเทพฯ [ พ.ศ.2507] เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องที่สองของประเทศไทยติดตั้งที่สำนักงานสถิติแห่งชาติ ในเดือนมีนาคม 2507

คอมพิวเตอร์เครื่องแรกของประเทศไทย IBM 1620

คอมพิวเตอร์เครื่องแรกของประเทศไทย IBM 1620

ยุคที่ 3 (พ.ศ. 2507 – 2512) คอมพิวเตอร์ในยุคนี้เริ่มต้นภายหลังจากการใช้ทรานซิสเตอร์ได้เพียง 5 ปี เนื่องจากได้มีการประดิษฐ์คิดค้นเกี่ยวกับวงจรรวม (Integrated-Circuit) หรือเรียกกันย่อๆ ว่า "ไอซี" (IC) ซึ่งไอซีนี้ทำให้ส่วนประกอบและวงจรต่างๆ สามารถวางลงได้บนแผ่นชิป (chip) เล็กๆ เพียงแผ่นเดียว จึงมีการนำเอาแผ่นชิปมาใช้แทนทรานซิสเตอร์ทำให้ประหยัดเนื้อที่ได้มาก 

ยุคที่ 4 (พ.ศ. 2513 - 2532) เป็นยุคที่นำสารกึ่งตัวนำมาสร้างเป็นวงจรรวมความจุสูงมาก ซึ่งสามารถย่อส่วนไอซีธรรมดาหลายๆ วงจรเข้ามาในวงจรเดียวกัน และมีการประดิษฐ์ ไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor) ขึ้น ทำให้เครื่องมีขนาดเล็ก ราคาถูกลง และมีความสามารถในการทำงานสูงและรวดเร็วมาก จึงทำให้มีคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ถือกำเนิดขึ้นมาในยุคนี้

ยุคที่ 5 (พ.ศ. 2533 - ปัจจุบัน) ในยุคนี้ ได้มุ่งเน้นการพัฒนา ความสามารถในการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ และ ความสะดวกสบายในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ อย่างชัดเจน มีการพัฒนาสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพาขนาดเล็กขนาดเล็ก (Portable Computer) ขึ้นใช้งานในยุคนี้

ความหมายของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การคำนวณ  พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า "เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ  ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์" สรุปได้ว่า คอมพิวเตอร์ หมายถึง อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูล ทั้งตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์

การทำงานของคอมพิวเตอร์ การทำงานของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยหน่วยสำคัญ 5 หน่วย ได้แก่ หน่วยรับเข้า (Input Device) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยความจำหลัก ( Main Memory ) หน่วยความจำรอง ( Virtual Memory ) หน่วยส่งออก (Output Device )

หน่วยรับเข้า (Input Device) ทำหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูล เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์รับเข้าที่เป็นที่รู้จักและนิยมใช้ได้แก่ คีย์บอร์ด (Keyboard) เม้าส์ (Mouse) สแกนเนอร์(Scanner) เครื่องอ่านรหัสแท่ง (BarCode reader)

หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) ทำหน้าที่ประมวลผลและควบคุมการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ทั้งหมด โดยมีหน้าที่ในการเคลื่อนย้ายข้อมูลระหว่างหน่วยความจำด้วย ซึ่งหน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียูนี้จะประกอบด้วย

หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) (ต่อ)      5.1.1 หน่วยคำนวณและตรรกะ ( Arithematic and Logic Unit : ALU ) ทำหน้าที่ในการคำนวณ เช่น บวก ลบ คูณ หาร และหน้าที่ในการเปรียบเทียบทางตรรกะโดยหน่วยควบคุมจะควบคุมความเร็วในการคำนวณ       5.1.2 หน่วยควบคุม ( Control Unit ) ทำหน้าที่ในการควบคุมกลไกการทำงานของระบบทั้งหมด โดยจะทำงานประสานงานกับหน่วยคำนวณ และหน่วยความจำ และตรรกะซีพียูหลักที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน คือ ไมโครชิป หรือที่เรียกว่า ไมโครโพรเซสเซอร์ ( Microprocessor )

