แนะนำอุปกรณ์และเครื่องมือตรวจวิเคราะห์พลังงานความร้อน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การจัดซื้อจัดจ้าง.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
การวิเคราะห์และปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
ความเป็นมาของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ความหมายของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ขอบข่ายการศึกษาความเป็นไปได้ของ โครงการ การประเมินโครงการและการจัดลำดับ.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ชุมชนปลอดภัย.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
การจัดพลังงานโดยการควบคุมพลังไฟฟ้า
DC Voltmeter.
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Watt Meter.
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
การอนุรักษ์พลังงานในระบบอัดอากาศ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
หมวดที่ 6 การจัดซื้อ และจัดจ้าง
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า
เครื่องบันทึกและถอดข้อความ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
บทที่ ๑ การพูดและการนำสนอเพื่องานนิเทศศาสตร์
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
โครงการประหยัดพลังงาน ฝ่ายการพยาบาล 2559
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
การวางแผนกำลังการผลิต
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
Electrical Instruments and Measurements
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนะนำอุปกรณ์และเครื่องมือตรวจวิเคราะห์พลังงานความร้อน

จุดมุ่งหมายในการวัดค่าพลังงาน  เพื่อต้องการทราบว่าพลังงานที่ใช้มีปริมาณเท่าไร ?  เพื่อหาปริมาณพลังงานการสูญเสียที่เกิดขึ้น  เพื่อหาวิธีการหรือดำเนินการลดการสูญเสียที่เกิดขึ้นกลับคืนมา  เพื่อให้รู้จักอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในการตรวจวัดเกี่ยวกับพลังงาน

เพื่อให้ทราบว่าพลังงานใช้ไปปริมาณเท่าไร  น้ำมันเชื้อเพลิง - ปริมาตรที่ใช้ - พลังงานที่ได้ออกมา - ฯลฯ  หน่วยไฟฟ้า - พลังงานที่ใส่เข้าไป

เพื่อหาการสูญเสียของพลังงาน  การสูญเสียของเชื้อเพลิง  การสูญเสียของความร้อน  การสูญเสียของพลังงานไฟฟ้า  ฯลฯ

เพื่อหาวิธีการลดการสูญเสียกลับคืนมา  ปรับปรุงประสิทธิภาพของเครื่อง  เพิ่มหรือเปลี่ยนอุปกรณ์บางส่วน  เปลี่ยนเครื่องจักรใหม่ทดแทน  ฯลฯ

อุปกรณ์เครื่องมือวัดและควบคุมการใช้พลังงานความร้อน 1. อุณหภูมิ (Temperature) 2. ความชื้น (Humity) 3. ค่าของไฟฟ้าต่างๆ (Electricity Value) 4. ก๊าซต่างๆ (Gas Value) 5. ความสว่างของแสง (Lighting Value)

อุปกรณ์เครื่องมือวัดและควบคุม การใช้พลังงานความร้อน อุปกรณ์ที่ใช้ความร้อน เช่น หม้อไอน้ำซึ่งผลิตไอน้ำ หรือเตาที่ใช้ให้ความร้อนแก่วัสดุและผลผลิต ต้องควบคุมให้เดินเครื่องโดยปลอดภัยและใช้พลังงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ นอกจากนี้ยังต้องคำนึงถึงเรื่องไม่ให้เกิดมลภาวะด้วย

อุปกรณ์เครื่องมือวัดและควบคุมการใช้พลังงานความร้อน เครื่องวัดประสิทธิภาพการเผาไหม้

การวัดปริมาณต่าง ๆ ของอุปกรณ์ผลิตความร้อน อุปกรณ์ที่ใช้การสันดาปสำหรับให้ความร้อนนั้น ส่วนใหญ่จะใช้การสันดาปอย่างต่อเนื่อง แต่ในจำนวนนี้ก็มีอุปกรณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงของภาระ (load) น้อย เช่น หม้อไอน้ำและอุปกรณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงของภาระมาก เช่น เตาเผา ซึ่งสิ่งที่ต้องทำการวัดนั้นจะแตกต่างกันไป นอกจากนั้น ในการวัดเพื่อใช้ในการตรวจตราในการเดินเครื่องประจำวันและการวัดในขณะเริ่มเดินเครื่องหรือหยุดเครื่อง หรือการวัดเพื่อทดสอบการทำงานของเครื่องและการวัดในสภาพผิดปกติ สิ่งที่ทำการวัดก็จะแตกต่างกันไปเช่นเดียวกัน

