การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

System Requirement Collection (2)
ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การใช้งานระบบ MIS ความสำคัญและผลกระทบของระบบสารสนเทศที่มีต่อธุรกิจ
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนบอกองค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ได้ สาระการเรียนรู้ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุลากร คอมพิวเตอร์ ข้อมูล.
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
หลักการแก้ปัญหา อย่างมีขั้นตอน การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการทาง เทคโนโลยี สารสนเทศ หลักการ แก้ปัญหา การใช้หลักการใน การแก้ปัญหา.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
เรื่อง ภาษาซีเบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
By Btech GPS : Jan GPS By BtechGPS By Btech GPS : Jan
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
การบริหารโครงการ Project Management
การพัฒนาระบบสารสนเทศ Information System Development
Example Analysis Project
บทที่ 5 ระบบจัดการฐานข้อมูล
Basic Input Output System
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
Management Information System : MIS ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
ระบบการจัดการคลินิกครบวงจร
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
SMS News Distribute Service
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
บทที่ 7 การบริหารงานขนส่ง ( Transportation Management System : TMS )
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ด้วย Visual Basic 2010 รายวิชา การเขียนโปรแกรม รหัส ง 30202 ครูผู้สอน ธนะกิจ รุ่งโรจน์

เริ่มต้นเรียนรู้การเขียนโปรแกรม Visual Basic 2010 เนื้อหาโดยรวม สิ่งที่ควรรู้ก่อนเริ่มเล่น Visual Basic 6 Hardware ที่เหมาะสมกับการเล่น Visual Basic 2010 ความรู้เบื้องต้นและการใช้งาน Visual Basic 2010

การเขียนโปรแกรมด้านฐานข้อมูลด้วย Visual Basic 2010 เป็นอีกวิธีหนึ่งที่บริษัทไมโครซอฟท์ได้คิดค้นเทคโนโลยีการเข้าถึงข้อมูลแบบใหม่ ซึ่งมีชื่อเรียกว่า Universal Data Access เรียกย่อๆ ว่า UDA โดยมีแนวคิดว่า ต้องการให้เป็นเทคโนโลยีที่จะสามารถเข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูลจาก RDBMS (Relational Database Management System) ได้หลายๆ ชนิด เช่น MS SQL Server, Oracle, MS Access เป็นต้น

Visual Basic 2010 ได้ออกมาพร้อมกับความสามารถใหม่ ๆ หลายอย่างที่อำนวยความสะดวกให้กับพัฒนาโปรแกรมมากกว่าเวอร์ชันเก่า โปรแกรม Visual Basic เป็นของบริษัทไมโครซอฟท์ โดยบริษัทไมโครซอฟต์ได้พัฒนา Visual Basic 2010 มาเพื่อแบ่งตลาดกับบริษัท Boland C โดยแข่งกับโปรแกรมที่ชื่อว่า Delphi 6 แต่ความสามารถของ Visual basic 2010 ยังไม่ดีพอ คือ เพื่อพัฒนาโปรแกรมเสร็จแล้วในการ Compile Program ซึ่งจะได้ File ที่มีนามสกุล .exe ก็ยังไม่สามารถนำไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นได้จะต้อง Copy ส่วนประกอบอื่นไปด้วย

ซึ่งต่างจาก Delphi เมื่อ Compile Program เสร็จแล้วได้ File ที่มีนามสกุล .exe แล้วสามารถนำไปใช้ที่เครื่องอื่นได้เลย แต่มีขนาดของไฟล์ที่ใหญ่กว่า Visual Basic มากเพราะ Delphi รวมเอาส่วนประกอบอื่นเข้าไปใน .exe เลย

1. Software Visual Basic 2010 โดยใช้พัฒนา สร้างซอฟต์แวร์ขึ้นใช้เอง 2. Software Microsoft Office Access ใช้สำหรับ เก็บฐานข้อมูล 3. Software Microsoft SQL Server 2000 ใช้ สำหรับเก็บฐานข้อมูลขนาดใหญ่โดยผ่าน เครือข่าย

การพัฒนาการเขียนโปรแกรม Visual Basic 2010 นั้นจะมีซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องดังนี้ คือ 4. Software Crystal Reports หรือ Software Data Report ใช้สำหรับทำรายงานต่างของโปรแกรม 5. Software Factory 2010 ใช้สำหรับทำไฟล์ติดตั้ง โปรแกรมลงบนเครื่องอื่นๆหรือที่เรียกว่า Make Setup 6. Software Help ใช้สำหรับทำไฟล์ช่วยเหลือใน โปรแกรมหรือที่เรียกว่า Make Help File