หน่วยความจำหลัก ( Main Memory ) ทำหน้าที่เก็บข้อมูลที่รอทำการประมวลผล และเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวล ในระหว่างที่รอส่งไปยังหน่วยแสดงผลลัพธ์ประเภทของหน่วยความจำสามารถแบ่งได้ดังนี้ 1. ตามลักษณะของเก็บข้อมูล จะแบ่งได้เป็น หน่วยความจำแบบลบเลือนได้ ( Volatile Memory ) คือในกรณีที่ไฟฟ้าดับหรือกำลังไฟฟ้าไม่เพียงพอข้อมูลที่เก็บไว้ก็จะหายหมด หน่วยความจำแบบไม่ลบเลือน ( Nonvolatile Memory ) หน่วยความจำแบบนี้จะเก็บข้อมูลได้โดยไม่ขึ้นอยู่กับไฟฟ้าที่เลี้ยงวงจร

หน่วยความจำหลัก ( Main Memory ) (ต่อ) 2. ตามสภาพการใช้งาน จะแบ่งได้เป็น หน่วยความจำอ่านอย่างเดียว ( ROM ) หรือรอม เป็นหน่วยความจำชนิดไม่ลบเลือน คือซีพียูสามรถอ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถเขียนข้อมูลลงไปได้ หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม ( RAM ) หรือแรม เป็นหน่วยความจำแบบลบเลือนได้ คือสามารถเขียนหรืออ่านข้อมูลได้ การเขียนหรืออ่านจะเลือกที่ตำแหน่งใดก็ได้

หน่วยความจำหลัก ( Main Memory ) ROM RAM

หน่วยความจำรอง ( Virtual Memory ) มีเพื่อเพิ่มความสามารถในการจดจำของคอมพิวเตอร์ให้มากขึ้น ตัวอย่างของหน่วย ความจำรองได้แก่ - แผ่นบันทึก หรือแผ่นดิสก์ ( Diskette ) - ฮาร์ดดิสก์ ( Harddisk ) - ซีดีรอม ( Compact Disk Read only Memory : CDROM )

อุปกรณ์ส่งออก (Output Device) ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลข้อมูล อุปกรณ์ส่งออกที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ - จอภาพ (Monitor) - ลำโพง (Speakers) - เครื่องพิมพ์ (Printers)

บทบาทของคอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ในวงธุรกิจทั่วไป การใช้งานคอมพิวเตอร์ในวงการธนาคาร การใช้คอมพิวเตอร์กับธุรกิจโรงแรม การใช้คอมพิวเตอร์ในวงการแพทย์ คอมพิวเตอร์กับการศึกษา

ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ 1. ทันสมัย / ทันเหตุการณ์ / ทันข้อมูลข่าวสาร / ทันโลก ช่วยให้เราสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ทั่วโลก 2. ช่วยให้การเรียน การทำงาน ทันสมัยและได้รับความสะดวกมากยิ่งขึ้น 3. เป็นแหล่งการเรียนรู้ที่ดีเยี่ยม ช่วยในการค้นคว้าหาความรู้เป็นห้องสมุดขนาดใหญ่ 4. ช่วยรับ - ส่งข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว 5. ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียด เช่น เกม ดูภาพยนตร์ ฟังเพลง ร้องเพลง 6. ช่วยสร้างงานศิลปะ ออกแบบชิ้นงานได้อย่างสร้างสรรค์ สวยงาม

ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ มี 2ประเภท 1. ประโยชน์ทางตรง ช่วยให้มนุษย์ทำงานได้โดยตรงคือคอมพิวเตอร์ทำงานได้เที่ยงตรง รวดเร็ว ไม่เหน็ดเหนื่อย ช่วยผ่อนแรงมนุษย์ ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านการคำนวณ พิมพ์งาน บันทึกข้อมูล ประมวลผล 2. ประโยชน์ทางอ้อม คอมพิวเตอร์ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต เช่น ช่วยในการเรียนรู้ให้ความบันเทิงความรู้ ช่วยงานบันเทิงพัฒนางานด้านต่าง ๆ เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีอันส่งผลให้ความเป็นอยู่ของมนุษย์ดีขึ้น เป็น