เตาเผากับปริมาณต่าง ๆ ที่ควรทำการตรวจวัด

ใช้ประโยชน์ในการควบคุมการใช้ความร้อน การวิเคราะห์ส่วนประกอบของไอเสียเพื่อ ใช้ประโยชน์ในการควบคุมการใช้ความร้อน 1) การประเมินสภาพการสันดาป ในสมัยโบราณเล่ากันว่าจักรพรรดิ์จินโตกุของญี่ปุ่นใช้วิธีประเมินสภาพความเป็นอยู่ของประชาชนโดยสังเกตจากสภาพของควัน พวกเราเองก็ได้ใช้การสังเกตสีของเปลวไฟและสีของควัน(สีไม่ดำ) ในการประเมินสภาพการเผาไหม้ แต่ในยุคประหยัดพลังงานอย่างในปัจจุบันนั้นจำเป็นจะต้องให้มีการสันดาปในสภาพที่ใช้อากาศน้อยที่สุด

ใช้ประโยชน์ในการควบคุมการใช้ความร้อน การวิเคราะห์ส่วนประกอบของไอเสียเพื่อ ใช้ประโยชน์ในการควบคุมการใช้ความร้อน 2. สภาพการสันดาปที่จะต้องไม่มีควันดำเกิดขึ้นอย่างนั้นหรือ ? ถึงแม้จะปรับจนได้สภาพการสันดาปที่ดีแต่ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงของภาระอย่างกะทันหันหรือมีการนำวัสดุเข้าหรือออก จะมีผลให้สภาพการสันดาปนั้นเปลี่ยนไป หน้าที่ของพวกเราก็คือต้องปรับให้สภาพการสันดาปกลับสู่สภาพปกติโดยเร็วในการนี้ถ้าตั้งข้อแม้ว่าไม่ให้มีควันดำเกิดขึ้นก็อาจทำได้โดยป้อนอากาศเข้าไปให้มากเกินความจำเป็น ควันดำไม่เกิดขึ้นจริง แต่ก็ต้องใช้เชื้อเพลิงเปลืองขึ้นด้วย

การใช้ประโยชน์ค่าที่ได้จากการวัด ปริมาณไอเสียจากการสันดาป G แสดงได้ดังนี้ G = GW + G’O + (m – 1) AO (ปริมาณไอเสียแห้งเชิงทฤษฎี) (ปริมาณอากาศส่วนเกิน) ในกรณีของน้ำมันเตา G = {15.75 + 12.38 (m-1)} HI x 10-4 – 3.91 – 1.36 (m –1) (Nm3/kg เชื้อเพลิง)

การใช้ประโยชน์ค่าที่ได้จากการวัด ในที่นี้ GW = ปริมาณไอน้ำในก๊าซสันดาป (Nm3/kg เชื้อเพลิง) G’O = ปริมาณก๊าซสันดาปแห้งเชิงทฤษฎี Nm3/kg เชื้อเพลิง) M = อัตราส่วนอากาศ (ปริมาณอากาศที่ป้อนเข้า/AO) AO = ปริมาณอากาศเชิงทฤษฎี (Nm3/kg เชื้อเพลิง) HI = ค่าความร้อนค่าต่ำ (ค่าสุทธิ) ที่ได้จากเชื้อเพลิง (kcal/kg เชื้อเพลิง)

การใช้ประโยชน์ค่าที่ได้จากการวัด ถ้าเปลี่ยนค่า m จาก 1.4 (O2 = 6.2%) เป็น 1.2 (O2 = 3.8%) ปริมาณไอเสียจากการสันดาปจะเปลี่ยนจาก 15.9 เป็น 13.6 (Nm3/kg เชื้อเพลิง) ซึ่งจะลดลงประมาณ 14.5% เมื่อมองจากน้ำมันเตาที่ใช้ ถ้าใช้ไป 300 kg/h ก็จะประหยัดได้ประมาณ 44 kg/h