วงจรการพัฒนาระบบมีดังนี้ (System Development Life Cycle) 1. เข้าใจปัญหา (Problem Recognition) 2. ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) 3. วิเคราะห์ (Analysis) 4. ออกแบบ (Design) 5. สร้าง หรือพัฒนาระบบ (Construction) 6. การปรับเปลี่ยน (Conversion) 7. การบำรุงรักษา (Maintenance)

สรุปวงจรการพัฒนาระบบ หน้าที่ ทำอะไร 1. เข้าใจปัญหา 1. ตระหนักว่ามีปัญหาในระบบ 2. ศึกษาความเป็นไปได้ 1. รวบรวมข้อมูล 2. คาดคะเนค่าใช้จ่าย ผลประโยชน์ และอื่นๆ 3. ตัดสินใจว่าจะเปลี่ยนแปลงระบบหรือไม่ 4. ทำสัญญา 3. วิเคราะห์ 1. ศึกษาระบบเดิม 2. กำหนดความต้องการของระบบ 3. แผนภาพระบบเก่าและระบบใหม่ 4. สร้างระบบทดลองของระบบใหม่

สรุปวงจรการพัฒนาระบบ หน้าที่ ทำอะไร 4. ออกแบบ 1. เลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 2. เปลี่ยนแผนภาพจากการวิเคราะห์เป็นแผนภาพลำดับขั้นการทำงาน 3. คำนึงถึงความปลอดภัยของระบบ 4. ออกแบบ Input และ Output 5. ออกแบบไฟล์ฐานข้อมูล 5. พัฒนา 1. เตรียมสถานที่ 2. เขียนโปรแกรม 3. ทดสอบโปรแกรม 4. เตรียมคู่มือโปรแกรมและฝึกอบรม 6. นำมาใช้งานจริง 1. ป้อนข้อมูล 2. เริ่มใช้งานระบบใหม่ 7. บำรุงรักษา 1. เข้าใจปัญหา 2. ศึกษาสิ่งที่จะต้องแก้ไข

สิ่งที่ควรรู้ก่อนเริ่มเล่น Visual Basic 6      ในอดีตการเขียนโปรแกรมหรือการพัฒนาแอพ พลิเคชันขึ้นมาสักตัว โปรแกรมเมอร์จะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในตัวภาษา ที่จะนำมาใช้ในการพัฒนา เป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะพัฒนาด้วยภาษาใดก็ตาม เช่น ภาษา C, C++, ปาสคาล เป็นต้น และจะต้องเขียน โค้ดที่มีความสัมพันธ์กันตั้งแต่ บรรทัดแรกจนถึง บรรทัดสุดท้าย หรือที่เรียกว่า การเขียน โค้ดแบบ command line ……

Hardware ที่เหมาะสมกับการเล่น Visual Basic 2010 Microsoft Windows 95 หรือมากกว่า, หรือ Microsoft Windows NT Workstation 4.0 (Service Pack 3 recommended) หรือมากกว่า 486DX/66 MHz หรือสูงกว่า (แนะนำให้ใช้ Pentium หรือสูงกว่า), หรือชิป Alpha processor ที่สามารถรัน Microsoft Windows NT Workstation ได้ ไดรฟ์ CD-ROM การ์ด VGA หรือสูงกว่า สนับสนุนการแสดงผลระบบ Windows แรม 16 MB สำหรับ Windows 95, 32 MB สำหรับ Windows NT Workstation. เมาส์ และอื่นๆที่ระบบ Windows รองรับ

วงจรการพัฒนาระบบมีดังนี้ (System Development Life Cycle) 1. เข้าใจปัญหา (Problem Recognition) 2. ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) 3. วิเคราะห์ (Analysis) 4. ออกแบบ (Design) 5. สร้าง หรือพัฒนาระบบ (Construction) 6. การปรับเปลี่ยน (Conversion) 7. การบำรุงรักษา (Maintenance)

ขั้นตอนที่ 1 การเข้าใจปัญหา (Problem Recognition) คือ เมื่อจะทำการพัฒนาระบบใดระบบหนึ่งแล้ว ก่อนจะพัฒนานักวิเคราะห์ระบบ (System Analsis : SA) จะต้องเข้าใจว่าระบบเดิมมีปัญหาอย่างไร เช่น ถ้า เราจะพัฒนาระบบหรือไปรับจ้างเขียนโปรแกรมให้ บริษัทแห่งหนึ่งโดยผู้ว่าจ้างจะให้พัฒนาระบบบุคลากร เราควรจะไปศึกษาถึงปัญหาเดิมว่ามีอะไรบ้างแล้วสรุป ปัญหานั้นพร้อมรายงานให้ผู้ว่าจ้างทราบ

ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) จุดประสงค์ของการศึกษาความเป็นไปได้คือเมื่อ ทราบถึงปัญหาแล้วว่ามีระบบบ้าง นักวิเคราะห์ระบบ ก็ควรจะมองถึงค่าใช้จ่ายและระยะเวลา ในการศึกษานี้นักวิเคราะห์ระบบควรจะเปรียบเทียบ ว่าจะคุ้มค่าหรือไม่ที่จะมีการเปลี่ยนแปลงระบบ ซึ่ง นักวิเคราะห์ก็จะต้องรายงานให้ผู้บริหารเป็นคน ตัดสินใจว่าจะดำเนินการต่อไปในขั้นตอนการ วิเคราะห์หรือจะยกเลิกโครงการทั้งหมด

ขั้นตอนที่ 3 วิเคราะห์ (Analysis) เมื่อผ่านขั้นตอนการศึกษาความเป็นไปได้แล้ว ก็เริ่มเข้าสู่การวิเคราะห์ระบบว่าระบบในองค์กรนั้นๆ ทำงานอย่างไร เพราะว่าเป็นการยากที่จะออกแบบ ระบบใหม่โดยที่ไม่ทราบว่าระบบเดิมทำงานอย่างไร หลังจากนั้นก็กำหนดความต้องการของระบบใหม่ โดยถามจากผู้บริหารว่าต้องการระบบใหม่ให้เป็น อย่างไร โดยการเก็บข้อมูล โดยดูจากเอกสาร คู่มือการใช้งาน ลำดับการทำงาน หรือ สัมภาษณ์ว่าระบบทำงานอย่างไร

ขั้นตอนที่ 3 วิเคราะห์ (Analysis) (ต่อ) เช่น ระบบบุคลากร จากเดิมทำงานโดยการ เก็บเป็นเอกสารก็ให้นำเอกสารการกรอก ประวัติมาทำการออกแบบการเก็บข้อมูลใน โปรแกรม หลังจากนั้นนักวิเคราะห์ระบบก็ ออกแบบระบบใหม่โดยออกแบบมาเป็น แผนภาพการทำงาน และสรุปเขียนรายงาน ระบบใหม่ให้ผู้บริหารตัดสินใจ พร้อมทั้ง งบประมาณที่จะดำเนินการ

ขั้นตอนที่ 4 ออกแบบ (Design) ในระยะแรกของการออกแบบ นักวิเคราะห์ระบบควรนำการ ตัดสินใจว่าจะแนะนำให้ผู้บริหารตัดสินใจในการเลือกซื้อ อุปกรณ์ที่จะช่วยในการพัฒนาระบบเพราะบางทีองค์กรนั้น อาจจะมีเครื่องมือที่ล้าสมัย นักวิเคราะห์ระบบควรจะแนะนำให้ ผู้บริหารตัดสินใจในการเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์เพื่อ สะดวกในการพัฒนาระบบ แล้วก็จะได้เริ่มดำเนินการออกแบบ ระบบโดยการสร้างหรือแสดงออกมาในรูปแบบของรูปภาพก็ได้ เพื่อสื่อความหมายว่าการออกแบบระบบใหม่จะมีลักษณะการ ทำงานอย่างไร พร้อมบอกถึงประโยชน์และผลลัพธ์ที่ได้จากการ พัฒนาซอฟต์แวร์หรือการเขียนโปรแกรมนั่นเอง