รายการระบุ (Specifications) ของเครื่องวัด รายการระบุของเครื่องวัดก็คือ รายการที่ระบุความสามารถในการทำงาน แหล่งกำลังที่ใช้ขับเคลื่อน และมิติรูปร่าง เป็นต้น ของเครื่องวัด เพราะฉะนั้นก่อนที่จะทำการสั่งซื้อและก่อนที่จะใช้เครื่องวัดจะต้องทำความเข้าใจความหมายของรายการดังกล่าวนี้ให้ดีเสียก่อน

รายการระบุ (Specifications) ของเครื่องวัด ต่อไปนี้จะขอยกตัวอย่างหัวข้อสำคัญ ๆ ของรายการระบุของเครื่องวัดพร้อมด้วยความหมายของหัวข้อนั้น ๆ (1) ชื่อแบบ (Model) : เป็นชื่อเรียกเฉพาะที่บริษัทผู้ผลิตเป็นผู้กำหนดโดยไม่มีกฎเกณฑ์แน่นอน (2) รูปแบบการวัด : เป็นส่วนที่บอกหลักการในการทำงานของเครื่องวัด ซึ่งเป็นตัวกำหนดสมรรถนะและคุณลักษณะของเครื่องวัด

รายการระบุ (Specifications) ของเครื่องวัด (3) สิ่งที่ทำการวัดและช่วงการวัด (Range) : เป็นการบอกให้ใช้เครื่องวัดเพื่อวัดกับสิ่งใดหรือในสภาพการวัดอย่างไร ส่วนช่วงการวัดหมายถึง ช่วงของปริมาณที่สามารถวัดชี้ค่าหรือบันทึกค่าบนสเกลได้ (4) ความแม่นยำ (Accuracy) : หมายถึงความถูกต้อง (Correctness – ระดับความแตกต่างของค่าที่วัดได้กับค่าแท้จริง) และความละเอียด (Precision – ระดับการเบี่ยงเบน) รวมกัน หรือในทางปฏิบัติ บางครั้งอาจจะหมายถึงค่าต่ำสุดที่สามารถตรวจจับได้

รายการระบุ (Specifications) ของเครื่องวัด (5) ความไว (Sensitivity) : หมายถึงค่าต่ำสุดที่สามารถตรวจจับได้ (6) ความสามารถในการซ้ำค่า (Reproducibility) : หมายถึงค่าความเบี่ยงเบน (Deviation) จากค่าเฉลี่ยของค่าต่าง ๆ ที่วัดได้ภายใต้เงื่อนไขเดียวกันหลาย ๆ ครั้ง (7) ความสามารถในการตอบสนอง (Responsiveness) หมายถึงความเร็วในการแสดงค่าเมื่อค่าที่ทำการวัดเปลี่ยนแปลงไป โดยทั่วไปนิยมแสดงด้วยระยะเวลาที่เครื่องวัดใช้ไปในการเปลี่ยนการชี้ค่า จนได้ 90% ของค่าสุดท้าย

รายการระบุ (Specifications) ของเครื่องวัด (8) เสถียรภาพ (Stability) (Zero or span drift) : หมายถึงความมั่นคงของเครื่องวัดที่จะสามารถทำการวัดชี้ค่าได้อย่างถูกต้องได้นานเพียงใด ปกติจะระบุเป็นช่วงเวลาที่เครื่องวัดยังคงสามารถวัดได้อย่างถูกต้อง ช่วงเวลาที่กำหนดอาจจะเป็น 24 ชม. 48 ชม. หรือ 1 สัปดาห์ จุดที่ทำการทดสอบคือ จุด 0 หรือจุด span (9) อุณหภูมิที่สามารถใช้งานได้ : ถูกกำหนดค่าโดยอุณหภูมิรายรอบของสิ่งที่ทำการวัด เช่น อุณหภูมิรายรอบของก๊าซ เป็นต้น