ขั้นตอนที่ 5 สร้าง หรือพัฒนาระบบ (Construction) ในขั้นนี้นักวิเคราะห์ระบบเริ่มออกแบบระบบและ ส่งรายงานการออกแบบระบบที่ได้ให้ผู้เขียน โปรแกรม (Programmer) เป็นคนเขียนโปรแกรม พร้อมกับรายงานความคืบหน้าให้กับนักวิเคราะห์ ระบบทราบถึงปัญหาต่างๆ และแจ้งให้ผู้บริหารทราบ ในระหว่างเขียนโปรแกรม ผู้เขียนโปรแกรม จะต้องทำ การทดสอบโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นโดยให้เกิดปัญหาที่ น้อยที่สุดเพื่อให้ผู้ที่จ้างเกิดความเชื่อมั่นในระบบใหม่

ขั้นตอนที่ 5 สร้าง หรือพัฒนาระบบ (Construction) พร้อมกับจัดทำคู่มือการทำงานของโปรแกรมอย่างละเอียด เข้าใจง่ายต่อผู้ใช้งาน กับการรายงานโครงสร้างของโปรแกรม เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมคนอื่นไว้ศึกษากรณีเกิดผู้เขียนคนเดิม ไม่ได้พัฒนาจนเสร็จโครงการด้วยเมื่อกรณีพัฒนาระบบหรือ เขียนโปรแกรมเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็ควรจะมีการจัดทำคู่มือ วิธีการใช้งานหรือควรจะมีการจัดฝึกอบรมการใช้งานโปรแกรม ที่ได้พัฒนาเพื่อให้ผู้ใช้ได้เข้าใจการทำงานของโปรแกรมมาก ยิ่งขึ้น

ขั้นตอนที่ 6 การปรับเปลี่ยน (Conversion) ขั้นตอนนี้บริษัทนำระบบใหม่มาใช้แทน ระบบเดิม ภายใต้การดูแลของนักวิเคราะห์ระบบ เช่นการป้อนข้อมูลจะต้องทำให้ถูกต้องเรียบร้อย และเริ่มการใช้ระบบใหม่โดยจะต้องทำควบคู่กับ ระบบเดิมก่อนจนปัญหาจะหมดไป แล้วค่อย ถอนระบบเดิมออกได้และใช้ระบบใหม่ต่อไป

ขั้นตอนที่ 7 การบำรุงรักษา (Maintenance) การบำรุงรักษา คือ การแก้ไขโปรแกรมหลังจากใช้ งานแล้วระยะหนึ่งแล้วเกิดข้อผิดพลาด ทางผู้เขียน โปรแกรมจะต้องดำเนินการแก้ไขข้อผิดพลาดนั้นๆ หรือ ที่เรียกว่า Bug Program นั่นเอง การบำรุงรักษาควรจะ อยู่ภายใต้การตกลงข้อสัญญาต่างๆที่ได้ทำไว้เพื่อให้เสร็จ สิ้น ถ้ามีการแก้ไขหรือปรับเปลี่ยนนอกเหนือที่ตกลงกัน ไว้ก็ต้องเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมได้

สรุปวงจรการพัฒนาระบบ หน้าที่ ทำอะไร 1. เข้าใจปัญหา 1. ตระหนักว่ามีปัญหาในระบบ 2. ศึกษาความเป็นไปได้ 1. รวบรวมข้อมูล 2. คาดคะเนค่าใช้จ่าย ผลประโยชน์ และอื่นๆ 3. ตัดสินใจว่าจะเปลี่ยนแปลงระบบหรือไม่ 4. ทำสัญญา 3. วิเคราะห์ 1. ศึกษาระบบเดิม 2. กำหนดความต้องการของระบบ 3. แผนภาพระบบเก่าและระบบใหม่ 4. สร้างระบบทดลองของระบบใหม่ 4. ออกแบบ 1. เลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 2. เปลี่ยนแผนภาพจากการวิเคราะห์เป็นแผนภาพลำดับขั้นการทำงาน 3. คำนึงถึงความปลอดภัยของระบบ 4. ออกแบบ Input และ Output 5. ออกแบบไฟล์ฐานข้อมูล

สรุปวงจรการพัฒนาระบบ (ต่อ) หน้าที่ ทำอะไร 5. พัฒนา 1. เตรียมสถานที่ 2. เขียนโปรแกรม 3. ทดสอบโปรแกรม 4. เตรียมคู่มือโปรแกรมและฝึกอบรม 6. นำมาใช้งานจริง 1. ป้อนข้อมูล 2. เริ่มใช้งานระบบใหม่ 7. บำรุงรักษา 1. เข้าใจปัญหา 2. ศึกษาสิ่งที่จะต้องแก้ไข