รายการระบุ (Specifications) ของเครื่องวัด (10) ความเป็นเชิงเส้น (Linearity) : ค่าจริงของสิ่งที่ทำการวัด กับค่าที่แสดงที่หน้าปัดเครื่องวัดอาจจะไม่สัมพันธ์กันเป็นเชิงเส้นเสมอไป ในกรณีเช่นนี้อาจต้องใช้กราฟปรับค่า (Calibration curve) ค่าสูงสุดที่แตกต่างกันระหว่างกราฟอ่านค่ากับเส้นตรงที่เชื่อม จุด 0 และ span จะเป็นตัวแสดงความเป็นเชิงเส้นของสเกลเครื่องวัด

การใช้และการบำรุงรักษาเครื่องวัด การที่จะให้เครื่องวัดอยู่ในสภาพวัดค่าได้ถูกต้องเสมอนั้นควรทำอย่างไร ? 1. ต้องรู้รายละเอียดของเครื่องวัดเป็นอย่างดี 2. ต้องเลือกใช้เครื่องวัดที่เหมาะกับความต้องการในการวัด 3. ต้องติดตั้งเครื่องวัดอย่างถูกต้อง 4. ต้องใช้เครื่องวัดอย่างถูกหลัก 5. ต้องบำรุงรักษาเครื่องวัดอย่างถูกต้อง

การเลือกใช้เครื่องวัดต่าง ๆ เทอร์โมมิเตอร์ต่างๆ

เทอร์โมมิเตอร์แบบวัดอุณหภูมิพื้นผิว (Surface Pyrometer)

เครื่องวัดความชื้น (Psychrometer)  เพื่อวัดค่าความชื้นในอากาศใช้ในการควบคุมการทำงาน ของอากาศในระบบทำความเย็น

เครื่องวัดค่าต่างๆด้านไฟฟ้า วัดค่ากระแส (ammeter)  วัดค่าแรงดัน (Voltmeter)  วัดกำลังไฟฟ้า (Wattmeter)  วัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า (Power Factor Meter)

เครื่องวัด CO2 แบบเปรียบเทียบความหนาแน่น

เครื่องวัดออกซิเจนชนิดเคลื่อนย้ายได้

ขั้นตอนในการวัดการเริ่มเปิด สภาพการใช้งาน ขั้นตอนในการวัดการเริ่มเปิด สภาพการใช้งาน

เครื่องวัดก๊าสจากการเผาไหม้(Gas analyzer) Orsat Gas-Analysis Apparatus

เครื่องวัดความดันแบบต่าง ๆ

วิธีติดตั้งเครื่องวัดความดัน

เครื่องวัดระดับแสงสว่าง(Lux Meter)

ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้วัดระดับแสงสว่าง

เครื่องวัดความเร็วของอากาศ

การเลือกเครื่องมือวัด 1. การนำเครื่องมือวัดเข้าไปถึงจุดที่จะวัดสามารถเข้าไปถึงได้ เพียงใด และมีความปลอดภัยในการใช้งานวัดแค่ไหน 2. หัววัดและตัวอ่านค่า พิจารณาว่าต้องการจะแยกหัววัดกับตัว อ่านออกจากกันหรือไม่ 3. ความแข็งแรงและทนทาน เครื่องมือประเภทเคลื่อนย้ายได้ส่วน ใหญ่จะบอบบางแตกหักง่าย อาจจะต้องจ่ายเพิ่มอีกเล็กน้อย เพื่อจะได้เครื่องมือที่แข็งแรง

การเลือกเครื่องมือวัด 4. อ่านง่ายเพียงใด ในสภาวะแวดล้อมบางแห่งเครื่องมือวัด อาจจะไม่สะดวกในการอ่านค่า การอ่านค่าเป็นตัวเลขจะ สะดวกและลดความผิดพลาดจากการอ่านได้มาก 5. น้ำหนักของเครื่องมือทั้งหมดที่ใช้ในการตรวจสอบการใช้ พลังงานนั้น สามารถยกได้เพียงคนเดียวหรือหลายคน 6. เครื่องมือเหล่านั้นมีพลังงานในตัวเองหรือต้องต่อมาจาก ภายนอก

จบการบรรยาย